อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

สัญลักษณ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้าพื้นฐาน สัญลักษณ์อิเล็กทรอนิกส์

สัญลักษณ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ใช้สำหรับออกแบบวงจร  สามารถวาดสัญลักษณ์ด้วยลายมือหรือใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบวงจร   สัญลักษณ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์มีความสำคัญมากเนื่องจากใช้อธิบายการทำงานของวงจรต่างๆและบอกว่าในวงจรมีอุปกรณ์อะไรบ้าง  อุปกรณ์แต่ละตัวต่อกันอย่างไร  การใช้สัญลักษณ์แทนตัวอุปกรณ์จริงๆทำให้ง่ายและสะดวกในการวาด นอกจากนี้สัญลักษณ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ยังเป็นสากลและมีมาตรฐานจึงสามารถใช้สื่อสารกับวิศวกร ช่าง  และผู้ที่เกียวข้องระหว่างประเทศได้    สัญลักษณ์อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์และไฟฟ้ามีจำนวนมากมีทั้งอุปกรณ์ที่ใช้บ่อยๆจำเป็นต้องทราบและมีความสำคัญอันดันต้นๆเรียกว่าเป็นอุปกรณ์พื้นฐาน   ส่วนสัญลักษณ์ของอุปกรณ์บางตัวที่นานๆจะได้ใช้ให้ดูผ่านๆก็ได้และเมื่อจำเป็นต้องใช้มันก็สามารถค้นหาเพิ่มได้ในอินเตอร์เน็ต

Show

1.  สัญลักษณ์ตัวต้านทาน   มีตัวต้านทานค่าคงที่  ตัวต้านทานปรับค่าได้  โพเทนชิโอมิเตอร์  ทริมเมอร์

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

2. สัญลักษณตัวเก็บประจุ    ตัวเก็บประจุชนิดไม่มีขั้ว   ตัวเก็บประจุชนิดมีขั้ว   ตัวเก็บประจุปรับค่าได้ 

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

3.   ตัวเหนี่ยวนำ    ตัวเหนี่ยวนำแกนเฟอร์ไรต์     ตัวเหนี่ยวนำแกนเหล็ก

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

3.  ตัวนำไฟฟ้า   ตัวนำไฟฟ้าต่อถึงกัน   ตัวนำไฟฟ้าไม่ต่อถึงกัน   กราวด์   และ  กราวด์แท่น

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

รูปแรกเป็น   Earth Ground  Symbol    รูปที่ 2 เป็นกราวด์แท่น  ( Chassis or  Frame  Connection )

4.   สัญลักษณ์ไดโอดแบบต่างๆ     สัญลักษณ์ไดโอด     ซีเนอร์ไดโอด    สัญลักษณ์ไดโอดเปล่งแสง

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

5.    สัญลักษณ์ทรานซิสเตอร์  ทรานซิสเตอร์ชนิด NPN  และ  PNP

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

6.   สัญลักษณ์มอสเฟต       E-MOSFET    D-MOSFE     JFET  

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

7.  สัญลักษณ์   SCR  ไตรแอค  และ ไดแอค  

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

8.  สัญลักษณ์ไอจีบีที   ( IGBT )

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

9.   สัญลักษณ์ฟิวส์  

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

10. สัญลักษณ์แบตเตอรี่   และ  สัญลักษณ์แหล่งจ่ายไฟ AC

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

11.  สัญลักษณ์หม้อแปลงไฟฟ้า

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

12.    สัญลักษณ์รีเลย์

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

13.  สัญลักษณ์สวิตช์

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

14.    สัญลักษณ์หลอดไฟ      หลอดไฟสัญญาณ   หลอดนีออน    หลอดฟลูออเรสเซนต์     หลอดอินแคนเดสเซนต์  

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

15.  สัญลักษณ์ลำโพง   กระดิ่งไฟฟ้า     ไซเรน    บัซเซอร์   ลำโพง    ลำโพงฮอร์น  

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

16.   สัญลักษณ์เครื่องมือวัดทางไฟฟ้า  และ มอเตอร์  

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง


บทความยอดนิยม

วัดคาปาซิเตอร์พัดลม คาปาซิเตอร์แอร์ และ เช็คคาปาซิเตอร์เครื่องซักผ้า ด้วยมัลติมิเตอร์เข็ม และ มัลติมิเตอร์ดิจิตอล

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

เช็คคาปาซิเตอร์ให้ดูหลายๆแบบ   คาปาซิเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ใช้มากในวงจรพอๆกับตัวต้านทาน  คาปาซิเตอร์มีหลายชนิดแต่ละชนิดมีคุณสมบัติและการนำไปใช้งานแตกต่างกัน เช่นนำไปใช้กับไฟ DC  นำไปใช้กับไฟ AC  เป็นต้น  คาปาซิเตอร์ที่นำไปใช้กับมอเตอร์  คาปาซิเตอร์พัดลม คาปาซิเตอร์แอร์  และ คาปาซิเตอร์เครื่องซักผ้า เป็น  AC คาปาซิเตอร์ คือใช้กับไฟ AC และเป็นชนิดไม่มีขั้ว  สังเกตที่ตัวอุปกรณ์จะมีแรงดันไฟ AC  และค่าความจุของคาปาซิเตอร์ไว้อ้างอิง  ค่าความจุของตัวเก็บประจุมีหน่วยเป็นไมโครฟารัดใช้สัญลักษณ์   uF , MF, MFD                                            คาปาซิเตอร์พัดลมใช้กับไฟ AC การวัดคาปาซิเตอร์ไม่มีขั้ว ให้วัดขณะที่ไม่มีไฟหรือวัดนอกวงจร  กรณีสงสัยว่ามีไฟค้างอยู่ให้ใช้ย่านวัดไฟ AC วัดดูไฟก่อนถ้าพบว่ามีไฟค้างอยู่ให้ทำการคายประจุก่อนวัดโดยเฉพาะคาปาตัวใหญ่และมีค่าความจุสูงจะมีไฟค้าง   คาปาซิเตอร์พัดลม คาปาซิเตอร์แอร์  และ คาปาซิเตอร์เครื่องซักผ้าใช้กับไฟ AC และเป็นชนิดไม่มีขั้วจะสลับสายวัดอย่างไรก็ได้  หลักการวัดคาปาซิเตอร์ไม่มีขั้ว   สำหรับมัลติมิเตอร์แบบเข็มให้ใช้ย่านวัด  Rx10K  สำหรับคาปาซิเตอร์ค

การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตอน วิธีวัดทรานซิสเตอร์ ดีเสีย หาขา หาชนิด NPN PNP ด้วยมิเตอร์เข็ม ( ການວັດ Transistor )

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

ประเด็นการวัดทรานซิสเตอร์พื้นฐานคือวัดดีเสีย  วัดหาขา B-C-E  และ วัดหาชนิด NPN / PNP ก่อนวัดต้องเข้าใจว่าขั้วไฟจากสายวัดของมัลติเตอร์แบบเข็มนั้นจะแตกต่างจากขั้วไฟสายวัดของมัลติเตอร์แบบดิจิตอล ถ้าไม่เข้าใจประเด็นนี้ทำให้งงและจำวิธีวัดไม่ได้  ถ้าเข้าใจจะวัดเป็นและจำได้ตลอดกาล   ให้จำไว้ว่าสายวัดสีแดงของมัลติมิเตอร์แบบเข็มมีไฟขั้ว - จ่ายออกมา และสายวัดสีดำมีไฟขั้ว + จ่ายออกมาที่เป็นแบบนี้เพราะเนื่องจากวงจรข้างในของมัลติมิเตอร์แบบเข็มสายวัดจะต่ออยู่กับแบตเตอรี่ข้างในเมื่อใช้ย่านวัดตัวต้านทานจะมีไฟจ่ายออกมา    ปกติแล้วการวัดทรานซิสเตอร์จะให้ย่านวัด Rx10 มีไฟจ่ายออกมา 3VDC 15mA  , Rx1K  มีไฟจ่ายออกมา 3VDC 15uA และ  Rx10K มีไฟจ่ายออกมา 9VDC  ไฟที่จ่ายออกมาและขั้วไฟจากสายวัดใช้ไบอัสทรานซิสเตอร์และใช้อธิบายว่าทำไมเข็มของมัลติมิเตอร์จึงขึ้นหรือเข็มไม่ขึ้น ( กระแสไหลและกระแสไม่ไหลนั่นเอง ) ขั้นตอนต่อไปนี้จำเป็นสำหรับมือใหม่ต้องวัดเป็นและวัดแบบเข้าใจก่อน  สำหรับคนที่วัดชำนาญแล้วจะวัดแบบสุ่มไปเลย   ทรานซิสเตอร์ที่เสียส่วนใหญ่คือขาดและซ๊อต ถ้าขาดวัดสลับสายสลับขาอย่างไรก็ตามเข็มจะไม่ขึ้นเลย ถ้าซ๊อตว

การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตอน วิธีวัดไอซี IC 8 ขา 10 ขา 14 ขา 16 ขา 20 ขา ด้วยมัลติมิเตอร์ ( ການວັດ IC )

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

ไอซี คือ วงจรรวม   (  IC :  integrated circuit ) หมายถึงข้างในมีอุปกรณ์หลายตัวต่อกันเป็นวงจรเพื่อทำหน้าที่ตามที่ออกแบบไว้ หุ้มปิดเป็นแพคเกจต่างๆ มีขาออกมาสำหรับต่อใช้งาน ขาของไอซีมีทั้งแบบลงปริ้น และแบบ SMD บัดกรีบนผิวลายทองแดง  IC  มีหลายเบอร์และหลายหน้าที่ จำนวนขาจะมีตั้งแต่  3 ขา 8 ขา 10 ขา 14 ขา 16 ขา 20 ขา และมากกว่านี้  ในบรรดาขาของไอซีนั้นจะมีขา VCC และขา Ground  ในการวัดไอซีดีเสียจะวัดขา ขา VCC และขา Ground  นี้จากหลักที่ว่าถ้าวงจรดีจะมีความต้านระดับหนึ่ง ถ้าวัดแล้วขึ้น 0 Ohm คือซ๊อตถ้าวัดแล้วไม่ขึ้นค่าความต้านทานเลยสักครั้งคือเสียลักษณะขาด              ขา 1 ของ IC เริ่มนับตรงจุดและมี  Mark ตรงขอบ หาขา VCC และ G์ND จาก Datasheet ขั้นตอนวัดไอซี IC  8 ขา 10 ขา 14 ขา 16 ขา 20 ขา ด้วยมัลติมิเตอร์ 1. หาขา VCC และ G์ND จาก Datasheet ของไอซีเบอร์ที่จะวัด 2. ใช้ย่านวัด  R x 100 ในการวัดเนื่องจากมีกระแสจ่ายออกมาจากสายวัด 3VDC 1.5mA  กระแส 1.5mA ไม่มากเกินไปสำหรับใช้ทดสอบ IC ทั่วไป 3 ปรับซีโอห์มก่อนวัดเพื่อให้ผลการวัดถูกต้อง 4. ให้วัดขา VCC และ GND  และสลับสายวัดแล้ววัดอีกครั้ง 5. พิจารณ

แนวทางทั่วไป ซ่อมวงจรอิเล็กทรอนิกส์    พื้นฐานการซ่อมบอร์ด ( ເອເລັກໂຕຣນິກ )

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

การซ่อมแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์อย่างน้อยที่สุดต้องมี   5  ข้อต่อไปนี้   ลองเช็คว่ายังขาดส่วนไหนเช่นยังวัดอุปกรณ์ดีเสียไม่เป็น.....ก็สามารถเรียนรู้เพิ่มได้ตลอดเวลาเพื่อเติมเต็มในส่วนที่ยังขาดอยู่      1) พื้นฐานการใช้งานมัลติมิเตอร์เพื่อวัดไฟตามจุดต่างๆ และใช้วัดสภาพอุปกรณ์ว่าดีหรือเสีย    2) ต้องรู้วงจรไฟฟ้าเบื้องต้น  วงจรอนุกรม  วงจรขนาน ไฟ AC  ไฟ  DC  ความหมายของคำว่า ไฟฟ้าลัดวงจร ไฟฟ้าช๊อตและการป้องกันอันตรายจากไฟฟ้า  เป็นต้น  เพื่อให้ปฏิบัติงานซ่อมได้อย่างปลอดภัย รวมทั้งงานที่ซ่อมเสร็จนอกจากวงจรจะต้องทำงานตามปกติแล้วยังต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของวงจรด้วย เช่น สายไฟหลุดแล้วต้องไม่ซ๊อตกัน  กรณีวงจรทำงานผิดปกติมีกระแสเกินแล้ววงจรต้องตัด   เป็นต้น   3). รู้จักชนิดอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์เบื้องต้นและหลักการทำงานของมัน เช่น ฟิวส์  รีเลย์ ตัวต้านทาน ตัวเก็บประจุ หม้อแปลงไฟฟ้า  ลำโพง ไดโอด   ทรานซิสเตอร์   เป็นต้น การรู้หลักการทำงานของมันทำให้สามารถไล่วงจรอิเล็กทรอนิกส์และหาอะไหล่แทนได้   4). รู้จักวงจรพื้นฐานต่างๆ เริ่มจากหัดไล่วงจรง่ายๆก่อน หนังสือจำพวกโครงงานต่างๆจะแนะนำให้หัดไล่วงจรและกา

อาการเสียของเตารีด เตารีดไม่ร้อน เตารีดร้อนมากเกินไป เตารีดร้อนน้อย และ วงจรเตารีดไฟฟ้า

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

เตารีดไฟฟ้าเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่จำเป็นสำหรับคนทำงาน นักศึกษาและนักเรียน  เมื่อใช้งานเตารีดไฟฟ้าไปหลายปีอุปกรณ์บางตัวในวงจรจะเสื่อมและเสียในที่สุด  อาการเสียของเตารีด  เช่น เตารีดไม่ร้อน  เตารีดร้อนมากเกินไป  เตารีดร้อนน้อย  เป็นต้น  มารู้จักวงจรของเตารีดและหลักการทำงานของมันเพื่อจะได้ไล่เช็คอาการเสียได้ถูกต้องและตรงจุดของปัญหา   จากรูปด้านล่าง ส่วนประกอบของเตารีด มีแผ่นขดลวดความร้อน  เทอร์โมสตัท(มีแผ่นไบเมทอล)    ปุ่มปรับระดับความร้อน   หลอดไฟสัญญาณ                                                วงจรเตารีด  ( วงจรพื้นฐานของเตารีดไฟฟ้า ) หลักการทำงานของเตารีด เมื่อจ่ายไฟเข้าวงจรไฟจะผ่านหน้าสัมผัสคอนเทค  เข้าแผ่นขดลวดความร้อน หลอดไฟสัญญาณจะสว่าง เมื่อเตารีดร้อนถึงระดับที่ปรับไว้ แผ่นไบเมทอลของเทอร์โมสตัทจะโค้งและดันหน้าสัมผัสคอนเทคให้ตัดวงจรเมื่อวงจรตัดหลอดไฟสัญญาณจะดับ   เมื่อแผ่นความร้อนของเตารีดเย็นลงแผ่นไบเมทอลของเทอร์โมสตัทจะกลับมาปกติและต่อวงจรอีกครั้ง  การปรับระดับความร้อนคือการปรับตั้งระยะห่างของหน้าสัมผัสคอนเทค  ลักษณะของเตารีดทีทำงานปกติคือเมื่อปรับไปที่อุณหภูมิใดๆ ใช้มัลติมิเ

วิธีวัดเทอร์โมฟิวส์พัดลม เทอร์โมฟิวส์หม้อหุงข้าว เทอร์โมฟิวส์กระติกน้ำร้อน วัด Thermal fuse ด้วยมัลติมิเตอร์

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

เทอร์โมฟิวส์เป็นอุปกรณ์ป้องกันเนื่องจากความร้อนเกิน ( Overheating Protection ) ส่วนฟิวส์อีกแบบที่เรารู้จักอยู่แล้วเป็นอุปกรณ์ป้องกันเนื่องจากกระแสเกิน ( Over Current  Protection )  ฟิวส์ 2 แบบนี้ถึงแม้ชื่อฟิวส์เหมือนกันแต่ไม่สามารถใช้แทนกันได้  ( ห้ามใช้แทนกัน )เนื่องจากมีกราฟการทำงานและเงื่อนไขการทำงานและการทดสอบที่แตกต่างกัน ห้ามใช้ฟิวส์ธรรมดาแทนเทอร์โมฟิวส์  เมื่ออุปกรณ์ไฟฟ้าทำงานผิดปกติจะมีความร้อนเกิน ความร้อนเกินนี้ทำให้ฉนวนไฟฟ้าเสียหายและอุปกรณ์ตัวอื่นๆในวงจรเสียหายด้วย  เกิดไฟไหม้และไฟฟ้าลัดวงจร  เทอร์โมฟิวส์ถูกนำไปใช้งานกับอุปกรณ์หลายอย่างที่ทำงานผิดปกติแล้วมีความร้อนเกิน เช่น  พัดลม เตารีด  หม้อหุงข้าวไฟฟ้า  ฮีตเตอร์  ไดรเออร์เป่าลมร้อน   เครื่องปิ้งขนมปัง หม้อแปลงไฟฟ้า  มอเตอร์  โซลีนอยด์  อะแดปเตอร์แปลงไฟ  เป็นต้น                            เทอร์โมฟิวส์ป้องกันอุณหภูมิ/ความร้อนเกิน ( Overheating Protection )                                 ฟิวส์ป้องกันกระแสเกิน ( Over Current  Protection )  , Current  Fuse โครงสร้างของเทอร์โมฟิวส์ ข้างในมีเส้นฟิวส์ ( Fusible Alloy Element )ท

วัดไตรแอค เครื่องทําน้ำอุ่น BTA25-600B TG25C60 การวัดไตรแอคเสีย

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

ก่อนวัดไตรแอค (Triac) ต้องทราบชื่อขา และสัญลักษณ์ของมันก่อน  ไตรแอคมี 3 ขาคือขา A1  A2 และ G ผู้ผลิตไตรแอคบางรายใช้ชื่อขา  T1  T2 และ G  สัญลักษณ์ไตรแอคตามรูปด้านล่าง หลังจากอ่านจบจะวัดไตรแอคเป็น ไตรแอคที่ใช้วัดสาธิตเป็นของใหม่ ไตรแอคใช้กับไฟ AC  ทำหน้าที่เป็นสวิตช์ ON/OFF งานไฟ AC   มีใช้ในวงจรควบคุมมอเตอร์ AC   วงจรหรี่ไฟ ( Dimmer ) วงจรควบคุมฮีตเตอร์ และวงจร AC อื่นๆ รวมทั้งเครื่องใช้ไฟฟ้าเช่น  เครื่องทําน้ำอุ่น  การวัดไตรแอคในบทความนี้ใช้สำหรับวัดไตรแอคขนาดใหญ่ ส่วนไตรแอคขนาดเล็กก็มีวิธีคล้ายกันมากสามารถประยุกต์ใช้ได้เช่นกัน  ไตรแอคตัวเล็กวัดความต้านทานขา G กับ T1 ได้ค่าความต้านทานใกล้เคียงกับความต้านทานขา G กับ T2  ให้มุ่งไปที่การวัดเสียแบบขาด กับเสียแบบซ๊อตก่อน   วิธีการวัดแบบทริกขา G อยู่ตอนท้ายเป็นวิธีการวัดแบบง่ายๆ                                                        สัญลักษณ์ไตรแอค ข้อสังเกตการเรียงขาของไตรแอค ขา  G คือขาที่เล็กที่สุด  วนตามเข็มนาฬิกาจะเป็นขา T1   T2  หรือขา A1  A2   เรียงกันเป็นลำดับแบบนี้ จากนั้นให้เอาขา G หันเข้าหาลำตัว จะได้ตำเหน่งขา T1  T2 ง่ายๆ      

การวัดอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ตอน วิธีวัดเอสซีอาร์ SCR ด้วย มัลติมิเตอร์ดิจิตอล และ มัลติมิเตอร์แบบเข็ม วัด SCR ด้วยการทริกขาเกต

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

ก่อนวัด SCR  มารู้จักชื่อขาและสัญลักษณ์ของเอสซีอาร์    SCR มี 3 ขาคือขาแอโอด ( Anode ) ใช้สัญลักษณ์ A   ,  ขาแคโทด  ( Kathode)ใช้สัญลักษณ์ K  ขาเกต ( Gate ) ใช้สัญลักษณ์ G  SCR มีหลายเบอร์มากและมีผู้ผลิตหลายแหล่งแต่ละเบอร์อาจมีการเรียงตำเหน่งขาไม่เหมือนกัน เบอร์ที่ใช้วัดสาธิตใช้เบอร์ C106MG  มีการเรียงขา  K  A   G  ตามรูปด้านล่าง                                      ขา   SCR  เบอร์  C106MG    ขา  1 =   K  , 2 =   A   , 3 =    G                                                     สัญลักษณ์  เอสซีอาร์  ใช้ประกอบการวัด วัด   SCR ด้วย มัลติมิเตอร์ดิจิตอล  ใช้ย่านวัดโอห์มในการวัด SCR ที่ดีจะวัดขึ้นค่าความต้านทาน 1 ครั้งคือครั้งที่วัดขา G และ K     SCR เสียถ้าขาดจะวัดค่าความต้านทานไม่ขึ้นเลยสักครั้ง  ถ้าเสียซ๊อตจะขึ้นค่าความต้านทาน 0 Ohm หรือขึ้นความต้านทานต่ำมากๆ 1)  วัดขา G กับ  K  ตามรูป SCR ดีจะขึ้นค่าความต้านทาน 1 ครั้ง จากนั้นสลับสายวัดจะขึ้น OL  1 ครั้ง                                     วัดขา G และ K     SCR ที่ดีจะวัดขึ้นค่าความต้านทาน 1 ครั้ง                                       

รวมเรื่องการบัดกรี ฟลักซ์คืออะไร ส่วนต่างๆของแผ่น PCB ลักษณะการบัดกรีที่ดี การบำรุงรักษาปลายหัวแร้ง ( ເອເລັກໂຕຣນິກ )

อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์15อย่าง

การบัดกรีคือการเชื่อมโลหะ 2 ชิ้นเข้าด้วยกันเพื่อให้ได้การเชื่อมต่อทางกลที่แข็งแรงและเป็นเส้นทางไหลของกระแสไฟฟ้าได้สะดวก    งานพื้นฐานของช่างไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์คือการบัดกรี ตอนนี้จะอธิบายเรื่องที่สำคัญจำเป็นต้องทราบสำหรับงานบัดกรี    เริ่มด้วยส่วนต่างๆของแผ่น PCB หรือแผ่นปริ้น เนื่องจากต้องอ้างถึงตอนทำการบัดกรี  จากนั้นมารู้จักฟลักซ์คืออะไรก่อนทำการบัดกรี     สุดท้ายจะกล่าวถึง   การบำรุงรักษาปลายหัวแร้ง   ส่วนต่างๆของแผ่นปริ้นที่จำเป็นต้องทราบก่อนบัดกรี 1. ลายทองแดง เป็นส่วนที่อยู่ข้างในสุดเป็นเส้นทางไหลของกระแสไฟฟ้าและเชื่อมอุปกรณ์ต่างๆ 2. Solder Mask  คือชั้นที่เป็น สีน้ำเงิน  สีเขียว   มีสีแดงด้วย  Solder Mask   ทำหน้าที่เป็นฉนวนหุ้มปิดลายทองแดงที่อยู่ด้านในและป้องกันทองแดงไม่ให้โดนอากาศเนื่องจากถ้าทองแดงโดนอากาศจะเป็นออกไซด์กระแสไหลไม่สะดวก   นอกจากนี้สีของ Solder Mask ยังทำให้เราแยกแยะส่วนที่เป็นโลหะกับส่วนอื่นๆ เพื่อจะให้เห็นจุดที่ต้องบัดกรีงานได้ง่ายขึ้น    Mask  แปลตรงๆว่า หน้ากาก ช่วยป้องกันส่วนที่อยู่ด้านใน 3. Silk Screen คือ ตัวอักษร ข้อความต่างๆ เพื่อบอกชนิดของอุปกรณ์ ค่าของ