ข้อใดให้ความหมายคำว่า “การศึกษา” ตามหลักพระพุทธศาสนาได้ถูกต้องมากที่สุด

เปิด/ปิดแถบข้าง

ค้นหา

  • สร้างบัญชี

เครื่องมือส่วนตัว

สร้างบัญชี

เข้าสู่ระบบ

หน้าสำหรับผู้แก้ไขที่ออกจากระบบ เรียนรู้เพิ่มเติม

  • คุย
  • ส่วนร่วม

การนำทาง

  • หน้าหลัก
  • ถามคำถาม
  • เหตุการณ์ปัจจุบัน
  • สุ่มบทความ
  • เกี่ยวกับวิกิพีเดีย
  • ติดต่อเรา
  • บริจาคให้วิกิพีเดีย

มีส่วนร่วม

  • คำอธิบาย
  • เริ่มต้นเขียน
  • ศาลาประชาคม
  • เปลี่ยนแปลงล่าสุด
  • ดิสคอร์ด

เครื่องมือ

  • หน้าที่ลิงก์มา
  • การเปลี่ยนแปลงที่เกี่ยวโยง
  • อัปโหลดไฟล์
  • หน้าพิเศษ
  • ลิงก์ถาวร
  • สารสนเทศหน้า
  • อ้างอิงบทความนี้
  • สิ่งนี้ใน วิกิสนเทศ

พิมพ์/ส่งออก

  • สร้างหนังสือ
  • ดาวน์โหลดเป็น PDF
  • รุ่นพร้อมพิมพ์

ภาษา

ลิงก์ข้ามไปยังรุ่นภาษาอื่นของบทความนี้ถูกย้ายไปด้านบนแล้วที่ทางขวาของชื่อหน้า ไปด้านบน

ไตรสิกขา

6 ภาษา

  • English
  • Magyar
  • 日本語
  • Slovenčina
  • Tiếng Việt
  • 中文

แก้ไขลิงก์

  • บทความ
  • อภิปราย

ไทย

    • อ่าน
    • แก้ไข
    • ดูประวัติ

    เพิ่มเติม

    • อ่าน
    • แก้ไข
    • ดูประวัติ

    จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

    ข้อใดให้ความหมายคำว่า การศึกษา” ตามหลักพระพุทธศาสนาได้ถูกต้องมากที่สุด

    บทความนี้ไม่มีการอ้างอิงจากแหล่งที่มาใด กรุณาช่วยปรับปรุงบทความนี้ โดยเพิ่มการอ้างอิงแหล่งที่มาที่น่าเชื่อถือ เนื้อความที่ไม่มีแหล่งที่มาอาจถูกคัดค้านหรือลบออก (ตุลาคม 2564) (เรียนรู้ว่าจะนำสารแม่แบบนี้ออกได้อย่างไรและเมื่อไร)

    ส่วนหนึ่งของ
    ศาสนาพุทธ
    ข้อใดให้ความหมายคำว่า การศึกษา” ตามหลักพระพุทธศาสนาได้ถูกต้องมากที่สุด

    ประวัติ

    • เส้นเวลา
    • พระโคตมพุทธเจ้า
    • พุทธศาสนาก่อนแบ่งนิกาย
    • การสังคายนา
    • การเผยแผ่ศาสนาพุทธผ่านเส้นทางสายไหม
    • การเสื่อมถอยในอนุทวีปอินเดีย
    • ชาวพุทธยุคหลัง
    • พุทธศาสนาสมัยใหม่

    • ธรรม
    • แนวคิด

    • อริยสัจ 4
    • มรรคมีองค์แปด
      • ธรรมจักร
    • ขันธ์ 5
    • อนิจจัง
    • ทุกข์
    • อนัตตา
    • ปฏิจจสมุปบาท
    • มัชฌิมาปฏิปทา
    • สุญตา
    • ศีลธรรม
    • กรรม
    • การเกิดใหม่
    • สังสารวัฏ
    • จักรวาลวิทยา

    คัมภีร์

    • พุทธพจน์
    • ตำราพุทธศาสนาช่วงต้น
    • พระไตรปิฎก
    • พระสูตรมหายาน
    • ภาษาบาลี
    • ภาษาทิเบต
    • ภาษาจีน

    การปฏิบัติ

    • ไตรสรณคมน์
    • เส้นทางสู่การปลดปล่อยในศาสนาพุทธ
    • เบญจศีล
    • บารมี
    • การทำสมาธิ
    • เหตุผลทางปรัชญา
    • การบูชา
    • การทำบุญ
    • อนุสสติ 10
    • การมีสติ
    • ปัญญา
    • พรหมวิหาร 4
    • โพธิปักขิยธรรม 37
    • อรัญวาสี
    • คฤหัสถ์
    • บทสวดมนต์
    • การแสวงบุญ
    • ลัทธิมังสวิรัติ

    นิพพาน

    • การตรัสรู้
    • อริยบุคคล
    • พระอรหันต์
    • พระปัจเจกพุทธเจ้า
    • พระโพธิสัตว์
    • พระพุทธเจ้า

    ธรรมเนียม

    • เถรวาท
    • พระบาลี
    • มหายาน
    • หีนยาน
    • แบบจีน
    • วัชรยาน
    • แบบทิเบต
    • นวยาน
    • แบบเนวาร

    ศาสนาพุทธในแต่ละประเทศ

    • ภูฏาน
    • กัมพูชา
    • จีน
    • อินเดีย
    • ญี่ปุ่น
    • เกาหลี
    • ลาว
    • มองโกเลีย
    • พม่า
    • รัสเซีย
    • ศรีลังกา
    • ไต้หวัน
    • ไทย
    • ทิเบต
    • เวียดนาม

    • โครงเรื่อง
    • ข้อใดให้ความหมายคำว่า การศึกษา” ตามหลักพระพุทธศาสนาได้ถูกต้องมากที่สุด
      สถานีย่อยศาสนา

    ไตรสิกขา แปลว่า สิกขา 3 หมายถึงข้อสำหรับศึกษา, การศึกษาข้อปฏิบัติที่พึงศึกษา, การฝึกฝนอบรมตนในเรื่องที่พึงศึกษา 3 อย่างคือ

    1. อธิสีลสิกขา คือศึกษาเรื่องศีล อบรมปฏิบัติให้ถูกต้องดีงาม ให้ถูกต้องตามหลักจุลศีล มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลัก มัชฌิมศีล และมหาศีล ตลอดถึงปฏิบัติอยู่ในหลักอินทรียสังวร สติสัมปชัญญะ และสันโดษ
    2. อธิจิตตสิกขา คือศึกษาเรื่องจิต อบรมจิตให้สงบมั่นคงเป็นสมาธิ ได้แก่การบำเพ็ญสมถกรรมฐานของผู้สมบูรณ์ด้วยอริยศีลขันธ์จนได้บรรลุฌาน 4
    3. อธิปัญญาสิกขา คือศึกษาเรื่องปัญญาอบรมตนให้เกิดปัญญาแจ่มแจ้ง ได้แก่การบำเพ็ญวิปัสสนากรรมฐานได้ฌานแล้วจนได้บรรลุวิชชา 8 คือเป็นพระอรหันต์หรืออืกชื่อคืออรหันต์พุทธ

    เข้าถึงจาก "https://th.wikipedia.org/w/index.php?title=ไตรสิกขา&oldid=10387911"

    หมวดหมู่:

    • บทความที่ขาดแหล่งอ้างอิงตั้งแต่ตุลาคม 2564
    • ศาสนาพุทธ

    หมวดหมู่ที่ซ่อนอยู่:

    • Articles with invalid date parameter in template
    • บทความทั้งหมดที่ขาดแหล่งอ้างอิง

    การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร *

    การศึกษาในทัศนะของพระพุทธศาสนา คือ การศึกษาช่วยให้คนพัฒนาชีวิตที่ดีงาม มี ส่วนร่วมในการสร้างสรรค์โอกาสสังคมการศึกษาที่สร้างคนให้เป็นบัณฑิต แต่ยังมุ่งหวังที่จะให้ผู้ ศึกษาได้รับคุณค่าของการศึกษาที่แท้จริงทั้งภายในและภายนอกคือการพัฒนากายกับจิต ระบบ การศึกษาของพุทธศาสนาได้เริ่มพัฒนาผู้ศึกษาจากระดับพื้นฐานคือมุ่งแก้ปัญหา ...

    ข้อใดเป็นความหมายของผู้มีคุณลักษณะสำเร็จการศึกษาตามแนวทางของพระพุทธศาสนา

    ผู้ที่ได้รับการศึกษาตามแบบพุทธ จะมีลักษณะเด่น คือ มีคุณธรรม ๒ ประการประจำตน ๑. มีปัญญา ซึ่งเกิดพร้อมกับการสิ้นอวิชชา ๒. มีกรุณา ซึ่งเป็นแรงเร้าในการกระทำในการดำรงชีวิต จะมีลักษณะ ๒ คือ อัตตัตถะ การบรรลุถึงประโยชน์ตน ฝึกตนเองได้ดี (ปัญญา)

    ข้อใดเป็นปัญญาสิกขาตามหลักพระพุทธศาสนา

    ๑. ปัญญาสิกขา คือความรู้ความเข้าใจในหลักการเป้าหมาย เหตุผล วิธีการต่างๆ รู้ทุกอย่างเท่าที่จำเป็นปัญญาขั้นนี้ไม่ใช่ปัญญาขั้นลึกซึ้ง แต่เป็นปัญญาขั้นพื้นฐานที่ต้องทราบก่อน สมมติว่าเราจะพัฒนาอะไรสักอย่าง เราต้องรู้ก่อนว่าพัฒนาไปทำไม เป้าหมายเป็นอย่างไรและวิธีการพัฒนาจะทำอย่างไร

    ข้อใดเป็นความหมายของหลักธรรม สันตุฏฐี

    คำว่าสันโดษ มาจากคำภาษาบาลีว่า สันตุฏฐี หมายถึง ความยินดี ความพอใจ ด้วยวัตถุปัจจัยซึ่งเกิด จากภายนอก รวมถึง การมีความสุข ความพอใจ ซึ่งเกิดจากภายใน ลักษณะของความสันโดษคือ มีความยินดี ตามมี ยินดีตามได้ ยินดีตามกำลัง สันโดษมีประโยชน์ต่อบรรพชิตในฐานะที่ดำรงพระวินัย ในฐานะที่เป็น อริยวงศ์ 4 และในฐานะที่เป็นนาถกรณธรรม ซึ่ง ...

    การศึกษาตามความหมายในพระพุทธศาสนา คืออะไร * ข้อใดเป็นความหมายของผู้มีคุณลักษณะสำเร็จการศึกษาตามแนวทางของพระพุทธศาสนา ข้อใดเป็นปัญญาสิกขาตามหลักพระพุทธศาสนา ข้อใดเป็นความหมายของหลักธรรม สันตุฏฐี ข้อใดเป็นการฝึกความไม่ประมาทตามหลักสติปัฏฐาน 4 ในข้อธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน เหตุผลใดสนับสนุนว่ามนุษย์สามารถมีอิสรภาพจากการถูกครอบงำจากอำนาจใด ๆ ทั้งปวงได้ การเสด็จอุบัติขึ้นของพระพุทธเจ้าเกิดประโยชน์และสันติภาพแก่บุคคล สังคม และโลกอย่างไร ความหมายของจิตตสิกขา ข้อใดเป็นความหมายของอปริหานิยธรรม ซึ่งเป็นหลักธรรมที่ใช้ในการปกครอง การศึกษาตามหลักพระพุทธศาสนา มีองค์ประกอบใดบ้าง