การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด

                㹡�����ҧ Flash Movie ����ҹ�� ���л�Сͺ仴��� Layer ���� Layer ����Ҩзӧҹ���է���� Layer ��ҹ�� Layer �����ҡ��ѧ�ӧҹ����������¡��� Active Layer ����ö�ѧࡵ��л�ҡ�����մӷ�� Layer ��� ����������ö��˹�ʶҹе�ҧ�ͧ Layer ����� �蹡�˹� ����ʴ����ͫ�͹ Layer,��˹���� Layer �������ö��Ѻ�������������, ��˹���� Layer ����ʴ�੾������ç��ҧ �繵�

เมนูบาร์ เป็นแถบที่รวบรวมคำสั่งในการใช้งานทั้งหมดเกี่ยวกับการสร้างชิ้นงานและการสร้างมูฟวี่ นอกจากนั้นยังรวมไปถึงการตั้งค่าเกี่ยวกับการใช้งานในโปรแกรมทั้งหมด

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด

หมายเลข 2 ทูลบ็อกซ์ ( Toolbox )

ทูลบ็อกซ์ เป็นกล่องที่รวบรวมเครื่องมือต่าง ๆ ที่ใช้ในการสร้างและปรับแต่งออบเจ็กต์ โดยแต่ละเครื่องมือในทูลบ็อกซ์จะมีลักษณะเป็นไอคอนรูปภาพที่เราสามารถคลิกเพื่อเรียกใช้งานได้

กล่องเครื่องมือ แยกออกเป็น 5 กลุ่ม ดังนี้

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด

  1. กลุ่มเครื่องมือ Tools เกี่ยวกับการเลือก ประกอบด้วย

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
   – Selection Tool หน้าที่   คลิกเลือกวัตถุเพื่อทำการอื่น ๆ เช่น เปลี่ยนสี ย้าย คัดลอก หรือลบ

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
– Subselection Tool หน้าที่   คลิกเลือกเพื่อปรับเส้นโค้งต่าง ๆ ของวัตถุ

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
   – Freetransfrom Tool หน้าที่   ปรับแต่งวัตถุตามต้องการ

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
   – Gradinet Transfrom Tool หน้าที่   แก้ไขลักษณะของการไล่ระดับสี

2. กลุ่มเครื่องมือ Edit เกี่ยวกับการวาดและการตกแต่งภาพ   ประกอบด้วย

   

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
  – Line Tool หน้าที่   วาดเส้นตรง

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
    – Lasso Tool หน้าที่   เลือกวัตถุแบบอิสระ

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
– Pan Tool หน้าที่   วาดเส้นโค้ง

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
– Text Tool หน้าที่   สร้างข้อความ

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
– Oval หรือ Circle   Tool หน้าที่ สร้างรูปวงกลม วงรี

   

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
  – Rectangle Tool หน้าที่   สร้างรูปสี่เหลี่ยม

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
– Pencil Tool หน้าที่   วาดรูปอิสระ

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
   – Brush Tool หน้าที่   ระบายสีวัตถุ (เป็นแปลงทาสี)

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
   – Eraser Tool หน้าที่ ลบวัตถุ

   

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
  – Ink Bottle Tool หน้าที่   ลงสีเส้นและลักษณะของเส้น

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
– Paint Bucket Tool หน้าที่   ลงสีพื้นของวัตถุ

    

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
  – Eyedropper Tool หน้าที่   เก็บค่าสี/ลวดลาย/เส้นจากตัวอย่าง (ดูดสีของวัตถุ)

3. กลุ่มเครื่องมือ View เกี่ยวกับการมองภาพในรูปแบบต่าง   ๆ ประกอบด้วย    
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
    – Hand Tool หน้าที่   คลิกเลื่อนชิ้นงาน     
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
    – Zoom Tool หน้าที่ ย่อ/ขยายพื้นที่ใน   สเตจ (Stage) และพื้นที่ทำงาน ( Work Area)                     
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
   สัญลักษณ์การขยาย                     
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
    สัญลักษณ์การย่อ4. กลุ่มเครื่องมือ Colors เกี่ยวกับการเลือกสีให้กับเส้นและพื้น   ประกอบด้วย  
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
  – Stroke Color หน้าที่   ลงสีให้กับเส้นของวัตถุ 
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
  – Fill Color หน้าที่   ลงสีให้กับพื้นของวัตถุ         – ปุ่มควบคุมเกี่ยวกับสีพื้นฐาน               
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
     * Default Color ปรับค่าสีเส้นและสีพื้นเป็นค่ามาตรฐาน   เส้นสีดำ พื้นสีขาว               
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
     * No Color ปรับค่าไม่ให้มีสีทั้งสีเส้นและสีพื้น                
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
    * Swap Color สลับสีระหว่างสีเส้นกับสีพื้น

5. กลุ่มคำสั่งเพิ่มเติม ประกอบด้วย

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
                                                            
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
                                                                       
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
                                                                       
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
                                            
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด

หมายเลข 3 สเตจ ( Stage)

       สเตจ คือ พื้นที่ที่ใช้ทำงานสร้างชิ้นงานหรือจัดวางออบเจ็คต่าง ๆ เป็นพื้นสีขาว ๆ ตรงหน้าจอ

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
หมายเลข 4 พื้นที่ทำงาน ( Work Area )

        พื้นที่ทำงาน คือ ส่วนบริเวณสีเทาล้อมรอบ สเตจ จะใช้วางวัตถุที่ยังไม่ต้องการให้แสดง อาจเปรียบ
สเตจได้เหมือนเวที และพื้นที่ทำงานเป็นพื้นที่หลังเวที ที่ผู้ชมมองไม่เห็น เอาไว้วางองค์ประกอบต่าง ๆ ที่จะนำไปแสดงบนสเตจ

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
หมายเลข 5 ไทมไลน์ ( Timeline )

      ไทมไลน์ หรือ เส้นเวลา ใช้สำหรับสร้างและกำหนดรายละเอียดของการเคลื่อนไหวของวัตถุ มาจัดวางต่อกันทีภาพในแต่ละช่วงเวลา เรียกว่าเฟรม ( Frame) ซึ่งจะแสดงเป็นภาพเคลื่อนไหว โดยจะกำหนดเส้นเวลาให้เล่นภาพเคลื่อนไหวซ้ำ ๆ หรือ เล่นแล้วหยุดก็ได้

ไทมไลน์ แบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่

  • ส่วนแสดงเลเยอร์ ( Layer ) ซึ่งแต่ละเลเยอร์เปรียบเหมือนแผ่นใสที่สามารถวางภาพหรือออบเจ็กต์ ได้ โดยแต่ละเลเยอร์นั้นแยกเป็นอิสระจากกัน แต่ประกอบกันเป็นชิ้นงานเดียว
  • ส่วนเฟรม ( Frame ) เป็นส่วนที่แสดงช่องเฟรมต่าง ๆ ที่ทำงานเหมือนกันกับเฟรมที่ประกอบกันเป็นภาพยนตร์ โดยเมื่อมีการนำเฟรมเหลานี้มาแสดงอย่างต่อเนื่องก็จะทำให้เกิดภาพเคลื่อนไหว ทั้งนี้ flash จะแสดงผลีละเฟรม โดยจะมีหัวอ่าน (Playhead) ที่เป็นสีแดงคอยบอกตำแหน่ง ว่ากำลังทำงานอยู่ที่เฟรมใด

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
 ฉาก หรือ Scene

      Scene คือส่วนย่อย ๆ ของ Movie ที่เราสร้างขึ้น แบ่งเพื่อให้ง่ายต่อการสร้างชิ้นงานจะได้ไม่ไปทำกับชิ้นอื่น เปรียบละคร 1 เรื่อง จะมีการเล่นหลายฉาก สัญลักษณ์ของ Scene

                      

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
   Add Scene คือ การเพิ่ม Scene                                           
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
  Duplicate Scene คือ การคัดลอก Scene
การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
  Delete Scene คือ การลบ Scene

เลเยอร์ (Layer )

      เลเยอร์ (Layer) เปรียบเสมือนแผ่นใส หลายแผ่นวางทับซ้อนกันและแต่ละเลเยอร์มีอิสระจากกัน สัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับเลเยอร์

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด

เฟรม และ ไทมไลน์

      เป็นส่วนสำคัญในการสร้างภาพเคลื่อนไหวของ flash โดยมีสัญลักษณะ ดังนี้

ความหมายของสัญลักษณ์ต่าง ๆ ของเฟรม

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด

การเพิ่ม/ลบเฟรมใน Timeline

     คลิกขวาเลือกคำสั่งใน Timeline

   – Insert Frame คือ การเพิ่มจำนวนเฟรม
– Remove Frames คือ การลบเฟรม
– Insert Keyframe คือ การเพิ่มเฟรมหลัง
– Insert Blank Keyframe คือ การเพิ่มเฟรมหลังเปล่า
– Clear Keyframe คือ การเปลี่ยนจากเฟรมหลักเป็นเฟรมธรรมดา
– Convert to Keyframes คือ การเปลี่ยนจากเฟรมธรรมดาเป็นเฟรมหลัก
– Convert to Blank Keyframes คือ การเปลี่ยนเป็นเฟรมเปล่า
– Cut Frames คือ การย้ายเฟรม
– Copy Frames คือ การคัดลอกเฟรม
– Past Frames คือ การวางเฟรม
– Clear Frames คือ การลบวัตถุในเฟรม
– Select All Frames คือ การเลือกเฟรมทั้งหมด
– Reverse Frames คือ การกลับลำดับเฟรม
– Synchronize Symbols คือ การคำนวณแอนิเมชันใหม่

การ insert keyframe อาจใช้คีย์ลัดตรงตามข้อใด
หมายเลข 6 พาเนล ( Panels )

พาเนล คือ หน้าต่างที่รวบรวมเครื่องมือต่าง ๆ สำหรับใช้ในการปรับแต่งออบเจ็กต์ ซึ่งใน Flash ได้มีการจัดพาเนลต่าง ๆ ไว้อย่างเป็นหมวดหมู่ตามหน้าที่ พาเนลสำคัญที่ควรรู้จัก ดังนี้

1) Property Inspector เป็นพาเนลที่ใช้แสดงคุณสมบัติต่าง ๆ ของออบเจ็กต์ที่เราคลิกเลือก ซึ่ง สามารถปรับแต่งคุณสมบัติเหล่านี้ได้

2 ) พาเนล Filters เป็นพาเนลที่ใช้ปรับแต่งหรือเป็นการใส่เอ็ฟเฟ็คให้กับตัวอักษร มูฟวี่คลิปและ
ปุ่มกด โดยเรียกใช้งานได้ที่ เมนู windows -> Properties -> Filters

3 ) พาเนล Parameters เป็นพาเนลที่ใช้กำหนดค่าพารามิเตอร์ให้กับคอมโพเนนท์ (หรือซิมบอล
สำเร็จรูป) โดยสามารถเรียกใช้งานได้ที่ เมนู Windows -> Properties -> Parameters

4 ) พาเนล Color เป็นพาเนลที่ใช้เลือกสีและผสมสีตามที่ต้องการ เรียกใช้งานได้ที่ เมนู Windows -> color mixer