หลักการทางอาชีวสุขศาสตร์ 3 หลักการ

‘อาชีวอนามัย’ จัดอยู่ในวิชาวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง  ซึ่งเป็นกระบวนเรียนรู้ทางด้านการดูแลสุขภาพอนามัย ในผู้ประกอบอาชีพทุกอาชีพ รวมทั้งยังจัดการดูแลผลกระทบอันเกิดมาจากการทำงาน ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อทำให้การดำเนินงานของผู้ประกอบอาชีพ ได้รับความปลอดภัยสูงสุด นอกจากนี้ยังต้องได้รับการคุ้มครองตลอดจนได้รับสิทธิประโยชน์ตามกฎหมาย

ความหมายของ ‘อาชีวอนามัย’

  • อาชีวะ หมายถึง เลี้ยงตัวด้วยการประกอบอาชีพต่างๆ
  • อนามัย หมายถึง สุขภาพอนามัย ความสมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจ
  • อาชีวอนามัย หมายถึง ส่งเสริม, ควบคุม, ดูแล ป้องกันจากโรคร้ายต่างๆ รวมทั้งอุบัติเหตุ พร้อมดำรงรักษาสุขภาพอนามัยผู้ประกอบอาชีพให้มีความปลอดภัย ทั้งทางร่างกาย และทางจิตใจ
หลักการทางอาชีวสุขศาสตร์ 3 หลักการ

ลักษณะของงานอาชีวอนามัย 5 ประการสำคัญ ได้แก่…

  1. ส่งเสริม – งานที่เกี่ยวกับการส่งเสริม – รักษาไว้ ทั้งสุขภาพกาย – จิตใจ ให้มีความแข็งแรงสมบูรณ์
  2. ป้องกัน – การป้องกันไม่ให้ผู้ประกอบอาชีพ มีสุขภาพทรุดโทรม อันเนื่องมาจากสภาพการทำงานที่ผิดปกติไป
  3. ปกป้องคุ้มครอง –  การปกป้องคุ้มครองผู้ประกอบอาชีพ ไม่ให้มีการทำงานที่เสี่ยงต่ออันตรายทั้งปวง
  4. จัดการทำงาน – จัดการสภาพสิ่งแวดล้อมในการทำงาน ให้มีความเหมาะสมกับสภาพร่างกาย และจิตใจ ของผู้ประกอบอาชีพ
  5. ปรับงานและคนให้มีความเหมาะสมกัน – ให้สภาพของงานและบุคคลที่ทำงานมีประสิทธิภาพร่วมกัน โดยคำนึงถึงสภาพทางสรีรวิทยา รวมทั้งพื้นฐานที่มีความแตกต่างทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจให้มีความสอดคล้องมากสุดเพื่อสร้างประสิทธิผลของงานนั้นให้เติบโตถึงขีดสุด

ศึกษาสภาพแวดล้อมในการทำงาน ด้วยการใช้หลักวิเคราะห์ทาง ‘อาชีวสุขศาสตร์’ แบ่งออกเป็น 3 หลักการใหญ่ๆ ด้วยกัน ได้แก่…

1. สืบค้น

เริ่มจากการศึกษาสภาพอันแท้จริงของงาน เพื่อค้นหาปัญหาอย่างเจาะลึกว่า ในงานนั้นๆ มีสิ่งใดบ้างที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของผู้ประกอบงาน เช่น อันตรายจากสภาพแวดล้อม,  อันตรายจากสารเคมี, อันตรายทางด้านชีวภาพ เป็นต้น betflix บาคาร่า

2. ประเมินอันตราย

ต่อมาเมื่อรับทราบถึงปัญหาแล้ว คราวนี้ก็จะต้องมีการประเมินระดับอันตราย ที่สามารถเกิดขึ้นว่ามีผลกระทบต่อสุขภาพของคนงานหรือไม่ รวมทั้งมีมากน้อยเพียงใด โดยสามารถกระทำได้ด้วยการตรวจสอบ, ตรวจวัด ตลอดจนการวิเคราะห์ปัญหา ด้วยการนำค่าที่ได้นั้นมาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน

3. ควบคุม

เป็นงานที่สืบเนื่องติดต่อกันมา เมื่อทราบแล้วว่างานนั้นมีสิ่งใดที่เป็นอันตราย ตลอดจนเข้าใจถึงความรุนแรงแล้ว ก็จะนำมาสู่การดำเนินควบคุม รวมทั้งป้องกันอันตราย ด้วยการใช้มาตรการ ตลอดจนวิธีที่เหมาะสม อีกทั้งยังมีประสิทธิภาพในการควบคุมอันตรายอย่างเต็มรูปแบบ เพราะฉะนั้นเพื่ออำนวยประโยชน์ทั้งหลายให้แก่ลูกจ้าง นายจ้างจำต้องมีความใส่ใจรวมทั้งคำนึงถึงการดำเนินการทางด้าน ‘อาชีวอนามัย’ เป็นหลักดำเนินงานรวมทั้งกิจกรรมต่างๆ

เป็นวิชาวิทยาศาสตร์ในสาขาวิชาสุขศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับการดูแลสุขภาพอนามัยของผู้ประกอบอาชีพทุกอาชีพ และผลกระทบที่เกิด จากการทำงานที่อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพ เพื่อการดำเนินการให้ผู้ประกอบอาชีพ หรือแรงงานเกิดความปลอดภัยสูงสุด ได้รับการคุ้มครองและสิทธิประโยชน์ตามกฎหมาย

คำว่า อาชีวอนามัย “Occupational Health” เป็นคำสมาสระหว่างคำว่า อาชีวะ หรือ อาชีพ กับคำว่า อนามัย หรือ สุขภาพ

อาชีวะ (Occupation) หมายถึง การเลี้ยงชีพ การประกอบอาชีพ บุคคลที่ประกอบ สัมมาชีพ หรือคนที่ประกอบอาชีพทุกสาขาอาชีพ

อนามัย (Health) หมายถึง สุขภาพอนามัย ความไม่มีโรค หรือสภาวะความ สมบูรณ์ทั้งร่างกายและจิตใจของผู้ประกอบอาชีพ

จากคำสองคำรวมกันเป็น อาชีวอนามัย และมีความหมายร่วมกันของอาชีวอนามัย ว่า หมายถึง งานที่เกี่ยวกับการส่งเสริม ควบคุม ดูแล การป้องกันโรค ตลอดจนอุบัติเหตุ และดำรงรักษาสุขภาพอนามัยทั้งมวลของผู้ประกอบอาชีพให้มีความปลอดภัย มีสภาพ ร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์ แข็งแรง ซึ่งสอดคล้องกับองค์การแรงงานระหว่างประเทศ (ILO) ได้ให้ความหมายของอาชีวอนามัยไว้ว่าหมายถึงงานที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริม ธำรงไว้ซึ่งสุขภาพทางกาย ทางจิตใจ และทางสังคมที่ดีงามของผู้ประกอบอาชีพทั้งมวล องค์การอนามัยโลก (World Health Organization : WHO) และองค์การแรงงาน ระหว่างประเทศ (International Labor Organization : ILO) ได้ร่วมกันกำหนดขอบข่าย ลักษณะงานอาชีวอนามัยไว้ว่าประกอบด้วยงานสำคัญ 5 ประการดังนี้

1. การส่งเสริม (Promotion) หมายถึง งานที่เกี่ยวกับการส่งเสริมและธำรงรักษาไว้ ซึ่งสุขภาพทั้งร่างกายและจิตใจที่แข็งแรงสมบูรณ์ของผู้ประกอบอาชีพ ตลอดจนมีความเป็นอยู่ที่ดีร่วมกันในสังคมของผู้ประกอบอาชีพตามสถานะที่พึงมีได้

2. การป้องกัน (Prevention) หมายถึง การป้องกันมิให้ผู้ประกอบอาชีพ หรือ แรงงานมีสุขภาพอนามัยเสื่อมโทรมหรือผิดปกติ เนื่องจากสภาพ หรือสภาวะการทำงานที่ ผิดปกติ

3. การปกป้องคุ้ม ครอง (Protection) หมายถึง การดำเนินการปกป้องคุม้ ครอง ผู้ประกอบอาชีพหรือแรงงานในสถานประกอบการ มิให้มีการกระทำงานที่เสี่ยงต่อ อันตรายหรือการเกิดโรคภัยไข้เจ็บ

4. การจัดการทำงาน (Placing) หมายถึง การจัดการเกี่ยวกับสภาพสิ่งแวดล้อม ของการทำงานให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพความต้องการของร่างกาย จิตใจ ของผู้ประกอบอาชีพหรือแรงงานมากที่สุดเท่าที่จะทำได้

5. การปรับงานและคนให้มีความเหมาะสมกัน (Adaptation) หมายถึง การปรับ สภาพของงานและคนทำงานให้สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสมมีประสิทธิภาพ โดย คำนึงถึงสภาพทางสรีรวิทยาและพื้นฐานความแตกต่างทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจของ คนทำงานให้มีความสอดคล้องมากที่สุดเพื่อประสิทธิผลของงานนั้น ๆ

ขอบเขตของงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย


การดำเนินงานอาชีวอนามัยและความปลอดภัยจะมีขอบเขตที่เกี่ยวข้องเฉพาะปัญหาสุขภาพอนามัย (Health problems) ของคนที่เกิดจากการทำงาน ดังนี้

1. คนในขณะทำงาน (Workers)
ในผู้ที่ปฏิบัติงานอาชีพต่างๆจะได้รับการดูและทางสุขภาพอนามัย การค้นหาโรคและอันตรายที่เกิดขึ้นที่เป็นผลมากจากการทำงาน การส่งเสริมสุขภาพอนามัย ป้องกันโรค อันตรายและอุบัติเหตุที่อาจเกิดจากการทำงาน
2. สภาพสิ่งแวดล้อมของการทำงาน (Working Environment)
เป็นการศึกษาสภาพแวดล้อมของงานแต่ละประเภท ว่ามีสิ่งใดที่ทำให้เกิดอันตราบได้บ้าง และมีผลกระทบต่อสุขภาพอย่างไร
การศึกษาสภาพแวดล้อมในการทำงานโดยใช้หลักการทางอาชีวสุขศาสตร์ (Occupational hygiene) มี 3 หลักการใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ

1. การสืบค้น (Identify)
โดยศึกษาสภาพแท้จริงของงาน เพื่อค้นหาปัญหาว่าในงานนั้นๆมีสิ่งใดบ้างที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพของคนงาน เช่น อันตรายจากสิ่งแวดล้อมทางด้านกายภาพ อันตรายจากสารเคมี อันตรายทางด้านชีวภาพ และปัญหาทางด้านการยศาสตร์
2. การประเมินอันตราย (Evaluation)
เมื่อทราบปัญหาแล้ว จะต้องมีการประเมินระดับอันตรายที่อาจเกิดขึ้นว่ามีผลต่อสุขภาพคนงานหรือไม่และมากน้อยเพียงใด ซึ่งสามรถกระทำได้โดยการตรวจสอบ การตรวจวัด หรือการวิเคราะห์ปัญหา โดยนำค่าที่ได้มาเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐานที่มีการกำหนดไว้
3. การควบคุม (Control)
เป็นงานที่ต้อเนื่องจากทั้งสองขั้นตอนข้างต้น ซึ่งเมื่อทราบว่างานนั้นมีสิ่งใดที่เป็นอันตรายหรือมีผลต่อสุขภาพ และทราบความรุนแรงของอันตรายแล้วจะนำมาสู่การดำเนินการควบคุมและป้องกันอันตราย โดยการใช้มาตรการ วิธีการที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพในการควบคุมอันตรายดังกล่าว

หลักการทางอาชีวสุขศาสตร์ 3 หลักการใหญ่ๆด้วยกันมีอะไรบ้าง

การศึกษาสภาพแวดล้อมในการทำงานโดยใช้หลักการทางอาชีวสุขศาสตร์ (Occupational hygiene) มี 3 หลักการใหญ่ๆ ด้วยกัน คือ.
การสืบค้น (Identify) ... .
การประเมินอันตราย (Evaluation) ... .
การควบคุม (Control).

อาชีวอนามัยมีความสําคัญอย่างไร

อาชีวอนามัยและความปลอดภัย” (occupational health and safety) จึง หมายถึง การดูแลสุขภาพอนามัยและความปลอดภัยของผู้ประกอบอาชีพ ซึ่ง รวมถึงการป้องกันอันตรายและส่งเสริมสุขภาพอนามัย เพื่อคงไว้ซึ่งสภาพ ร่างกายและจิตใจที่สมบูรณ์ตลอดจนสถานะความเป็นอยู่ที่ดีของผู้ประกอบ อาชีพทั้งมวล

การควบคุม ในทางอาชีวสุขศาสตร์ คืออะไร

1. การ ควบคุม และ ป้องกัน ด้าน สุข ศาสตร์ อุตสาหกรรม หมาย ถึง การ ดำเนิน มาตรการ ป้องกัน หรือ แก้ไข ปัญหา สิ่ง แวดล้อม ใน การ ทำงาน โดย ใช้หลัก วิชาการ ด้าน วิทยาศาสตร์และ ศิลปศาสตร์เพื่อ ลด อันตราย ที่อาจ เกิด ขึ้น ต่อ สุขภาพ อนามัย ของ ผู้ปฏิบัติงาน ให้น้อย ที่สุด 2. ความ สำคัญ ใน การ ควบคุม และ ป้องกัน ด้าน สุข ...

หลักจรรยาบรรณของนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม มีอะไรบ้าง

จรรยาบรรณของนักสุขศาสตร์อุตสาหกรรม.
ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความซื่อสัตย์สุจริต มีความรับผิดชอบ มีความเป็นอิสระ และด้วยความยุติธรรม.
ปฏิบัติหน้าที่ตามนโยบายความปลอดภัยขององค์กร กฎระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง.
ส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการตระหนักในคุณค่าของความปลอดภัย ทั้งต่อตนเอง ผู้ร่วมงานสาธารณชน และทรัพย์สิน.