การประเมินหลักฐานภายใน เช่น

เอกสารจดหมายเหตุคือหลักฐานทางประวัติศาสตร์ และเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติ ตามพระราชบัญญัติจดหมายเหตุแห่งชาติ พ.ศ. 2556 ได้ให้นิยามของคำว่าเอกสารจดหมายเหตุ หมายความว่า เอกสารที่สิ้นกระแสการใช้งานและได้รับการประเมินคุณค่าควรแก่การเก็บรักษาและอนุรักษ์ไว้เพื่อเป็นมรดกทางวัฒนธรรมด้านประวัติศาสตร์ของชาติ และเพื่อประโยชน์ในการศึกษา การค้นคว้า หรือการวิจัย ซึ่งกรมศิลปากรได้จัดทำทะเบียนไว้เป็นเอกสารจดหมายเหตุ

ในปัจจุบันประเทศไทยมีกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องในการปฏิบัติงานจดหมายเหตุ ได้แก่ พระราชบัญญัติจดหมายเหตุแห่งชาติ พ.ศ. 2556 พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ.ศ. 2526 และฉบับที่ 2 พ.ศ. 2548 ระเบียบว่าด้วยการรักษาความลับของทางราชการ พ.ศ. 2544 โดยกฎหมายและระเบียบดังกล่าว ใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้หน่วยงานของรัฐส่งมอบเอกสารให้สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ เอกสารที่ได้รับมอบมาจากหน่วยงานของรัฐ และเอกสารส่วนบุคคลที่อาจมีคุณค่าเป็นเอกสารจดหมายเหตุจะต้องดำเนินการประเมินคุณค่าเอกสาร ตามมาตรา 6 แห่งพระราชบัญญัติจดหมายเหตุแห่งชาติ พ.ศ. 2556 เพื่อเป็นการคัดเลือกเอกสารที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และเก็บรักษาไว้เป็นเอกสารจดหมายเหตุ

การประเมินคุณค่าเอกสาร (Appraisal) หมายถึงการดำเนินงานศึกษา วิเคราะห์ เนื้อหาเอกสาร ความผูกพันและความเกี่ยวเนื่องกับเอกสารอื่น ๆ เพื่อพิจารณาคัดเลือกเอกสารที่มีคุณค่าเก็บรักษาไว้เพื่อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้า วิจัย และการอ้างอิงอย่างมีหลักเกณฑ์ ตามหลักวิชาการจดหมายเหตุโดยมีขั้นตอนดังนี้

1. สำรวจและรวบรวมเอกสารชุดเอกสารที่จะทำการประเมินคุณค่าเอกสารให้ครบถ้วน โดยรวบรวมจากทะเบียนแฟ้มโต้ตอบเอกสาร

2. จัดทำคำสั่งกรมศิลปากร แต่งตั้งคณะกรรมการประเมินคุณค่าเอกสารของสำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ

3. ศึกษา วิเคราะห์ โครงสร้างหน่วยงานของรัฐ การแบ่งส่วนราชการและภารกิจในช่วงระยะเวลาเดียวกับเนื้อหาของเอกสารที่จะทำการประเมิน เพื่อจัดเก็บเอกสารที่มีคุณค่าสะท้อนภารกิจของหน่วยงาน สำหรับเอกสารส่วนบุคคลจะต้องศึกษาประวัติ และผลงานของบุคคล เพื่อจัดเก็บเอกสาร ที่มีคุณค่าสะท้อนภารกิจของบุคคล

4. คัดแยกกลุ่มเอกสารหน่วยงานของรัฐตามการแบ่งโครงสร้าง อำนาจหน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ เป็นระดับกรม กอง แล้วจึงแยกเป็นหัวเรื่องเอกสาร ซึ่งอาจแบ่งตามประเภทของเอกสารหรือแบ่งตามหัวเรื่องของเอกสาร สำหรับการคัดแยกเอกสารส่วนบุคคล จะแบ่งหัวเรื่องตามภารกิจหน้าที่ของบุคคล

5. จัดทำสรุปสาระสังเขปเอกสารแต่ละกลุ่ม พร้อมจัดทำบันทึกผลการวิเคราะห์เอกสาร และให้เหตุผลในการพิจารณาเอกสารในแต่ละกลุ่มเอกสารว่าสมควรเก็บหรือสมควรทำลาย

6. จัดการประชุมคณะกรรมการประเมินคุณค่าเอกสารหน่วยงานของรัฐเพื่อร่วมกันพิจารณาเอกสารที่มีคุณค่าตามภารกิจ หน้าที่ของหน่วยงานของรัฐ หรือจัดการประชุมคณะกรรมการประเมินคุณค่าเอกสารส่วนบุคคล เพื่อพิจารณาเอกสารส่วนบุคคลตามภารกิจหน้าที่ของบุคคล

7. เอกสารที่ผ่านการประเมินคุณค่าเอกสารจากคณะกรรมการประเมินคุณค่าเอกสารแล้ว จะดำเนินการจัดส่งเอกสารไปจัดหมวดหมู่และจัดทำเครื่องมือช่วยค้นเอกสาร เพื่อให้บริการแก่นิสิต นักศึกษา นักค้นคว้าวิจัย และประชาชนผู้สนใจต่อไป

การประเมินคุณค่าเอกสารภายหลังการรับมอบเอกสารมาไว้ที่สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ จะเป็นการศึกษา วิเคราะห์เพื่อกำหนดว่าเอกสารที่ได้รับมอบมานั้นมีคุณค่าสมควรจัดเก็บไว้เป็นเอกสารจดหมายเหตุหรือไม่ โดยมีหลักเกณฑ์พื้นฐาน สำหรับศึกษาวิเคราะห์คุณค่าของเอกสาร ได้แก่ การศึกษา วิเคราะห์แหล่งที่มาของเอกสาร (Provenance) เนื้อหาของเอกสาร (Content) ความเป็นต้นฉบับตัวจริงที่มีเพียงฉบับเดียว (Authenticity) ความน่าเชื่อถือ (Reliability) การจัดเรียงเอกสาร (Order) ความครบถ้วนสมบูรณ์ (Completeness) สภาพทางกายภาพ (Condition) ค่าใช้จ่ายในการอนุรักษ์ (Cost to preserve) และคุณค่าภายใน (Intrinsic Value) โดยการประเมินคุณค่าเอกสารจะดำเนินการในรูปแบบของคณะกรรมการประเมินคุณค่าเอกสาร ประกอบด้วย ผู้แทนจากหน่วยงานเจ้าของเอกสาร ผู้เชี่ยวชาญในสาขาอาชีพที่เกี่ยวข้อง นักวิจัย สำหรับเอกสารส่วนบุคคลจะต้องเป็นเจ้าของเอกสารหรือทายาท และนักจดหมายเหตุจะทำหน้าที่เป็นฝ่ายเลขานุการ เพื่อร่วมกันให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการประเมินคุณค่าเอกสารและพิจารณาคัดเลือกเอกสารที่มีความสำคัญทางประวัติศาสตร์ไว้เป็นเอกสารจดหมายเหตุต่อไป

ขั้นตอนที่สามของวิธีการทางประวัติศาสตร์ คือการประเมินหลักฐาน ขั้นตอนนี้ผู้ศึกษาประวัติศาสตร์จะใช้ในการตรวจหลักฐานว่ามีคุณค่าและความน่าเชื่อถือเพียงพอหรือไม่ก่อนที่จะนำมาใช้ศึกษาประวัติศาสตร์การประเมินหลักฐานมี          หลักฐานที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ ต้องเป็นหลักฐานที่ให้ข้อมูลที่เป็นจริง หลักฐานที่ให้ข้อมูลจริงบ้างเท็จบ้าง นำส่วนที่เป็นจริงไปใช้ได้ ส่วนหลักฐานที่เป็นเท็จทั้งหมดไม่นำไปใช้ในการศึกษา

สารบัญ Show

  • หลักเกณฑ์และเงื่อนไข
  • การประเมินคุณค่าภายในของหลักฐานคืออะไร
  • การประเมินหลักฐานภายนอกและภายในมีความแตกต่างกันอย่างไร
  • การประเมินหลักฐานภายนอก คืออะไร
  • การประเมินคุณค่าของหลักฐานมีความสำคัญอย่างไร

การประเมินหลักฐานภายนอก เป็นการที่เราดูว่าหลักฐานนี้จริงหรือปลอม ส่วนการประเมินหลักฐานภายใน เป็นการประเมินสิ่งที่มีอยู่บนหลักฐาน เช่น รูปภาพ ตัวอักษร ว่ามีความน่าเชื่อถือมั้ย ค่า

5

แสดงความคิดเห็น

หลักเกณฑ์และเงื่อนไข

 เงื่อนไขการเกิดสิทธิกรณีบำนาญชราภาพ

    -  จ่ายเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า180 เดือน ไม่ว่าระยะเวลา 180 เดือนจะติดต่อกันหรือไม่ก็ตาม

    -  มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์

    -  ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง

เงื่อนไขการเกิดสิทธิกรณีบำเหน็จชราภาพ

    -  จ่ายเงินสมทบไม่ครบ 180 เดือน

    -  ความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง

    -  มีอายุครบ 55 ปีบริบูรณ์ หรือเป็นผู้ทุพพลภาพ หรือถึงแก่ความตาย

 ประโยชน์ทดแทนกรณีบำนาญชราภาพ

    -  กรณีจ่ายเงินสมทบ มาแล้ว ไม่น้อยกว่า 180 เดือน มีสิทธิได้รับเงินบำนาญชราภาพเป็นรายเดือนใน อัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้ายที่ใช้เป็นฐานในการคำนวณเงินสมทบก่อนความเป็นผู้ประกันตนสิ้น สุดลง

    -  กรณีที่มีการจ่าย เงินสมทบเกิน 180 เดือน ให้ปรับเพิ่มอัตราบำนาญชราภาพตามข้อ 1 ขึ้นอีกในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อ ระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบทุก 12 เดือน สำหรับระยะเวลาที่จ่ายเงินสมทบเกินกว่า 180 เดือน

  ประโยชน์ทดแทนกรณีบำเหน็จชราภาพ

    -  กรณีที่มีการจ่าย เงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน ให้จ่ายเงินบำเหน็จชราภาพ มีจำนวนเท่ากับจำนวนเงินสมทบที่ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบ เพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ กรณีที่มีการจ่ายเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป ให้จ่ายเงินบำเหน็จชราภาพ มีจำนวนเท่ากับจำนวนเงินสมทบที่ผู้ประกันตนและนายจ้างจ่ายเงินสมทบ เพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพ พร้อมผลประโยชน์ตอบแทน ตามที่สำนักงานประกันสังคมประกาศกำหนด

      -  กรณีผู้รับเงิน บำนาญชราภาพถึงแก่ความตายภายใน 60 เดือน นับแต่เดือนที่มีสิทธิได้รับเงินบำนาญชราภาพให้จ่ายเงินบำเหน็จชราภาพจำนวน 10 เท่าของเงินบำนาญชราภาพรายเดือนที่ได้รับคราวสุดท้ายก่อนถึงแก่ความตาย

 หลักฐานที่ต้องใช้เพื่อขอรับประโยชน์ทดแทน กรณีชราภาพ

    -  แบบคำขอรับประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ (สปส. 2-01)

    กรณีผู้ประกันตนถึงแก่ความตาย

          -สำเนามรณะบัตรและสำเนาทะเบียนบ้านผู้ตาย

          -สำเนาบัตรประจำตัวประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้านของผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จชราภาพ

          -สำเนาทะเบียนสมรสของผู้ประกันคนและของบริดามารดา (ถ้ามี)

          -สำเนาสูติบัตรของบุตรหรือสำเนาทะเบียนบ้านของบุตร กรณีไม่มีสูติบัตร

          -หนังสือระบบให้เป็นผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จชราภาพ (ถ้ามี)

   กรณีบำนาญชราภาพ

    สำเนาสมุดบัญชีเงินฝากธนาคารประเภทออมทรัพย์หน้าแรก ซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชีของผู้ยื่นคำขอฯ

     -  สำเนาสมุดบัญชี เงินฝากธนาคารหน้าแรก ซึ่งมีชื่อและเลขที่บัญชี (กรณีขอรับเงินทางธนาคาร) ผ่านทางบัญชีธนาคารของผู้ประกันตน 11 ธนาคาร ดังนี้

         1) ธนาคารกรุงไทย จำกัด(มหาชน)

         2) ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด(มหาชน)

         3) ธนาคารกรุงเทพ จำกัด(มหาชน)

         4) ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน)

         5) ธนาคารกสิกรไทย จำกัด(มหาชน)

         6) ธนาคารทหารไทย จำกัด(มหาชน)

         7) ธนาคารธนชาต จำกัด (มหาชน)

         8) ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย

         9) ธนาคารซีไอเอ็มบีไทย จำกัด(มหาชน)

        10) ธนาคารออมสิน

        11) ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรห์การเกษตร (ธ.ก.ส.)

 ขั้นตอนการขอรับประโยชน์ทดแทน

หลักเกณฑ์ที่จะทำให้ท่านมีสิทธิ คือ

    -  ผู้ประกันตน/ทายาทผู้มีสิทธิ ต้องกรอกแบบ สปส. 2-01 พร้อมลงลายมือชื่อและนำมายื่นที่ สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/สำนักงานประกันสังคมจังหวัดและสาขา (ยกเว้น สำนักงานใหญ่ในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข)  หรือยื่นขอรับทางไปรษณีย์โดยมีหลักฐานครบถ้วน

    -  เจ้าหน้าที่ตรวจหลักฐานและพิจารณา

    -  สำนักงานประกันสังคมมีหนังสือแจ้งผลการพิจารณา

    -  พิจารณาสั่งจ่าย

เงินสด/เช็ค (ผู้ประกันตน/ผู้มีสิทธิมารับด้วยตนเองหรือมอบอำนาจให้บุคคลอื่นมารับแทน) ส่งธนาณัติให้ผู้ประกันตน โอนเข้าบัญชีธนาคารตามบัญชีของผู้ขอรับประโยชน์ทดแทนหมายเหตุ : เงินบำนาญชราภาพ จ่ายเป็นรายเดือน เงินบำเหน็จชราภาพ จ่ายครั้งเดียว

1. ประโยชน์ทดแทนกรณีบำเหน็จชราภาพ (สำหรับผู้ประกันตนที่จ่ายเงินสมทบกรณีชราภาพไม่ถึง 180 เดือน)

กรณีที่จ่ายเงินสมทบกรณี ชราภาพ ไม่ถึง 12 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพมีจำนวนเท่ากับจำนวนเงินสมทบ ที่ผู้ประกันตนจ่ายสมทบ

ประกันตนอายุ 55 ปี และสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง ขณะส่งเงินสมทบได้ 10 เดือน ประโยชน์ทดแทน

 กรณีบำเหน็จชราภาพจะได้รับ 300 x 10 = 3,000 บาท กรณีที่จ่ายเงินสมทบกรณีชราภาพ ตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพมีจำนวนเท่ากับจำนวนเงินสมทบ ที่ผู้ประกันตนและนายจ้างนำส่งพร้อมผลประโยชน์ตอบแทน ตามที่สำนักงานประกันสังคมประกาศกำหนด

ขั้นตอนการขอรับประโยชน์ทดแทน 

หลักเกณฑ์ที่จะทำให้ท่านมีสิทธิ คือ     

-  ผู้ประกันตน/ทายาทผู้มีสิทธิ ต้องกรอกแบบ สปส. 2-01 พร้อมลงลายมือชื่อและนำมายื่นที่ สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/สำนักงานประกันสังคมจังหวัดและสาขา (ยกเว้น สำนักงานใหญ่ในบริเวณกระทรวงสาธารณสุข)  หรือยื่นขอรับทางไปรษณีย์โดยมีหลักฐานครบถ้วน     

-  เจ้าหน้าที่ตรวจหลักฐานและพิจารณา     

-  สำนักงานประกันสังคมมีหนังสือแจ้งผลการพิจารณา     

-  พิจารณาสั่งจ่าย เงินสด/เช็ค (ผู้ประกันตน/ผู้มีสิทธิมารับด้วยตนเองหรือมอบอำนาจให้บุคคลอื่นมารับแทน) ส่งธนาณัติให้ผู้ประกันตน โอนเข้าบัญชีธนาคารตามบัญชีของผู้ขอรับประโยชน์ทดแทนหมายเหตุ : เงินบำนาญชราภาพ จ่ายเป็นรายเดือน เงินบำเหน็จชราภาพ จ่ายครั้งเดียว 

 1. ประโยชน์ทดแทนกรณีบำเหน็จชราภาพ (สำหรับผู้ประกันตนที่จ่ายเงินสมทบกรณีชราภาพไม่ถึง 180 เดือน) กรณีที่จ่ายเงินสมทบกรณี ชราภาพ ไม่ถึง 12 เดือน จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพมีจำนวนเท่ากับจำนวนเงินสมทบ ที่ผู้ประกันตนจ่ายสมทบ   

  ประกันตนอายุ 55 ปี และสิ้นสภาพการเป็นลูกจ้าง ขณะส่งเงินสมทบได้ 10 เดือน ประโยชน์ทดแทน กรณีบำเหน็จชราภาพจะได้รับ 300 x 10 = 3,000 บาท กรณีที่จ่ายเงินสมทบกรณีชราภาพ ตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพมีจำนวนเท่ากับจำนวนเงินสมทบ ที่ผู้ประกันตนและนายจ้างนำส่งพร้อมผลประโยชน์ตอบแทน ตามที่สำนักงานประกันสังคมประกาศกำหนด   

  ตัวอย่าง ผู้ประกันตนอายุ 55 ปี สิ้นสุดสภาพการเป็นลูกจ้างวันที่ 28 พฤศจิกายน 2547 ยื่นคำขอรับประโยชน์ทดแทน ในวันที่ 10 ธันวาคม 2547 เจ้าหน้าที่วินิจฉัยในวันเดียวกัน โดยมีรายการนำส่งเงินสมทบ กรณีชราภาพของผู้ประกันตน ดังนี้  

ปี

จำนวนเงินสมทบ

นายจ้าง

ผู้ประกันตน

รวม

2542

850

850

1,700

2543

1,550

1,550

3,100

2544

2,300

2,300

4,600

2545

3,200

3,200

6,400

2546

4,100

4,100

8,200

2547

2,800

2,800

5,600

รวม

14,800

14,800

29,600

วิธีคำนวณผลประโยชน์ตอบแทน

ปี

เงินสมทบ

เงินสมทบสะสม x อัตรา

ผลประโยชน์ตอบแทน

2542

1,700

1,700 x 2.4%

= 40.80

2543

3,100

(1,700 + 3,100 = 4,800 ) x 3.7%

= 177.60

2544

4,600

(4,800 + 4,600 = 9,400) x 4.2%

= 394.80

2545

6,400

(9,400 + 6,400 = 15,800) x 4.3%

= 679.40

2546

8,200

(15,800 + 8,200 = 24,000) x 6.5%

= 1,560.00

2547

5,600

(24,000 + 5,600 = 29,600) x 2.00% x 11/12

=  542.67

รวม

3,395.27

 หมายเหตุ 11/12 หมายถึง ผู้ประกันตนนำส่งเงินสมทบมาแค่ 11 เดือน ภายใน 1 ปี เงินบำเหน็จชราภาพและผลประโยชน์ตอบแทนที่ผู้ประกันตนจะได้รับ คือ 29,600 + 3,395.27 = 32,995.27บาท

3. ประโยชน์ทดแทนกรณีบำนาญชราภาพ

(สำหรับ ผู้ประกันตนที่จ่ายเงินสมทบกรณีชราภาพ มาแล้วไม่น้อยกว่า 180 เดือน ครบอายุ 55 ปี และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลงจะได้รับเงินบำนาญชราภาพ ในอัตราร้อยละ 20 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย)

ตัวอย่างที่ 1

20% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย

=

20 x 13.000  100

= 2,600

ผู้ประกันตนจะได้รับเงินบำนาญชราภาพเดือนละ 2,600 บาท ไปจนตลอดชีวิต

การหาค่าเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย คือ นำค่าจ้าง 60 เดือนสุดท้าย รวมกันแล้วหารด้วย 60

ค่าจ้างเฉลี่ย = ผลรวมของค่าจ้าง 60 เดือน  จำนวนเดือน (60 เดือน)

กรณีที่จ่ายเงิน สมทบเกิน 180 เดือน ให้ปรับเพิ่มอัตราเงินบำนาญชราภาพขึ้นอีกในอัตราร้อยละ 1.5 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบครบทุก 12 เดือน สำหรับระยะเวลาที่จ่ายเงินสมทบเกิน 180 เดือน

เช่น จ่ายเงินสมทบมาได้ 193 เดือน จะได้รับเงินบำนาญชราภาพในอัตรา 21.5% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือน สุดท้าย เป็นต้น

ตัวอย่างที่  2  ตัวอย่างเช่น ผู้ประกันตนทำงานได้รับเงินค่าจ้างเดือนละ 15,000 บาท มาตลอด และส่งเงินสมทบมาแล้ว 20 ปี อายุครบ 55    ปีบริบูรณ์  และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง จะได้รับเงินบำนาญชราภาพเดือนละเท่าใด และหากเสียชีวิตภายใน 5 ปี จะได้รับเงินหรือไม่อย่างไร                    

1. ผู้ประกันตนจะได้รับเงินบำนาญ               

=  15 ปี (แรก) ได้อัตราเงินบำนาญ 20%               

=  5 ปี (หลัง) ได้อัตราเงินบำนาญ (1.5% (ปรับเพิ่ม) × 5ปี ) 

= 7.5%               

รวมอัตราเงินบำนาญ 20 ปี 

= 20% + 7.5% = 27.5%               ผู้ประกันตนจะได้รับเงินบำนาญรายเดือน 

= 27.5% ของ 15,000 บาท                                                               

= 4,125 บาท/เดือนจนตลอดชีวิต             

2. กรณีผู้ประกันตนที่ได้รับเงินบำนาญชราภาพเสียชีวิตภายใน 5 ปี ทายาทผู้มีสิทธิ จะได้รับเงินบำเหน็จชราภาพจำนวน 10 เท่าของเงินบำนาญรายเดือน               

= 4,125 บาท  × 10 เท่า               

= 41,250 บาท            

ดังนั้น จะเห็นได้ว่าการจ่ายเงินสมทบรายเดือนกับกองทุนประกันสังคมนั้นมิได้สูญเปล่า เพราะนอกจากจะได้รับสิทธิประโยชน์ระหว่าง  การทำงานมากมายแล้ว เมื่อถึงวัยเกษียณก็ยังคง อุ่นใจได้ว่ามีเงินออมชราภาพไว้เป็นหลักประกัน