เฉลย แบบฝึกหัด ประวัติศาสตร์ ป.4 อ จ ท

รวมใบงานแบบฝึกหัดประวัติศาสตร์ ป.4 โดยในแบบฝึกหัดนี้จะช่วยเสริมสร้างความรู้ด้านประวัติศาสตร์ชาติต่อยอดจากเรื่องที่เรียนมาในหลักสูตร ให้เด็กได้ทบทวนจากแบบฝึกหัดหลักไปในตัว โดยจะได้เรียนรู้อดีตของชาติ เพื่อนบ้านในอาเซียน ฯลฯ และตามหัวข้อในการเรียนต่างๆ ตามการศึกษาขั้นพื้นฐาน ภายในแบบฝึกหัดมีภาพประกอบ ให้เด็กๆ สื่อสารออกมาได้ง่ายขึ้น และให้ตัวเด็กความสนุกในการทำแบบฝึกหัดเพิ่มขึ้น

***ข้อสอบประวัติศาสตร์ ป.4***
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วิธีการและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
    • เรื่องที่ 1 วิธีการและหลักฐานทางประวัติศาสตร์
    • เรื่องที่ 2 ช่วงเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การตั้งถิ่นญานและพัฒนาการของมนุษย์ในดินแดนไทย
    • เรื่องที่ 1 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนประเทศไทยในอดีต
    • เรื่องที่ 2 การสร้างอาณาจักรในดินแดนไทยในอดีต
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาณาจักรสุโขทัย
    • เรื่องที่ 1 อาณาจักรสุโขทัย
    • เรื่องที่ 2 บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย
    • เรื่องที่ 3 ภูมิปัญญาในสมัยสุโขทัย



***แบบทดสอบท้ายบทเรียน - วิชาประวัติศาสตร์ ป.4 (ชุดที่ 4)***
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วิธีการและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การตั้งถิ่นฐาน และพัฒนาการของมนุษย์ในดินแดนไทย
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาณาจักรสุโขทัย


***แบบทดสอบท้ายบทเรีย - วิชาประวัติศาสตร์ ป.4 (ชุดที่ 3)***
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วิธีการและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 การตั้งถิ่นฐาน และพัฒนาการของมนุษย์ในดินแดนไทย
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 อาณาจักรสุโขทัย




***แบบทดสอบท้ายบทเรีย - วิชาประวัติศาสตร์ ป.4 (ชุดที่ 2)***
  • บทที่ 1 ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์
  • บทที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
  • บทที่ 3 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ การศึกษาประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
  • บทที่ 4 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
  • บทที่ 5 พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย
  • บทที่ 6 บุคคสำคัญ และภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย





***แบบทดสอบท้ายบทเรีย - วิชาประวัติศาสตร์ ป.4 (ชุดที่ 1)***
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การนับเวลาทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักฐานทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การสถาปนาอาณาจักรไทย
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 บุคคลสำคัญของไทย






***ข้อสอบประจำหน่วยการเรียนรู้ - วิชาประวัติศาสตร์ ป.4***

  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ช่วงเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 หลักฐานทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การตั้งถิ่นฐานในดินแดนไทย
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พัฒนาการของอาณาจักรสุโขทัย
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย


***แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ป.4 (วิชาประวัติศาสตร์)***
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลา ช่วงเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 หลักฐานทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การตั้งถิ่นฐานและการดำรงชีวิตของมนุษย์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พัฒนาการของมนุษย์สมัยประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 พัฒนาการของสมัยสุโขทัย
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 บุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 ภูมิปัญญาสมัยสุโขทัย




***ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.4 (ปลายภาค) - วิชาประวัติศาสตร์***

  • ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.4 ประวัติศาสตร์ (ปลายภาค) - ชุดที่ 1
  • ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.4 ประวัติศาสตร์ (ปลายภาค) - ชุดที่ 2
  • ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.4 ประวัติศาสตร์ (ปลายภาค) - เฉลย



***ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.4 - วิชาประวัติศาสตร์***

  • ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.4 ประวัติศาสตร์ หน่วยที่ 1 ยุคสมัยและวิธีการทางประวัติศาสตร์
  • ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.4 ประวัติศาสตร์ หน่วยที่ 2 พัฒนาการมนุษยชาติ
  • ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.4 ประวัติศาสตร์ หน่วยที่ 3 ชาติไทย
  • ข้อสอบมาตรฐานชั้น ป.4 ประวัติศาสตร์ (เฉลย)






หนว่ ยกำรเรยี นร้ทู ่ี ๑ หนว่ ยกำรเรียนรทู้ ่ี ๒ ประวตั ิศาสตร์ ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ ๔ กล่มุ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม หนว่ ยกำรเรยี นรทู้ ี่ ๓ ๑_หลักสตู รวิชาประวัตศิ าสตร์ ๒_แผนการจดั การเรยี นรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_ใบงาน_เฉลย ๕_ข้อสอบประจาหนว่ ย_เฉลย ๖_ข้อสอบ_เฉลย ๗_การวดั และประเมินผล ๘_เสรมิ สาระ ๙_ส่ือเสริมการเรียนรู้ บรษิ ัท อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศพั ท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 [email protected] / www.aksorn.com

๑หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ เวลาและเหตกุ ารณ์ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑. สำมำรถนับชว่ งเวลำเปน็ ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษได้ ๒. อธบิ ำยยุคสมยั ในกำรศกึ ษำประวัตขิ องมนษุ ยชำติโดยสงั เขปได้ ๓. แยกแยะประเภทหลกั ฐำนทใี่ ชใ้ นกำรศึกษำประวตั คิ วำมเปน็ มำของท้องถิ่นได้

เวลา ชว่ งเวลา และยคุ สมยั ทางประวัตศิ าสตร์

ความสาคัญ ของเวลากับประวตั ิศาสตร์ ทำให้รู้วำ่ เหตกุ ำรณ์ตำ่ งๆ เกดิ ขึ้นเม่ือใด ทำใหเ้ ข้ำใจควำมสัมพนั ธ์ ของเหตุกำรณไ์ ด้

ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ (๑๐ ปี) (๑๐๐ ป)ี (๑.๐๐๐ปี) ทศวรรษ เวลำในรอบ ๑๐ ปี เริ่มนับจำกปีที่ขน้ึ ต้นดว้ ยเลข ๐ ไปส้ินสดุ ท่ี ๙ ศตวรรษ เวลำในรอบ ๑๐๐ ปี เรมิ่ นบั จำกปที ี่ขึน้ ตน้ ดว้ ยเลข ๑ ไปสิ้นสุดท่ี ๑๐๐ สหสั วรรษ เวลำในรอบ ๑,๐๐๐ ปี

ยคุ สมยั หินเกำ่ หนิ กลำง ทางประวตั ิศาสตร์ หินใหม่ ไมพ่ บตวั อกั ษร สำริด สมยั ก่อนประวตั ศิ ำสตร์ เหล็ก สมัยหิน สมัยโลหะ

พบตัวอกั ษร สมยั ประวตั ิศำสตร์

สมัยก่อนประวตั ิศาสตร์ แบง่ ช่วงเวลำออกเป็นสมัยหนิ กับสมัยโลหะ เกณฑ์กำรแบ่งสมัยขนึ้ อย่กู ับหลกั ฐำนเครือ่ งมอื เครอื่ งใชท้ ่ีค้นพบ สมัยหิน มนษุ ยใ์ ชห้ ินทำเคร่อื งมอื เครือ่ งใช้ สมัยหินเกำ่ • มนษุ ยใ์ นสมยั หินเกำ่ มคี วำมเปน็ อยแู่ บบเรร่ ่อน • อำศยั อย่ตู ำมบรเิ วณถ้ำและเพงิ ผำ • เกบ็ ของป่ำและออกลำ่ สัตว์เป็นอำหำร • เคร่ืองมือหินที่ใช้จะมลี กั ษณะหยำบๆ ใช้ทุบ ตัด หรอื สับ สมยั หินใหม่ • มนษุ ย์ในสมยั หินใหม่เรมิ่ ต้ังหลกั แหลง่ อยรู่ วมกันเปน็ กลุม่ เลก็ ๆ • เร่มิ ทำกำรเพำะปลกู และเลย้ี งสตั ว์ • เครอื่ งมือหินที่ใชม้ ีกำรขดั ให้คม มผี ิวเรยี บ • มีกำรปน้ั ภำชนะดนิ เผำทีม่ กี ำรตกแต่งให้สวยงำมไว้ใช้

สมยั โลหะ มนุษยเ์ ริ่มใชโ้ ลหะทำเปน็ เคร่ืองมือเครอ่ื งใช้ สมยั สำริด • มนุษย์ใช้สำริดทำเปน็ เครือ่ งมอื เคร่อื งใช้และอำวุธ • สำรดิ เปน็ โลหะผสมระหว่ำงทองแดงกับโลหะอืน่ ๆ • มคี วำมก้ำวหน้ำในกำรหลอมโลหะ เครือ่ งมือเคร่ืองใชม้ คี วำม แข็งแรง สมยั เหล็ก • มนุษย์มคี วำมก้ำวหนำ้ ในกำรถลงุ และหลอมเหล็ก • นำเหลก็ มำทำเครอื่ งมือเครอื่ งใชแ้ ละอำวธุ • เครอื่ งมือเหล็กมีควำมทนทำนกว่ำสำรดิ ทำใหก้ ำรเกษตร มีควำมกำ้ วหนำ้ มำกข้ึน มนุษย์สมยั โลหะอยรู่ วมกันเป็นชุมชน ทำกำรล่ำสัตว์ กำรเพำะปลูก มีพธิ กี รรม

สมยั ประวตั ศิ าสตร์ อกั ษรคนู ฟิ อร์ม อกั ษรคนู ฟิ อรม์ เป็นตัวอักษรทค่ี น้ พบวำ่ เก่ำแกท่ ี่สุดของชำวสเุ มเรยี น ในภมู ิภำคตะวันออกกลำง

ศิลำจำรึกเขำน้อย ศลิ าจารกึ เขานอ้ ย หลักฐำนสมัยประวัติศำสตร์ทเี่ กำ่ แก่ทสี่ ุดทพ่ี บใน ดนิ แดนไทย พบท่ี ตำบลคลองนำ้ ใส อำเภออรัญประเทศ จังหวัดสระแก้ว

อกั ษรไฮโรกลฟิ กิ อักษรไฮโรกลิฟิก ประดิษฐ์โดยชำวอยี ปิ ตโ์ บรำณมีลักษณะเปน็ อกั ษร ภำพ ใชส้ ลกั เรอ่ื งรำวเกี่ยวกับองค์ฟำโรห์ รำชวงศ์ และ กิจกรรมอนั เกีย่ วข้องกับกำรปกครองและศำสนำ

ช่วงสมยั สมยั อยุธยา สมัยรัตนโกสนิ ทร์ ของไทย ตงั้ แต่ พ.ศ. ๑๘๙๓ - ๒๓๑๐ ต้ังแต่ พ.ศ. ๒๓๒๕-ปจั จุบัน สมยั อาณาจักรรุ่นแรกๆ นบั ชว่ งเวลำก่อนกำรต้งั อำณำจักรสโุ ขทยั ก่อน พ.ศ. ๑๗๙๒ ๑๗๙๒ ๒๘๙๓ ๒๓๒๕ ๑๕๐๐ ๑๖๐๐ ๑๗๐๐ ๑๘๐๐ ๑๙๐๐ ๒๐๐๐ ๒๑๐๐ ๒๒๐๐ ๒๓๐๐ ๒๔๐๐ ๒๕๐๐ ๑๗๙๒ ๒๓๑๐ พ.ศ. ัปจจุบัน สมัยสโุ ขทัย สมยั ธนบรุ ี ตั้งแต่ พ.ศ. ๑๗๙๒ จนถงึ ตง้ั แต่ พ.ศ. ๒๓๑๐ - ๒๓๒๕ กรุงสโุ ขทัย ถกู รวมเข้ำกับ กรงุ ศรอี ยธุ ยำ ใน พ.ศ. ๒๐๐๖

๑ สมยั รตั นโกสินทร์ตอนตน้ รัชกำลที่ ๑ รชั กำลที่ ๒ รชั กำลท่ี ๓ ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๙๔ อยใู่ นชว่ ง ๓ รชั กำลแรก เป็นชว่ งกำรฟืน้ ฟูอำณำจกั รในด้ำนกำรป้องกนั บ้ำนเมอื ง เศรษฐกิจ ศิลปวัฒนธรรม และพระพทุ ธศำสนำ ๒ สมยั รตั นโกสินทรย์ ุคปรบั ปรงุ และปฏริ ูปประเทศ ตงั้ แต่ พ.ศ. ๒๓๙๔-๒๔๗๕ เปน็ ช่วงทีม่ ีกำรติดต่อกบั ตำ่ งชำติ มกี ำรปรับปรงุ ประเทศใหท้ นั สมัย แบบชำติตะวันตก จนถงึ กำรเปลีย่ นแปลงกำรปกครองเปน็ ระบอบประชำธิปไตย ๓ สมัยประชาธิปไตย ต้งั แต่ พ.ศ. ๒๔๗๕ ถงึ ปัจจุบัน เป็นช่วงที่มีกำรปกครองแบบประชำธปิ ไตย

ชว่ งสมัย ทย่ี ดึ ตามการเปล่ยี นแปลงของบา้ นเมือง พ.ศ. ๒๓๐๐ เริม่ ตน้ สมยั รัตนโกสนิ ทร์ ๒๓๒๕ ๒๔๐๐ ๒๓๙๔ เขำ้ สู่สมัยรัตนโกสนิ ทร์ ยุคปรบั ปรุง และปฏริ ูปประเทศ ๒๔๗๕ เปลย่ี นแปลงสู่สมยั ประชำธปิ ไตย ๒๕๐๐

หลกั ฐานชนั้ ต้น หลักฐำนในช่วงเวลำเดียวกบั เหตุกำรณ์ หรอื เกดิ ในช่วงเวลำนน้ั เช่น บันทึกของผคู้ นท่ีอย่ใู นเหตุกำรณ์ หนงั สือพมิ พ์ รปู ถ่ำย ส่ิงของ เป็นตน้ หลกั ฐานชั้นรอง ลูกปัดโบรำณ พบทบ่ี ำ้ นเชยี ง จังหวดั อดุ รธำนี เคร่อื งปั้นดนิ เผำลำยเขยี นสีแดง พบที่บำ้ นเชยี ง จงั หวดั อดุ รธำนี หลักฐำนที่เขยี นหรือรวบรวมขึน้ ภำยหลงั เหตุกำรณ์ โดยหลกั ฐำนชัน้ รองมีควำมน่ำเชอ่ื ถือนอ้ ยกวำ่ หลักฐำน ช้นั ตน้

หลักฐาน ของท้องถิ่น หลกั ฐำนชน้ั ตน้ หลักฐำนชัน้ รอง

หลกั ฐานชั้นต้นในการค้นควา้ ประวัตคิ วามเป็นมาของท้องถิ่น สถานท่สี าคญั ในท้องถ่นิ รูปถ่าย ภำพถ่ำยคลองบำงลำพใู นกรงุ เทพฯ สมัยรัชกำลท่ี ๕ หนงั สอื พิมพ์ สง่ิ ของตา่ งๆ พพิ ิธภัณฑ์วัดม่วง จงั หวดั รำชบรุ ี มัสยิดกลำง จังหวัดปตั ตำนี

หลกั ฐานชน้ั รองในการค้นคว้าประวตั คิ วามเป็นมาของท้องถ่นิ ตานาน เรือ่ งเล่ำตอ่ ๆ กนั มำ เร่ืองรำวเปลีย่ นแปลงไปตำมกำรแตง่ เตมิ หรอื ตำมควำมทรงจำของผู้เลำ่ หนงั สือ บำงตำนำนอำจถกู บันทึกเปน็ ลำยลกั ษณ์อกั ษรหลังกำรแต่งขนึ้ ไม่มกี ำรระบุช่วงเวลำทีแ่ นน่ อน เรอื่ งทอี่ ยู่ในตำนำนมักมเี รื่องของสงิ่ เหนอื ธรรมชำติ ไม่ควรเชื่อเร่ืองรำวทั้งหมดที่เกิดในตำนำน มที ้งั ทีเ่ ขยี นโดยหน่วยงำนรำชกำรและบคุ คลทัว่ ไป หนงั สือเก่ียวกบั ทอ้ งถ่ินทำใหเ้ รำสำมำรถคน้ ควำ้ ได้สะดวก

๒หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี การตงั้ ถน่ิ ฐาน และการดารงชวี ิตของมนษุ ย์ในดินแดนไทย จุดประสงค์การเรยี นรู้ ๑. อธบิ ำยกำรตง้ั หลกั แหล่งและพัฒนำกำรของมนุษยย์ ุคก่อนประวตั ิศำสตร์ และยุคประวัตศิ ำสตรโ์ ดยสังเขปได้ ๒. ยกตัวอยำ่ งหลกั ฐำนทำงประวตั ศิ ำสตรท์ ่พี บในท้องถิ่นทแี่ สดงพฒั นำกำรของมนษุ ยชำตใิ นดนิ แดนไทยได้

การตั้งถ่นิ ฐานของมนษุ ย์

ปจั จยั ท่มี ผี ลตอ่ การ ตั้งถิน่ ฐานของมนุษย์ ขนึ้ อยกู่ ับสภำพแวดล้อมทำงภมู ศิ ำสตร์ เรร่ ่อนไปตำมแหลง่ อำหำร ในอดีต มนุษย์รู้จกั เพำะปลูก มนษุ ยม์ ีกำรพัฒนำ มีกำรแลกเปลี่ยน เลยี้ งสัตว์ สร้ำงทพ่ี กั ในด้ำนชีวติ ควำมเป็น ผลผลติ กบั ชุมชน รอผลผลิต เริ่มอยู่ อยู่ เพรำะตอ้ งรอคอย ใกล้เคียง พฒั นำ เป็นหลักแหลง่ รวมกัน ผลผลิตนำนหลำย เป็นบ้ำนเมือง เป็นกลุ่ม เดอื น

แหล่งชมุ ชนสมยั กอ่ นประวตั ศิ าสตร์ ในดินแดนไทย ชุมชนสมัยหินเก่า ชุมชนสมยั หนิ ใหม่ อยู่รวมกันเปน็ กลุม่ เล็กๆ เริ่มรจู้ ักตัง้ บ้ำนเรือนอยตู่ ำมรมิ แมน่ ำ้ ทีน่ ำ้ ทว่ มไม่ถงึ อำศยั ตำมถ้ำ เพงิ ผำ ใชห้ นิ เป็นเครอ่ื งมอื หลกั รู้จักเลย้ี งสตั ว์ เพำะปลกู ทอผ้ำ ฝงั ศพ ชุมชนสมัยสารดิ ชมุ ชนสมยั เหล็ก มคี วำมก้ำวหนำ้ ด้ำนกำรนำโลหะ (สำรดิ ) เป็นชมุ ชนเกษตรขนำดใหญ่ เพรำะกำร มำทำเครอื่ งมอื เคร่อื งใช้ รู้จกั นำเหล็กมำหลอมเป็นเครอื่ งใช้ ทำให้ กำรหักร้ำงถำงป่ำงำ่ ยขึ้น

ชุมชนสมยั หินเก่า ภาคตะวันออกเฉยี งเหนอื ภาคเหนอื • พบเครอื่ งมือหนิ ในเขตอำเภอเชยี งคำน จงั หวดั เลย และทีอ่ ำเภอดอนตำล จงั หวัดมุกดำหำร • พบเครื่องมือหินท่เี ปน็ เคร่อื งมือขุด สับ บรเิ วณ แมน่ ้ำโขง เขตอำเภอเชียงแสง จังหวดั เชียงรำย ภาคใต้ • พบถัง่ ชนิดต่ำงๆ ท่ผี แี มน อำเภอปำงมะผ้ำ • พบเครื่องมอื หนิ ทถ่ี ้ำหลังโรงเรยี นบ้ำนทับปริก และถ้ำปงุ ฮงุ อำเภอเมอื ง จงั หวัดแม่ฮอ่ งสอน จงั หวัดกระบ่ี จงั หวดั พงั งำ และทจี่ ังหวัดนครศรีธรรมรำช ภาคกลาง • พบเครอ่ื งมือหนิ กะเทำะทบ่ี ้ำนเกำ่ ตำบล จระเข้เผอื ก อำเภอเมอื ง จงั หวัดกำญจนบรุ ี • พบโครงกระดูกมนุษยส์ มัยหินท่ีถ้ำพระ เขตอำเภอไทรโยค จงั หวัดกำญจนบุรี

ชุมชนสมัยหินใหม่ ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนอื ภาคเหนือ • พบหลกั ฐำนในกำรเพำะปลกู เลย้ี งสตั ว์ ทำภำชนะดนิ เผำ และทอผ้ำในหลำยพนื้ ท่ี เช่น • พบเครอื่ งมอื หินที่แสดงว่ำ มนษุ ยอ์ ยู่ ทีบ่ ำ้ นเชียง อำเภอหนองหำน จังหวัดอุดรธำนี ตอ่ เนอ่ื งกันมำตั้งแต่สมยั หนิ เกำ่ ทล่ี ่มุ แมน่ ้ำ เขตจังหวัดแมฮ่ อ่ งสอน เชยี งใหม่ ลำปำง ภาคใต้ น่ำน เปน็ ตน้ • พบภำชนะหมอ้ ๓ ขำ ขวำนหนิ ขัด ท่ีจังหวดั กระบี่ ภาคกลาง และพงั งำ • พบเครอื่ งมอื หนิ เครอ่ื งป้นั ดนิ เผำเครื่องประดับ ทบี่ ้ำนเกำ่ จงั หวดั กำญจนบุรี ท่ีถ้ำพระ ในเขต อำเภอไทรโยค จังหวดั กำญจนบุรี และบริเวณ รมิ แม่น้ำแควน้อย แควใหญ่ จังหวัดกำญจนบุรี • พบร่องรอยกำรตั้งชมุ ชนและขุดพบเนนิ หอย ทีบ่ ้ำนโคกพนมดี อำเภอพนสั นคิ ม จงั หวัดชลบรุ ี

ชมุ ชนสมัยสารดิ ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ • พบหลักฐำนท่ใี ช้ในกำรเพำะปลูก เลี้ยงสัตว์ ทำภำชนะดินเผำ ทอผ้ำ โดยพบใยของผำ้ • พบเคร่อื งมือเครือ่ งใชส้ มยั สำริดในเขต ทท่ี ำจำกใยกญั ชำและกำรทำสำริดในหลำย จงั หวดั แม่ฮ่องสอน เชียงรำย เชียงใหม่ พน้ื ท่ี เชน่ ท่ีบำ้ นเชยี ง อำเภอหนองหำน นำ่ น เปน็ ตน้ บ้ำนนำดี จงั หวัดอดุ รธำนี บำ้ นโนนนกทำ อำเภอภูเวียง จังหวัดขอนแก่น ภาคกลาง ภาคใต้ • พบร่องรอยชมุ ชนสมยั สำริดทีบ่ ำ้ นเก่ำ และบ้ำนดอนตำเพชร อำเภอพนมทวน • พบรอ่ งรอยของชุมชนบรเิ วณอ่ำวรมิ ทะเล จังหวัดกำญจนบุรี บำ้ นโคกพนมดี ทจี่ ังหวดั สงขลำ กระบี่ พงั งำ เป็นต้น จงั หวดั ชลบุรี และท่ีจงั หวดั ลพบรุ ี • พบขวำนหินขดั หมอ้ ดนิ เผำ กลองมโหระทกึ ทคี่ ลำ้ ยกับชมุ ชนอื่นนอกดินแดนไทย

ชุมชนสมัยเหล็ก ภาคตะวนั ออกเฉยี งเหนือ ภาคเหนอื • พบหลักฐำนในกำรเพำะปลกู เลย้ี งสตั ว์ ทำภำชนะ ดินเผำ ทอผำ้ ในหลำยพน้ื ที่ เช่น ท่บี ้ำนเชียง • พบเคร่ืองมือเหลก็ และโครงกระดูกมนุษย์ อำเภอหนองหำน จงั หวดั อดุ รธำนี สมัยเหล็กตำมชุมชนโบรำณในลุ่มแม่น้ำต่ำงๆ ในเขตจังหวดั ลำพนู เชยี งใหม่ แม่ฮ่องสอน ภาคใต้ น่ำน เปน็ ตน้ • ค้นพบรอ่ งรอยชุมชนในสมยั เหล็กทบ่ี ริเวณอำเภอ ภาคกลาง คลองท่อม จงั หวดั กระบี่ นอกจำกนย้ี งั พบที่ จงั หวัดพงั งำ จงั หวดั สงขลำ เป็นตน้ • พบรอ่ งรอยชมุ ชนที่มกี ำรใชเ้ หล็กและรอ่ งรอยถลุง เหล็กทีบ่ ำ้ นดอนตำเพชร อำเภอพนมทวน จังหวัดกำญจนบรุ ี บ้ำนหลุมขำ้ ว เนนิ มะกอก อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี

พัฒนาการของชมุ ชน สมยั ก่อนประวัติศาสตร์ ชมุ ชนก่อนประวัตศิ าสตรม์ ีพัฒนาการต่อเนอื่ งกนั มาเป็นระยะ สมยั หินเก่า สมยั หนิ ใหมจ่ นถึงสมยั สาริด มนษุ ย์มคี วำมเป็นอย่อู ย่ำงงำ่ ยๆ อำศยั อยู่ มนุษย์เรมิ่ รจู้ กั เพำะปลูกเลีย้ งสตั ว์ มีกำร ตำมถ้ำและเพิงผำ เลี้ยงชีพด้วยกำรเก็บของ สร้ำงบ้ำนอยู่อำศัยและมีระเบยี บแบบแผน ป่ำ ล่ำสัตว์ และใช้หินทำเป็นเครื่องมือ ในกำรใชช้ ีวติ มำกขึ้น เช่น มพี ธิ ีกรรมในกำร เพอ่ื หำอำหำร ลำ่ สัตว์ ฝังศพ มผี ้นู ำชมุ ชน มีกำรนำใยพืชมำทอ เป็นผ้ำ ทำลวดลำยลงบนเครือ่ งป้นั ดนิ เผำ และร้จู ักนำโลหะ เชน่ สำรดิ เหลก็ มำทำ เครือ่ งมือเครอ่ื งใช้ และมีกำรตดิ ต่อกบั ชุมชน อนื่ เพอ่ื แลกเปล่ยี นส่ิงของจำเปน็ ในชีวติ

ชมุ ชนในแตล่ ะแห่งมีพฒั นาการที่แตกตา่ งกัน จำกหลกั ฐำนทค่ี น้ พบแสดงวำ่ ชุมชนแตล่ ะแหง่ มีพฒั นำกำรทต่ี ่ำงกนั ดงั ตวั อยา่ ง ชมุ ชนทใ่ี ชเ้ ครอ่ื งมอื เหลก็ ชมุ ชนทไ่ี มไ่ ดใ้ ช้เครอื่ งมือเหลก็ มพี ฒั นำกำร มำกกวำ่

ชมุ ชนมีขนาดใหญข่ ้นึ และมีการติดต่อกับชุมชนภายนอก จำกหลุมฝงั ศพท่ีได้ขุดพบในแหลง่ โบรำณคดี สมัยหลงั มโี ครงกระดูกมนษุ ย์ฝงั อยู่ จงึ อำจเปน็ ไปได้วำ่ แหลง่ โบรำณคดีหลำยๆ แห่งมีควำมคลำ้ ยคลงึ กัน พบของท่มี าจากตา่ งแดน แสดงวำ่ มกี ำรติดตอ่ กบั ชุมชนภำยนอก ทำใหไ้ ดร้ บั วธิ ีกำรทำหรือมีกำรซอ้ื ขำย แลกเปล่ียนสงิ่ ของเครื่องใชจ้ ำกชมุ ชนต่ำงถน่ิ

ชมุ ชนทอ้ งถ่นิ ไดร้ บั ความเจริญจากภายนอก และได้พฒั นาความก้าวหนา้ ดา้ นต่างๆ จำกอำยหุ ลักฐำนแสดงว่ำชมุ ชนบ้ำนเชยี ง จงั หวดั อดุ รธำนี ได้ใชส้ ำริดก่อนท่อี ื่นๆ ตอ่ มำเคร่อื งมอื สำรดิ ไดก้ ระจำยไปยงั ชุมชนใกลเ้ คยี ง จงึ สนั นิษฐำนวำ่ ชมุ ชนอื่นไดร้ ับกำรใชส้ ำริดจำกชมุ ชนบำ้ นเชียง และแสดงถงึ ควำมก้ำวหนำ้ ในกำร ดำรงชีวติ นอกจำกน้ีส่ิงของจำกอนิ เดยี เช่น ภำชนะใช้ประกอบในพธิ กี รรมทำงศำสนำ ท่ีพบที่ชุมชนบ้ำนดอนตำเพชร ในจงั หวดั กำญจนบุรี แสดงวำ่ ชมุ ชนทอ้ งถิ่นไดร้ ับคตคิ วำมเช่อื ทำงศำสนำจำกอนิ เดียมำตง้ั แตส่ มัยก่อนประวตั ศิ ำสตร์แลว้

ชมุ ชนสมยั ก่อนประวตั ศิ ำสตรห์ ลำยแห่งในภมู ภิ ำคตำ่ งๆ ได้มีควำมเจรญิ ตอ่ เน่ืองจนเข้ำสสู่ มัยประวตั ศิ ำสตร์ สมัยประวตั ิศาสตร์ เปน็ สมยั ท่ีชมุ ชนนั้นมีตวั อักษรบันทกึ เรอื่ งรำวหลกั ฐำนตวั หนงั สือท่เี กำ่ แก่ ท่ีสุดเท่ำท่พี บบนดนิ แดนไทยจนถงึ ปจั จบุ ัน คอื ศลิ ำจำรกึ ที่ปรำสำท เขำนอ้ ย จังหวดั สระแกว้ ระบุ พทุ ธศกั รำชเทำ่ กบั พ.ศ. ๑๑๘๐

พฒั นาการของมนษุ ย์สมยั ประวตั ิศาสตร์ในดนิ แดนไทย

แคว้นโบราณสมัยประวัตศิ าสตร์ ในดินแดนไทย

แคว้นโบราณสมัยประวัตศิ าสตร์ในดนิ แดนไทย แควน้ โยนก อำณำจกั รขอมหรอื เขมรโบรำณ เจดยี ์เหล่ียม (ก่คู ำ) ที่เวยี งกมุ กำม มีศนู ยก์ ลำงอยทู่ บ่ี รเิ วณเมืองพระนคร ประเทศกัมพชู ำปจั จุบนั จงั หวดั เชียงใหม่ และได้ขยำยอำนำจบริเวณปำกแมน่ ำ้ โขง ผู้ก่อต้ังแควน้ โยนกได้อพยพมำจำกภำคใตข้ องจนี มำสรำ้ ง เมอื งเงนิ ยำงเชยี งแสน ภำคตะวนั ออกเฉียงเหนือ และภำคกลำงของไทย แควน้ หรภิ ุญชัย แคว้นละโว้ พระธำตหุ รภิ ญุ ชัย จงั หวัดลำพูน พระปรำงค์สำมยอด จังหวดั ลพบุรี มศี นู ยก์ ลำงอยูท่ ่เี มืองหริภุญชยั หรอื ลำพูน มศี ูนย์กลำงอยู่ท่เี มืองละโว้ หรือลพบุรี แคว้นตำมพรลิงค์ แควน้ ทวำรวดี พระบรมธำตุวัดมหำธำตุวรมหำวหิ ำร พระปฐมเจดีย์ จังหวดั นครปฐม จงั หวัดนครศรธี รรมรำช สนั นิษฐำนวำ่ ศูนยก์ ลำงของแคว้นทวำรวดอี ยู่บรเิ วณลมุ่ แม่น้ำเจำ้ พระยำตอนล่ำง มีศูนย์กลำงอยทู่ ่ีจังหวดั นครศรธี รรมรำช โดยเมอื งนจ้ี ดั เปน็ ศูนย์กลำงของกำรตดิ ตอ่ จำกภำยนอก พบรอ่ งรอยเมอื งโบรำณกระจำยอยทู่ ว่ั ไปในภำคกลำง แควน้ ลังกำสกุ ะ ซำกเมืองโบรำณ อำเภอยะรงั จงั หวดั ปัตตำนี สนั นษิ ฐำนวำ่ มีศนู ยก์ ลำงอย่บู รเิ วณเมอื งปัตตำนี บนั ทกึ ของจีน ระบุว่ำ อำณำจักรน้ีมีกษตั รยิ ป์ กครอง

แควน้ โบราณ (พทุ ธศตวรรษที่ ๑๑-๑๙) ปรำสำทหินพมิ ำย สมยั ประวตั ศิ าสตร์ในดินแดนไทย จงั หวดั นครรำชสมี ำ เปน็ หลักฐำนของอำณำจกั รขอม (พุทธศตวรรษท่ี ๑๓-๑๙) พระธำตหุ ริภุญชยั (พุทธศตวรรษท่ี ๑๒-๑๙) จังหวดั ลำพูน พระปรำงคส์ ำมยอด เปน็ หลักฐำนของอำณำจกั รหรภิ ญุ ชยั จังหวดั ลพบุรี เปน็ หลกั ฐำนของอำณำจกั รละโว้ (พทุ ธศตวรรษที่ ๑๓-๑๘) พระบรมธำตุ (พุทธศตวรรษท่ี ๑๑-๑๖) วัดมหำธำตวุ รมหำวิหำร พระปฐมเจดยี ์ จังหวัดนครศรีธรรมรำช จงั หวดั นครปฐม เปน็ หลักฐำนของอำณำจกั ร เป็นหลกั ฐำนของอำณำจกั รทวำรวดี ตำมพรลงิ ค์

๓หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ความเปน็ มาของชาตไิ ทย จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. อธบิ ำยพัฒนำกำรของอำณำจักรสโุ ขทยั โดยสังเขปได้ ๒. บอกประวัตแิ ละผลงำนของบคุ คลสำคัญสมัยสุโขทัยได้ ๓. อธิบำยภมู ปิ ญั ญำไทยท่สี ำคญั สมยั สโุ ขทัยท่ีนำ่ ภำคภูมใิ จและควรค่ำแก่กำรอนุรกั ษ์ได้

ชาตไิ ทย

การต้ังอาณาจักร • กอ่ นกำรสถำปนำอำณำจกั รสุโขทัยขึ้นดนิ แดนในแถบน้ี เคยถูกอำณำจักรเขมรโบรำณซง่ึ มคี วำมยงิ่ ใหญ่ ไดข้ ยำย สโุ ขทัย อิทธิพลเขำ้ มำปกครองชมุ ชนหลำยแหง่ ในบรเิ วณนี้ วดั พระศรีรตั นมหำธำตุเชลยี ง ตำนำนเรอ่ื งพระร่วงสง่ สว่ ยนำ้ ใหเ้ ขมร ทีอ่ ำเภอศรีสัชนำลยั จังหวดั สโุ ขทยั โบรำณสถำนศิลปะเขมรซง่ึ สรำ้ งก่อนสมยั สโุ ขทยั • พุทธศตวรรษที่ ๑๘ พ่อขุนผำเมืองและพอ่ ขนุ บำงกลำงหำวร่วมมอื กนั ขบั ไล่ อำนำจของเขมรออกไปไดส้ ำเรจ็ พ่อขุนผำเมอื งสถำปนำและพ่อขนุ บำงกลำงหำวเปน็ กษัตริย์ ครองกรงุ สโุ ขทัย มีพระนำมวำ่ พ่อขุนศรีอินทรำทิตย์ นับเปน็ กษัตรยิ ์พระองค์แรกแหง่ รำชวงศ์พระร่วง

พระมหากษัตรยิ ์ สมัยสโุ ขทัย ลาดบั พระนาม ปคี รองราชย์ ๑ พ่อขนุ ศรอี ินทรำทติ ย์ รำว พ.ศ. ๑๗๙๒-ปใี ดไมป่ รำกฏ ๒ ปีใดไมป่ รำกฏ ถึง-๑๘๒๒ ๓ พอ่ ขนุ บำนเมือง พ.ศ. ๑๘๒๒-๑๘๔๑ ๔ พ.ศ. ๑๘๔๑-ปใี ดไม่ปรำกฏ ๕ พ่อขนุ รำมคำแหงมหำรำช ปใี ดไม่ปรำกฏ-๑๘๙๐ ๖ พระยำเลอไทย พ.ศ. ๑๘๙๐-๑๙๑๑ ๗ พ.ศ. ๑๙๑๑-๑๙๔๒ พระยำงว่ั นำถม ๘ พ.ศ. ๑๙๔๒-๑๙๖๒ พระมหำธรรมรำชำท่ี ๑ (พระยำลไิ ทย) ๙ พระมหำธรรมรำชำที่ ๒ พ.ศ. ๑๙๖๒-๑๙๘๑ พระมหำธรรมรำชำที่ ๓ (พระยำไสลอื ไทย หรอื ไสลไิ ทย) พระมหำธรรมรำชำท่ี ๔ (บรมปำล) ครองเมอื งพษิ ณโุ ลกซ่งึ เป็นเมอื ง หลวงของอำณำจกั รสโุ ขทยั ขณะนั้น

พฒั นาการ ดา้ นการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ ด้านการเมืองการปกครองในสุโขทยั การสร้างความมัน่ คงของสโุ ขทยั ในระยะแรก กรุงสโุ ขทยั ยังมดี นิ แดนไม่กว้ำงใหญ่มำกนัก และต้องทำสงครำมกับอำณำจกั รใกลเ้ คยี งเพอ่ื ขยำยอำนำจ เชน่ ขุนสำมชนเจ้ำเมอื งฉอด ไดย้ กทัพมำตเี มืองตำกของสุโขทยั ในกำรรบน้พี ระโอรสองค์เล็กของพอ่ ขนุ ศรีอนิ ทรำทติ ย์ ชนช้ำงเอำชนะขุนสำมชนได้พอ่ ขนุ ศรีอินทรำทติ ย์ทรงตง้ั ชอ่ื ใหท้ ่ำนว่ำ “พระรามคาแหง” หมำยถงึ รำมผกู้ ลำ้ หำญ

ในสมยั ของพอ่ ขนุ รำมคำแหง สโุ ขทยั มอี ำนำจมนั่ คงและขยำยดินแดนได้กว้ำงขวำง โดยพระองค์ใช้วิธี ผูกมติ รกบั เพ่อื นบ้ำนดว้ ยกำรสง่ ทตู ไปจีน และกำรทำสงครำม สุโขทัย มอญ พะเยำ ผูกมติ ร ล้ำนนำ ล้ำนนำ พะเยำ นครศรีธรรมรำช มอญ สโุ ขทัย นครศรธี รรมรำช

สถานะของผ้ปู กครองในสมยั สโุ ขทัย ในระยะแรกกรงุ สโุ ขทยั ยังมดี ินแดนไม่กวำ้ งใหญ่ ประชำชนมีนอ้ ย ทำให้ผปู้ กครองสุโขทยั มีควำมใกล้ชิดกับประชำชน เปรียบเหมอื นพ่อกบั ลกู ผ้ปู กครองเรยี กพอ่ ขนุ ประชำชน ศิลำจำรกึ หลกั ท่ี ๑ หรอื ศลิ ำจำรกึ พอ่ ขุนรำมคำแหง กลำ่ วถงึ วธิ ที ่พี ่อขุนรำมคำแหง ทรงใชเ้ พือ่ ใหเ้ กิดควำมสงบสขุ แก่รำษฎร

๑ เมืองหลวง รปู แบบการปกครองในสมยั สโุ ขทยั • เปน็ ศูนยก์ ลำงกำรปกครอง และเป็นศนู ยก์ ลำงวฒั นธรรม ๒ เมอื งลกู หลวง • เป็นเมืองทีบ่ รรดำลกู หลวงออกไปปกครอง ทำหน้ำท่เี ปน็ เมอื งหนำ้ ดำ่ น เป็นที่สะสมเสบยี งอำหำรและกำลังคน เมอื งลกู หลวงประกอบดว้ ย เหนอื เมอื งศรีสชั นำลยั เมอื งสระหลวง ตก ออก เมืองสองแคว (พษิ ณุโลก) เมอื งชำกังรำว (กำแพงเพชร) ใต้

๓ เมอื งพระมหานคร • เป็นเมอื งทต่ี ง้ั อย่หู ่ำงจำกเมืองลกู หลวงออกไป เมืองหลวงอำจส่งคนไป เปน็ เจ้ำเมอื งหรือเปน็ เชื้อสำยของเจำ้ เมืองเดมิ • มอี ำนำจปกครองตนเองแตข่ ้ึนตรงต่อสุโขทยั ๔ เมืองออกหรือเมืองประเทศราช • เปน็ เมืองท่ีมีกษัตริย์ของตนปกครอง แตย่ อมอ่อนน้อมต่อสุโขทยั ดว้ ยกำรถวำยเครอ่ื งบรรณำกำร เมอื งประเทศรำชอยู่หำ่ งไกลจำก เมืองหลวง

ราษฎรในสมยั สุโขทยั มอี ิสระในกำรดำรงชีวิตและกำรประกอบอำชพี ศิลำจำรึกหลักท่ี ๑ ระบวุ ำ่ “ใครจกั ใคร่ค้าชา้ ง ค้า ใครจักใคร่ค้ามา้ คา้ ใครจักใคร่คา้ เงนิ คา้ ทอง คา้ ” ประชำชนตอ้ งอยภู่ ำยใตก้ ำรปกครองทมี่ ีกฎหมำย ยำมสงบ ประชำชนทำไรไ่ ถนำคำ้ ขำย และในยำมสงครำมตอ้ งทำหนำ้ ที่ เปน็ ทหำร

การสญู เสยี อานาจของสโุ ขทัย สาเหตุ ควำมอ่อนแอทำงดำ้ นกำรทหำร กำรแย่งชิงอำนำจภำยในของสุโขทยั กำรคำ้ กบั ต่ำงประเทศเริม่ ตกต่ำ กรงุ ศรีอยธุ ยำที่อยูท่ ำงตอนใต้มีควำมเข้มแขง็ ทำงดำ้ นกำรเมอื ง กำรทหำรเพิ่มขน้ึ และอยใู่ นทำเลท่ีต้งั ทด่ี กี วำ่ สโุ ขทยั

ดา้ นเศรษฐกจิ การเกษตร เกษตรกรรมแบบพ่งึ ตนเอง พืชหลักที่ปลูกคอื ขำ้ ว และพชื อืน่ ๆ มตี ลำดสำหรบั นำสนิ ค้ำมำขำย เรยี กว่ำ “ปสาน”

สนิ คา้ ที่ขายที่ปสาน

ทำงกำรได้ส่งเสรมิ กำรค้ำขำยให้สะดวกยง่ิ ขึน้ ด้วยกำรอนญุ ำตใหค้ ้ำขำยอย่ำงเสรีและยกเว้นกำรเกบ็ “จงั กอบ” (จกอบ) หรือภำษผี ำ่ นด่ำนใหแ้ ก่พอ่ ค้ำตำ่ งถ่ิน ทำใหม้ ีพอ่ คำ้ ต่ำงถนิ่ เข้ำมำตดิ ต่อค้ำขำยมำก ดังปรำกฏในศิลำจำรกึ หลักท่ี ๑ วำ่ “...เม่อื ชั่วพอ่ ขนุ รำมคำแหง...เจ้ำเมืองบเ่ อำจกอบ ในไพรล่ ทู ำ่ ง เพื่อนจงู ววั ไปคำ้ ขม่ี ้ำไปขำย ใครจักใคร่คำ้ ช้ำง ค้ำ ใครจกั ใคร่ค้ำมำ้ คำ้ ใครจักใคร่ค้ำเงนิ ทอง คำ้ ...” (ข้อความทแี่ ปล) …ในสมยั พ่อขนุ รำมคำแหง…เจำ้ เมืองไม่เกบ็ ภำษผี ่ำนด่ำน…ประชำชนเดนิ ทำงไปค้ำขำยได้ อยำ่ งสะดวก สำมำรถจูงวัว จูงมำ้ ไปขำย ค้ำชำ้ ง ค้ำมำ้ คำ้ แรเ่ งนิ คำ้ แร่ทอง ไดต้ ำมอสิ ระ…