ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

���觢����� ���͡���͹ ��ٹ���  ���͡���֡��
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
���㺧ҹ���͡�����¹����͹�Ԫ��ѧ���֡�� ��ʹ� ����Ѳ����� ����ͧ�ѹ�Ӥѭ�ҧ��оط���ʹ� �ѹ�Ҧ�٪� �ѹ���Ң�٪� �ѹ�ѯ��պ٪� �ѹ�����˺٪� �ѹ��Ҿ���� �ѹ⡹ �ѹ���  ��� Word
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
  ��� Zip
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

��Ҫ� : 62076


�ѧ���֡�� ��ʹ�����Ѳ����� 10 �ѹ�Ѻ����ش

ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

�ʴ������Դ���


����/Email :������ʷ���ҹ���ŧ㹪�ͧ��������Դ��� :

��س���Ӿٴ������Ҿ ���������Ӿٴ���Ҵ�ԧ�֧�ؤ��������������� �͢ͺ�س����������������

ใบงานที่ 2 วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
เติมคำ

 

ID: 2208128
Language: Thai
School subject: สังคมศึกษา
Grade/level: 4
Age: 10-11
Main content: พระพุทธศาสนา
Other contents: ศาสนพิธี
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
 Add to my workbooks (23)
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
 Download file pdf
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
 Embed in my website or blog
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
 Add to Google Classroom
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
 Add to Microsoft Teams
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
 Share through Whatsapp

Link to this worksheet:  Copy
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

bours


ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

What do you want to do?

ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
Check my answersEmail my answers to my teacher

Enter your full name:

Group/level:

School subject:

Enter your teacher's email or key code:

Cancel

Please allow access to the microphone
Look at the top of your web browser. If you see a message asking for permission to access the microphone, please allow.

Close

ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

         วันมาฆบูชา (บาลี: มาฆปูชา; อังกฤษ: Magha Puja) เป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาของชาวพุทธเถรวาท

         วันมาฆบูชา ได้รับการยกย่องเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเนื่องจากเหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึ้นเมื่อ 2,500 กว่าปีก่อน องค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาฏิโมกข์ท่ามกลางที่ประชุมมหาสังฆสันนิบาตครั้งใหญ่ในพระพุทธศาสนา โดยมีเหตุการณ์สำคัญเกิดขึ้นพร้อมกัน 4 ประการ คือ พระสงฆ์สาวกที่มาประชุมพร้อมกันทั้ง 1,250 รูปนั้นได้มาประชุมกันยังวัดเวฬุวันโดยมิได้นัดหมาย, พระสงฆ์ที่มาประชุมทั้งหมดต่างล้วนเป็น "เอหิภิกขุอุปสัมปทา" หรือผู้ได้รับการอุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยตรง, พระสงฆ์ทั้งหมดที่มาประชุมล้วนเป็นพระอรหันต์ผู้ทรงอภิญญา 6, และวันดังกล่าวตรงกับวันเพ็ญมาฆปุรณมีดิถี ขึ้น 15 ค่ำ เดือน 3 ดังนั้นจึงมีคำเรียกวันนี้อีกคำหนึ่งว่า "วันจาตุรงคสันนิบาต" หรือ วันที่มีการประชุมพร้อมด้วยองค์ 4 ...อ่านต่อ...

ลายไทยเกิดจากความเลื่อมใสศรัทธาในพุทธศาสนา จึงเป็นเหตุสำคัญให้ช่างหรือศิลปินประดิษฐ์ลายไทยโดยได้แนวคิดมาจาก ดอกบัว พวงมาลัย ควันธูป และเปลวเทียน  แล้วนำมาสร้างสรรค์ให้เกิดเป็นลวดลายต่างๆ เช่น ลายกนก ลายเปลวเพลิง ลายใบเทศ ลายพฤษชาติ ซึ่งเมื่อศึกษาถึงที่มาของลวดลายเหล่านั้น พบว่าบางส่วนมีการพัฒนาจากรูปดอกบัวหลากหลายชนิด อาทิ บัวหลวง บัวสัตตบงกช บัวสัตตบุษย์ และมีการพัฒนาจากลักษณะการเคลื่อนไหวของเปลวไฟที่มีความพลิ้วไหว จึงนำมาสร้างสรรค์ให้เกิดลายไทยที่สวยงาม

แม้ว่าศิลปะไทยจะได้รับอิทธิพลจากหลายประเทศ เช่น อินเดีย จีน ขอม เขมร แต่ช่างไทยก็สามารถนำไปพัฒนาลวดลายจนมีเอกลักษณ์เป็นของตนเองที่มีความแตกต่างไปจากชาติตะวันตก คือ ศิลปะไทยแตกต่างไปจากศิลปะตะวันตกตรงที่ศิลปะตะวันตกนั้นเป็นแบบธรรมชาตินิยม แต่ศิลปะไทยจะดัดแปลงธรรมชาติไปตามคตินิยมที่คิดสร้างสรรค์จากปรัชญา (ความเชื่อในเรื่องสวรรค์นรก) ดังภาพพระแม่ธรณีบิดมวยผม

ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
ภาพพระแม่ธรณีบิดผมมวย โดย Ljungkngs
ที่มา : https://pixabay.com/en/mother-earth-squeeze-the-bun-1581680/

ลวดลายไทยบางอย่างก็ได้จากธรรมชาติ ต้นไม้ หรือสัตว์ และการได้รับอิทธิพลความเชื่อเกี่ยวกับศาสนารวมถึงในด้านของไสยศาสตร์ ทำให้ลายไทยเข้าไปมีส่วนร่วมในการรับใช้สถาบันพุทธศาสนา และรับใช้สถาบันพระมหากษัตริย์ โดยนำไปใช้ประดับตกแต่งอาคารสถานที่หรือสถาปัตยกรรม เช่น โบสถ์  วิหาร  ปราสาท  พระราชวัง  เครื่องนุ่งห่ม สิ่งของเครื่องใช้ เครื่องประดับ ทางด้านบ้านเรือนและสิ่งของเครื่องใช้มีหลายรูปแบบและถูกนำไปใช้ในโอกาสต่างๆ โดยเฉพาะลายไทยพื้นฐาน นอกจากนำมาประยุกต์ใช้งาน เกิดผลงานทางด้านการออกแบบสร้างสรรค์ในหลายสาขาต่างๆ แล้วยังเป็นการดำรงคุณค่าทางศิลปะ วัฒนธรรมของไทยให้ปรากฏแก่ผู้พบเห็นทั้งชาวไทยด้วยกันและชาวต่างชาติ

การศึกษาการวาดเส้นลายไทยจะแยกเป็นสองรูปแบบใหญ่ๆ คือ ลายไทย และจิตรกรรมไทย ซึ่งลายไทยที่เป็นลวดลายหลักสำคัญ ดังนี้

  1. ลายกระหนก เป็นลายพื้นฐานหนึ่งที่สำคัญของลายไทย มีพื้นฐานจากสามเหลี่ยมชายธง อาจมีตัวเดียว หรือหลายตัวก็ได้ มักมีฐานมุมแหลมหันไปทางเดียวกัน โดยมีขนาดและสัดส่วนที่แตกต่างกันไป ลายกระหนกที่สำคัญ ได้แก่ กระหนกสามตัว กระหนกสามตัวเปลว

    ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
    ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

  2. ลายกระจัง เป็นลายพื้นฐานประเภทหนึ่งที่สำคัญของลายไทย รูปทรงคล้ายสามเหลี่ยมหน้าจั่ว ต้นแบบลายนี้มาจากธรรมชาติ เช่น กระจังตาอ้อย ต้นอ้อย กระจังฟันปลา

    ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
    ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
    ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

    ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3
    ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

  3. ลายทรงพุ่มข้าวบิณฑ์ ลวดลาย “ลายช่อ” ที่มีรูปทรงพุ่ม ได้รับแรงบันดาลใจมาจากข้าวปั้นตีแต่งเป็นรูปคล้ายดอกบัวตูมที่ใช้บวงสรวงบูชา นิยมนำไปใช้งานทางด้านที่เกี่ยวกับศาสนา

    ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

  4. ลายประจำยาม ลวดลายที่มีรูปร่างสี่เหลี่ยมจัตุรัสตะแคง มีลักษณะคล้ายดอกไม้ โดยดัดแปลงมาจากดอกไม้ชนิดหนึ่งที่เรียกว่า “ดอกสี่ทิศ”

    ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

  5. ลายกาบ เป็นลายที่กำเนิดลาย “ช่อลาย” โครงสร้างของลายนี้มาจากพืชพันธุ์ในส่วนที่เป็นกาบหุ้มตรงโคนหรือข้อ เช่น กาบของต้นไผ่ กาบต้นกล้วย

    ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

  6. ลายนกคาบและนาคขบ มีลักษณะเป็นหน้าของนกหน้านาคที่เอาปากคาบลายตัวอื่นเอาไว้หรือมีลายช่ออื่นๆ ออกทางปาก ตำแหน่งของลายนกคาบจะอยู่ตรงข้อต่อที่จะเชื่อมก้านกันและกัน

    ใบงาน วันสำคัญทาง พระพุทธ ศาสนา ม. 3

“ลายไทย” งานประดิษฐ์กรรมในเชิงศิลปะชั้นสูงและสืบเนื่องมาแต่ครั้งโบราณกาลของไทย งานศิลปะที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของความเป็นไทยบ่งบอกถึงภูมิปัญญาของคนไทยหรือช่างไทย ใช้จินตนาการในเชิงสร้างสรรค์มีแบบอย่างเฉพาะตัว นับได้ว่าเป็นศิลปะและวัฒนธรรมอันมีค่าของชาติเป็นที่เชิดหน้าชูตา ได้รับคำชื่นชมจากนานาประเทศว่า “ศิลปะลายไทยสวยงามไม่แพ้ชาติใดในโลก” แต่ปัจจุบันคนไทยส่วนใหญ่นั้น มักไม่ค่อยมีโอกาสได้สัมผัสกับงานศิลปะไทยอย่างลึกซึ้ง อาจจะทำให้ศิลปะลายไทยค่อยๆ จางหายไป เพราะฉะนั้นเราควรรักษาและสืบสานศิลปะลายไทยไว้ให้อยู่คู่กับประเทศไทยตลอดไป

บรรณานุกรม

เสน่ห์ ธนารัตน์สฤษดิ์. (2550). ศิลป์ลายไทย. กรุงเทพฯ : เฉลิมชัยการพิมพ์.

เศรษฐมันตร์ กาญจนากุล. (2535). เส้นสายลายไทย. กรุงเทพฯ : เฉลิมชัยการพิมพ์.

ภูทเรศษ์ พรมดี. (2014). ลายไทย. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2562, จาก http://jtfud.blogspot.com/

ศิลวัฒ ชอบจิตต์. (ม.ป.ป). ลายไทย. สืบค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://sites.google.com/site/thailandsart/2

บ้านจอมยุทธ์. (2543). ศิลปะลายไทย. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2562, จาก https://www.baanjomyut.com/library_2/extension-3/evolution_of_thai_art/05.html

บ้านจอมยุทธ์. (2543). ลักษณะของงานศิลปะไทย. สืบค้นเมื่อ 4 กุมภาพันธ์ 2562, จาก htmlhttps://www.baanjomyut.com/library_2/extension-3/
evolution_of_thai_art/02.html

nkstec. (มปป.). ลายไทย. สืบค้นเมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2562, จาก http://www.nkstec.ac.th/UserFiles/File/information/laithai01.pdf

ภาพประกอบ

Ljungkngs. (ม.ป.ป). ภาพพระแม่ธรณีบิดผมมวย. ค้นเมื่อ 5 กุมภาพันธ์ 2562 จาก https://pixabay.com/en/mother-earth-squeeze-the-bun-1581680/

วาดภาพลายไทยพื้นฐานทั้งหมด โดย นุชจรีย์ เมืองแตง เมื่อ 7 กุมภาพันธ์ 2562


เรียบเรียงโดย นุชจรีย์ เมืองแตง นักศึกษาฝึกงานจาก มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาสารสนเทศศาสตร์ (สารสนเทศศาสตร์ศึกษา) ภาคการศึกษา 2/2562