พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง

          ครั้งที่ 3: เมื่อปี พ.ศ.1921 ครั้งนั้นพระมหาธรรมราชา (ที่ 2) กษัตริย์แห่งกรุงสุโขทัย ได้ออกรบเป็นสามารถ แต่ก็สู้ทัพของกรุงศรีฯ ไม่ไหว พระมหาธรรมราชาจึงอ่อนน้อม ขุนหลวงพะงั่วให้พระมหาธรรมราชาครองเมืองสุโขทัยต่อไป ในฐานเป็นเจ้าเมืองประเทศราชของกรุงศรีฯ แล้วจึงยกทัพกลับพระนคร.

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือ พระเจ้าอู่ทอง (พ.ศ. 1857 - พ.ศ. 1912) เป็นพระมหากษัตริย์ไทยพระองค์แรกในราชวงศ์อู่ทองแห่งอาณาจักรอยุธยา

พระปรมาภิไธย

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- สมเด็จพระรามาธิบดี (หลังจากขึ้นครองราชย์)
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- พระเจ้าอู่ทอง (กษัตริย์ผู้ครองเมืองอู่ทองแคว้นสุพรรณภูมิ)
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- สมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสินทร บรมมหาจักรพรรดิศรราชาธิราช (ในโองการแช่งน้ำ)
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- สมเด็จพระรามาธิบดี ศรีสุนทรบรมจักรพัตราธิราช (ในกฎหมายลักษณะอาญาราษฎร์)
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสุรินทร บรมจักรพรรดิศร บวรมหาธรรมิกราชาธิราช (ในกฎหมายลักษณะอาญาหลวง)

ที่มาของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
ข้อสันนิษฐานเกี่ยวกับที่มาของพระเจ้าอู่ทองสรุปได้ดังนี้
แนวความคิดที่ 1
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
จดหมายเหตุลาลูแบร์ พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา ฉบับสมเด็จพระพนรัตน์ ระบุว่าพระเจ้าอู่ทองอพยพมาจากเชียงแสน
แนวความคิดที่ 2
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
จดหมายเหตุวันวลิตระบุว่าทรงอพยพมาจากเมืองเพชรบุรี
แนวความคิดที่ 3
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
ชินกาลมาลินีและพระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา ว่าพระเจ้าอู่ทองมาจากละโว้
ตามหลักฐานและโบราณคดี
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
ทฤษฎีเกี่ยวกับที่มาของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ในแนวคิดที่ 4 5 และ 6 สามารถผนวกรวมกันได้ กล่าวคือ เมื่อพิจารณาตำนานทั้งหลายแล้ว เจ้าชายวรเชษฐ์ เป็นพระโอรสในพระเจ้าบรมราชา กษัตริย์แห่งอาณาจักรละโว้ (แนวความคิดที่ 6) ต่อมาพระราชชนกโปรดให้ไปครองเมืองพริบพรี (แนวความคิดที่ 4) และหลังจากพระราชชนกเสด็จสวรรคตแล้ว ทรงกลับมาครองเมืองอโยธยา (แนวความคิดที่ 5) จากนั้นจึงเกิดโรคระบาด จึงทรงย้ายที่ตั้งเมืองมายังตำแหน่งปัจจุบัน

พระราชประวัติ

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
จดหมายเหตุโหรระบุว่าพระเจ้าอู่ทองเสด็จพระราชสมภพในปี พ.ศ. 1857 ได้ทรงสถาปนาเมืองหลวงขึ้นในบริเวณที่หนองโสนเมื่อ จ.ศ. 712 ปีขาล โทศก วันศุกร์ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 5 เวลา 3 นาฬิกา 9 บาท ตรงกับวันศุกร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 1893[1] เมื่อครองราชย์ได้รับเฉลิมพระปรมาภิไธยว่า สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสุนทรบรมบพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว[4] ถึงปีระกา พ.ศ. 1912 เสด็จสวรรคต อยู่ในราชสมบัติ 20 ปี

พระราชกรณียกิจ
การสงครามกับเขมร

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 พระองค์ทรงเจริญสัมพันธไมตรีกับแว่นแคว้นต่างๆมากมาย แม้กระทั่ง ขอม ซึ่งก็เป็นมาด้วยดีจนกระทั่งกษัตริย์ขอมสวรรคต พระราชโอรสนาม พระบรมลำพงศ์ ทรงขึ้นครองราชย์ ซึ่งพระบรมลำพงศ์ก็แปรพักตร์ไม่เป็นไมตรีดังแต่ก่อน สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 จึงให้สมเด็จพระราเมศวรยกทัพไปตีกัมพูชา และให้สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 (ขุนหลวงพะงั่ว) ทรงยกทัพไปช่วย จึงสามารถตีเมืองนครธมแตกได้ พระบรมลำพงศ์สวรรคตในศึกครั้งนี้ สมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 1 จึงแต่งตั้ง ปาสัต พระราชโอรสของพระบรมลำพงศ์เป็นกษัตริย์ขอม ..

ตรากฎหมาย
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ทรงประกาศใช้กฎหมายถึง 10 ฉบับ ในรัชสมัยของพระองค์ ได้แก่

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- พระราชบัญญัติลักษณะพยาน
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- พระราชบัญญัติลักษณะอาญาหลวง
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- พระราชบัญญัติลักษณะรับฟ้อง
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- พระราชบัญญัติลักษณะลักพา
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- พระราชบัญญัติลักษณะอาญาราษฎร์
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- พระราชบัญญัติลักษณ์โจร
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- พระราชบัญญัติเบ็ดเสร็จว่าด้วยที่ดิน
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- พระราชบัญญัติลักษณะผัวเมีย
พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
- พระราชบัญญัติลักษณะโจรว่าด้วยโจร
ในประวัติศาสตร์บางแหล่งบอกว่ามีมากกว่านี้ แต่เท่าที่หาหลักฐานได้ มีเพียงเท่านี้เท่านั้น

การศาสนา

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าให้สร้างวัดต่าง ๆ เช่น วัดพุทไธศวรรย์ (สร้างปี พ.ศ. 1876) วัดป่าแก้ว (สร้างปี พ.ศ. 1900) และวัดพระราม (สร้างปี พ.ศ. 1912)

พระโอรส

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง
สมเด็จพระราเมศวร พระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 2 แห่งกรุงศรีอยุธยา

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง

https://th.wikipedia.org/wiki/สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1

พระ ราช กรณียกิจ ที่สำคัญ ของ พระเจ้า อู่ทอง

พระราชกรณียกิจที่สำคัญของพระเจ้าอู่ทองคือข้อใด

พระราชกรณียกิจที่สำคัญประการแรก คือ การสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีในวันศุกร์ ขึ้น ๖ ค่ำ เดือน ๕ จุลศักราช ๗๑๒ ตรงกับวันที่ ๔ มีนาคม พ.ศ. ๑๘๙๓ โดยทรงเลือกตั้งในชัยภูมิที่เหมาะสมในการรับศึก บริเวณที่ตั้งพระนครเป็นที่ราบลุ่มกว้างใหญ่ใช้เป็นที่อยู่อาศัยและสะสมเสบียงอาหารได้มาก รวมทั้งสามารถทำนาในพระนครได้ ด้วยชัยภูมิที่ ...

พระเจ้าอู่ทองหรือสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ทรงมีผลงานหรือบทบาทสำคัญอย่างไร

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 (พระเจ้าอู่ทอง) ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีเมื่อวันศุกร์ ขึ้น 6 ค่ำ เดือน 5 ปีขาล จุลศักราช 712 ตรงกับวันที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 1893 ชีพ่อพราหมณ์ถวายพระนามว่า สมเด็จพระรามาธิบดี แล้วโปรดให้ขุนหลวงพะงั่ว ซึ่งเป็นพระเชษฐาของพระมเหสีเป็น สมเด็จพระบรมราชาธิราชเจ้า ไปครองเมืองสุพรรณบุรี ส่วนพระราเมศ ...

พระเจ้าอู่ทองมีความสําคัญต่อกรุงศรีอยุธยาอย่างไร

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือ พระเจ้าอู่ทอง ทรงเป็นพระปฐมบรมกษัตริย์แห่งอาณาจักรอยุธยา เสด็จพระราชสมภพเมื่อ พ.ศ. 1857 ทรงสถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานีของอาณาจักรอยุธยา เมื่อ จุลศักราช 712 ปีขาล โทศก วันศุกร์ เดือนห้า ขึ้นหกค่ำ เวลา 3 นาฬิกา 9 บาท (ตรงกับ พ.ศ. 1893) มีพระนามเต็มว่า สมเด็จพระรามาธิบดีศรีสุนทรบรมบพิตร ...

ข้อใดคือผลงานของสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1

สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 ทรงประกาศใช้กฎหมายถึง 10 ฉบับ ในรัชสมัยของพระองค์ ได้แก่ - พระราชบัญญัติลักษณะพยาน - พระราชบัญญัติลักษณะอาญาหลวง - พระราชบัญญัติลักษณะรับฟ้อง