ข้อ ใด ไม่ใช่ สาเหตุ ที่ ทำให้ ตลาด แข่งขัน ไม่ สมบูรณ์

ข้อ ใด ไม่ใช่ สาเหตุ ที่ ทำให้ ตลาด แข่งขัน ไม่ สมบูรณ์

ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

           ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์เป็นลักษณะของตลาดสินค้าอุตสาหกรรมเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ประกอบด้วยตลาด 3 ลักษณะ คือ ตลาดผูกขาด ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด และตลาดผู้ขายน้อยราย เส้นอุปสงค์หรือเส้นราคาและเส้นรายรับส่วนเพิ่มในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ซึ่งประกอบด้วยตลาดทั้งสามลักษณะนั้นมีลักษณะเหมือนกันการอธิบายดุลยภาพในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์จะใช้เส้นอุปสงค์และเส้นรายรับเพิ่มในลักษณะเดียวกันซึ่งในบทนี้จะศึกษาลักษณะของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์และศึกษาตลาดผูกขาดก่อน

ลักษณะของตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

     1. ผู้ขายมีจำนวนไม่มาก  ในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ลักษณะของตลาดจะตรงกันข้ามกับตลาดแข่งขันสมบูรณ์   ผู้ขายมีจำนวนไม่มากอาจเนื่องจากเป็นกิจการที่ผูกขาดโดยรัฐ หรือการให้สัมปทานแก่เอกชนโดยรัฐ จำนวนผู้ผลิตไม่มากอาจด้วยเทคโนโลยีการผลิตที่ซับซ้อน  การลงทุนที่สูงเกินไป เป็นต้น

      2. ลักษณะสินค้าไม่เหมือนกันทุกประการ  สินค้ามีลักษณะคล้ายกันแต่ไม่เหมือนกันอาจจะแตกต่างกันที่คุณภาพ  การบริการ  การโฆษณา  บรรจุ  หีบห่อ  หรือต่างกันที่ รุ่น

             3. การเข้าหรือออกจากการผลิตทำได้ยาก  การเข้าไปผลิตแข่งขันหรือออกจากการผลิตทำได้ยากเนื่องจาก ต้องมีลิขสิทธิ์  มีเทคโนโลยี  และมีการลงทุนที่สูงในการผลิต  ดังนั้นการเข้าไปผลิตแข่งขันทำได้ยากและการจะออกจากการแข่งขันหรือเลิกกิจการก็ทำได้ยากเช่นกันเนื่องจากการลงทุนที่สูงและสัญญาการลงทุนบางประการ

            4. ความรู้ในเรื่องการตลาดไม่สมบูรณ์  ทั้งผู้ซื้อและผู้ขายไม่มีความรู้เรื่องการตลาดหรือข้อมูลการตลาดอย่างสมบูรณ์ทำให้ราคาแตกต่างกัน

             การกำหนดราคาในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์

       เนื่องจากในตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ราคามีหลายระดับราคา การกำหนดราคาในตลาดแบบต่าง ๆ ก็จะกำหนดราคาแตกต่างกัน

เน ื้ อหาการศึกษา 1. ตลาดผกขาด ู : คุณลกษณะท ั ี่สําคญของตลาด ั และสาเหตุการผกขาด ู เสนอ้ ุปสงคในท ์ ัศนะของผู้ผูกขาดรายรับเฉลี่ยและรายรับเพิม่ ดุลยภาพของผู้ผูกขาดในระยะส้ัน และระยะยาวเสนอ้ ุปทาน การควบคุมผู้ผูกขาด ทัง้ 2 กรณี 2. ตลาดกงแ ึ่ ข่งขนกั งผกขาดหร ึ่ ู ู ือผ้ขายมากราย : คุณลกษณะส ั าคํ ญของตลาด ั เสนอ้ ุปสงคในท ์ ศนะของหนวยธ ั ่ ิ ุรกจตลาดผู้ขายมากราย ดุลยภาพของหนวยธ ่ ิ ุรกจในระยะส้ัน และระยะยาว 3. ตลาดผู้ขายน้อยราย : คุณลกษณะส ั าคํ ญของตลาด ั เสนอ้ ุปสงคในท ์ ศนะของหนวยธ ั ่ ิ ่ ุรกจและกลุมผลิตภณฑั ์ ดุลยภาพของหนวยธ ่ ิ ุรกจกรณีดําเนินนโยบายอิสระและกรณีดําเนิน นโยบายรวมตวกน ั ั สาระสําคญการศ ั ึกษา 1. ลักษณะสําคญของตลาดผกขาดท ั ู ี่สําคัญ 5 ประการ ประกอบดวย้ (1) มีผู้ผลิต สินคาเพ้ ียงรายเดียว (2) สินคาทดแทนกนได ้ ั ยาก ้ (3) การเป็นผกาหนดราคาส ู้ ํ ินค้า(Price Taker) (4) มีอุปสรรคในการเขาออกตลาด ้ และ (5) ไมม่ ่ ีการแขงขนทางด ั านราคา ้ ตัวอยางส ่ ิ ินคาได้ แก้ ่ กจการ สาธารณูปโภคไฟฟ้า ประปายาสูบ และสลากกนแบง ิ ่ เป็นต้น 2. สาเหตทุ ู ี่ทําให้เกดการผกขาด ิ : มีที่มาจาก (1) การเป็นเจาของป ้ ัจจยการผล ั ิตแตผ่ ู้ เดียวภายในประเทศ (2) หนวยธ ่ ิ ุรกจไดรั้บสิทธิบัตรหรือใบอนุญาตจากรัฐบาล(3) การประหยดจาก ั ขนาดการผลิตท ี่ใชการลงท ้ ุนขนาดใหญ่ 3. เส้นอปสงค ุ ์ในทศนะของผ ั ้ผกข ู ู าด : เสนอ้ ุปสงค์มีลักษณะทอดลงจากซ้ายไปขวา และคอนข้ ่ างชัน โดยมีความยดหย ื นนุ่ อย้ เสนอ้ ุปสงค(D) ์ เป็นเสนเด ้ ียวกนกบเส ั ั นรายร ้ ับเฉลี่ย(AR) และเสนรายร ้ ับเพ่ ิม(MR) มีความชนเป ั ็นสองเทาของเส ่ นอ้ ุปสงค์ EC 111 175 4. ดลยภาพของผ ุ ู ู ้ผกขาดในระยะสั้น : การกาหนดราคาและผลผล ํ ิต หนวยธ ่ ิ ุรกจมี เป้าหมายแสวงหากาไรส ํ ูงสุด จะเลือกปริมาณการผลิตสินค้า ณ จุดท ี่ MR = MC อยางไรก ่ ็ตามผล ประกอบการอาจมีความเป็นไปได ( ้ 1) มีกาไรเกนปกติ ํ ิ (2) มีกาไรปกต ํ ิ และ (3) ขาดทุน ทั้ งน้ี ขึ้นกบตั นท้ ุนการผลิตของหนวยธ ่ ิ ่ ุรกจแตละราย จะพบวา่ MR = SMC < P = AR ≥ AVC 5. ดลยภาพของผ ุ ู ู ้ผกขาดในระยะยาว : การกาหนดราคาและผลผล ํ ิต เน ื่ องจาก หนวยธ ่ ิ ุรกจผู้ผูกขาดเปลี่ยนแปลงขนาดการผลิตได้จึงมีกาไรทางเศรษฐศาสตร ํ ์เม ื่ อเขาส้ ู่ดุลยภาพจะ มีคาของ ่ MR = SMC = LMC < P =AR > SAC = LAC ในตลาดผกขาดไมสามารถหาเส ู ่ นอ้ ุปทาน ได้เพยงแตวาเป ี ่ ่ ่ ็นจุดหน ึ่ งท ี่ อยบนเส ู นอ้ ุปสงค(D) ์ หรือรายรับเฉลี่ย(AR)เทาน่ ้ัน 6. การควบคมผุ ู ู ้ผกขาด โดยการที่รัฐบาลเขาไปกาหนด ้ ํ ราคาหรือผลผลิต เกบภาษ ็ ี จากหนวยธ ่ ิ ่ ุรกจเรียกวา การผกขาดภายใต ู ้ข้อบงคั ับ(Regulated monopoly) สําหรับการกาหนดราคา ํ และปริมาณผลผลิต กระทาไดํ เชน้ ่ ํ กาหนดราคาขายสินค้า(P) เทากบ ่ ั ต้นทุนเฉล ี่ ยท้ังหมด(ATC) เรียกวา่ ราคายุติธรรม (หนวยธ ่ ิ ํ ุรกจมีกาไรปกติ) เป็นต้น กรณีการเกบภาษ ็ ่ ิ ีเพ ื่อใหหนวยธ ้ ุรกจที่มี กาไรเกนปกติ ํ ิ ให้มีรายรับท้ งหั มดเทากบต ่ ั ่ นท้ ุนท้ ้ งหมดเทาน ั ัน 7. ลักษณะที่สําคญของตลาดก ั งแ ึ่ ข่งขันกงผกขาด ึ่ ู หรือผู้ขายมากราย มีลักษณะดงนั ้ี (1) ผลิตภณฑั ์มีความแตกตางกน ่ ั :ทั้ งในเชิงกายภาพ ,พื้ นที่ตัง้ , การใหบร้ ิการ เป็นต้น (2) มีผู้ผลิต หรือผขายจ ู้ านวนมาก ํ แตละรายม ่ ่ ่ ่ ีสวนแบงตลาดคอนขางน้ อย้ (3) ถ้าสินคาม้ ีลักษณะแตกตางกน ่ ั หนวยธ ่ ิ ่ ุรกจจะมีอิทธิพลตอราคาบ้างเล็กนอย้ (4) การเข้าออกตลาดทาไดํ งาย ้่ 8. เส้นอปสงค ุ ์ในทศนะของผ ั ้ขายมากราย ู : มีลักษณะ (1) เสนอ้ ุปสงคจะม ์ ีความชัน น้อยกวาตลาดผ ่ กขาด ู (2) จํานวนธุรกจมิ ีมากนอยจะม ้ ีผลทาใหํ เส้ นอ้ ุปสงค์แตกตางกนไป ่ ั (3) จะมี เสนอ้ ุปสงค 2 ์ เส้น เรียกวา่ เสนอ้ ุปสงคคาดการณ ์ ์และเสนอ้ ุปสงค์ที่เกดขิ ้ึนจริง 9. ดลยภาพของหน ุ ่วยธรกุ จในระยะส ิ ั้นของหนวยธ ่ ิ ่ ุรกจและกลุมผลิตภณฑั ์มีความ เป็นไปได้ที่จะมีผลประกอบการท้ งกาไร ั ํ และขาดทุน 10. ดลยภาพในระยะยาวขอ ุ งหน่วยธรกุ จและกล ิ ่มผล ุ ตภิ ณฑั ์ : จะมีเฉพาะกาไรปกต ํ ิ เทา่ นั้นและไมสามารถหาเส ่ นอ้ ุปทานของหนวยธ ่ ิ ุรกจได้ 11. ลักษณะสําคญของตลาดผ ั ู้ขายน้อยราย : มี 3 ประการ (1) มีผู้ผลิตหรือผขาย ู้ จํานวนนอย้ (2) สินคาของผ ้ ขายแตละรา ู้ ่ ยอาจมีลักษณะเหมือนกนหร ั ่ ั ือแตกตางกน (3) การเข้าออก ตลาดคอนข ่ างล้ าบาก