องค์ประกอบที่สำคัญของพฤติกรรมบุคคลในองค์การ หมายถึงข้อใด

พฤติกรรมองค์การ

(Organization Behavior)

ปิยวรรณ หอมจันทร์

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์บัณฑิต

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พฤติกรรมองค์การ

Organization Behavior

ปิยวรรณ หอมจันทร์

ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

พฤติกรรมองค์การ

Organization Behavior

ปิยวรรณ หอมจันทร์

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

~ ก ~

ค ำน ำ

หนังสือเรื่อง “พฤติกรรมองค์การ(Organization Behavior)”มุ่งเน้น

ให้นิสิตเข้าใจถึงความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทฤษฎีและพฤติกรรมองค์การ ความหมาย
องค์ประกอบขององค์การแนวความคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับองค์การสมัยดั้งเดิม
ถึงปัจจุบันอานาจและการเมืองในองค์การแรงจูงใจและขวัญก าลังใจในองค์การ

และภาวะผู้น าในองค์การ

เนื่องจากวิชาพฤติกรรมองค์การ(Organization Behavior)นี้ เนื้อหา
โดยมากเน้นไปในทางทฤษฎีและพฤติกรรมองค์การในอดีตจนถึงปัจจุบัน ผู้สอนได้

ศึกษารายละเอยด แต่ละหัวข้อเรื่องจากเอกสาร หรือหนังสืออนๆ

ื่
ที่เกี่ยวเนื่อง เพอให้การสอนในรายวิชานี้มีผลต่อผู้เรียนมากยิ่งขึ้น และเพอให้
ื่
ื่
บรรยากาศในชั้นเรียนน่าสนใจจึงควรเปิดโอกาสให้นิสิตได้มีส่วนร่วมแสดงออกซึ่ง
ความรู้ความเข้าใจในชั้นเรียนตามแนวบริหารการสอนรายวิชานี้และใช้สื่อประเภท
รูปภาพและวีดีทัศน์ที่เกี่ยวของในการประกอบการสอนด้วย
ท้ายสุดนี้ผู้เขียนหวังว่าหนังสือเรื่อง “พฤติกรรมองค์การ

(Organization Behavior)” เล่มนี้จะอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอน
ในรายวิชาพฤติกรรมองค์การ (Organization Behavior) ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ตรงตามวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนต่อไป

ปิยวรรณ หอมจันทร์

หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต

ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

~ ข ~

สารบัญ

เรื่อง หน้า
ค าน า ก

สารบัญ ข

บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การ
1.1 บทน า 1

1.2 ความหมายของพฤติกรรมองค์การ 2
1.3 ความส าคัญของพฤติกรรมองค์การ 4
1.4 องค์ประกอบขององค์การ 7
1.5 ลักษณะของวิชาพฤติกรรมองค์การ 9

1.6 การวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การ 10
1.7 สรุป 11
ค าถามท้ายบท 13
อ้างอิงท้ายบท 14

บทที่ 2 ทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ
2.1 บทน า 15
2.2 ทฤษฎีองค์การก่อน ค.ศ. 1900 15
2.3 ทฤษฎีคลาสสิก 17

2.4 สรุป 25
ค าถามท้ายบท 26
อ้างอิงท้ายบท 27

บทที่ 3 สภาพแวดล้อมในองค์การ
3.1 บทน า 28
3.2 ความหมายของสภาพแวดล้อม 28
3.3 ปัจจัยสภาพแวดล้อมขององค์การ 30
3.4 ประเภทของสภาพแวดล้อมองค์การ 32

3.5 ลักษณะของสภาพแวดล้อมองค์การ 44

~ ค ~

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า

บทที่ 3 สภาพแวดล้อมในองค์การ
3.6 แนวความคิดในการตอบสนองขององค์การต่อสภาพ
ความไม่แน่นอน 48
3.7 การจัดการกับสภาพแวดล้อมขององค์การ 49

3.8 สรุป 55
ค าถามท้ายบท 57
อ้างอิงท้ายบท 58
บทที่ 4 พฤติกรรมบุคคลในองค์การ

4.1 บทน า 59
4.2 การรับรู้ 59
4.3 ค่านิยม 63

4.4 ทัศนคติ 68
4.5 สรุป 72
ค าถามท้ายบท 73
อ้างอิงท้ายบท 74
บทที่ 5 พฤติกรรมกลุ่ม

5.1 บทน า 75
5.2 ความหมายของพฤติกรรมกลุ่ม 76
5.3 ประเภทของพฤติกรรมกลุ่ม 78

5.4 เหตุผลที่บุคคลเข้าร่วมในกลุ่ม 79
5.5 พัฒนาการของกลุ่ม 81
5.6 ประโยชน์ของการรวมกลุ่ม 83
5.7 ประสิทธิภาพของกลุ่ม 84

5.8 รูปแบบของกลุ่มที่มีประสิทธิผล 87

~ ง ~

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า
บทที่ 5 พฤติกรรมกลุ่ม

5.9 อิทธิพลต่อประสิทธิภาพกลุ่ม 89
5.10 พฤติกรรมภายในกลุ่ม 90
5.11 ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมกลุ่ม 91
5.12 สรุป 92

ค าถามท้ายบท 94
อ้างอิงท้ายบท 95
บทที่ 6 การติดต่อสื่อสาร
6.1 บทน า 96

6.2 ความหมายของการติดต่อสื่อสาร 97
6.3 วัตถุประสงค์และประเภทของการติดต่อสื่อสารใน 98
องค์การ
6.4 รูปแบบของการติดต่อสื่อสาร 103

6.5 ลักษณะเครือข่ายการติดต่อสื่อสาร 108
6.6 เทคนิคการปรับปรุงการติดต่อสื่อสาร 112
6.7 สรุป 115

ค าถามท้ายบท 117
อ้างอิงท้ายบท 118
บทที่ 7 แรงจูงใจและขวัญก าลังใจในองค์การ
7.1 บทน า 119
7.2 ความหมายของการจูงใจ 120

7.3 ความส าคัญของแรงจูงใจ 123
7.4 องค์ประกอบของแรงจูงใจ 125
7.5 ทฤษฎีการจูงใจ 127

7.6 สรุป 143

~ จ ~

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า
ค าถามท้ายบท 145

อ้างอิงท้ายบท 146
บทที่ 8ภาวะผู้น าในองค์การ
8.1 บทน า 148
8.2 ความหมายภาวะผู้น า 149

8.3 ประสิทธิผลของภาวะผู้น า 151
8.4 ทักษะถาวะผู้น า 156
8.5 ทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะผู้น า 159
8.6 สรุป 176

ค าถามท้ายบท 178
อ้างอิงท้ายบท 179
บทที่ 9 การจัดการความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
9.1 บทน า 181

9.2 การจัดการความขัดแย้ง 181
9.3 การเจรจาต่อรอง 194
9.4 สรุป 198

ค าถามท้ายบท 200
อ้างอิงท้ายบท 201
บทที่ 10อ านาจและการเมืองในองค์การ
10.1 บทน า 202
10.2 แนวคิดเกี่ยวกับอ านาจ 202

10.3 ที่มาของอ านาจ 203
10.4 การสร้างพลัง 207
10.5 อ านาจระหว่างหน่วยงานย่อยหรือฝ่าย 209

10.6 กลวิธีการใช้อิทธิพลทางการเมือง 213

~ ฉ ~

สารบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้า
10.7 การบริหารความประทับใจ 214

10.8 จริยธรรม อ านาจ และการเมือง 215
10.9 การใช้อ านาจในการจัดการที่มีประสิทธิผล 216

บทที่ 10อ านาจและการเมองในองค์การ

10.10 สรุป 217
ค าถามท้ายบท 220

อ้างอิงท้ายบท 221
บรรณานุกรม 223

บทท ๑
ี่

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับพฤติกรรมองค์การ

๑.๑ บทน า

การศึกษาเรื่องพฤติกรรมองค์การ มีความจ าเป็นที่เราจะต้องเข้าใจ

ความหมายของค าว่า “พฤติกรรมของมนุษย์ในองค์การ” (Human Behavior in
Organization) และ “พฤติกรรมองค์การ” (Organization Behavior) เสียก่อน
ว่ามีความแตกต่างกันหรือไม่อย่างไร โดยทั่วไปแล้วการศึกษาวิชาพฤติกรรมมนุษย์
ในองค์การ และพฤติกรรมองค์การไม่มีความแตกต่างกันมากนัก กล่าวคือ เป็น

ื่
การศึกษาวิเคราะห์พฤติกรรมมนุษย์ในระดับต่างๆ เพอแนวทางในการพฒนา

พฤติกรรมและเพมประสิทธิภาพการท างาน จึงกล่าวได้ว่าการศึกษาทั้งสองส่วนนี้
ิ่
เป็นการศึกษาในขอบเขตเนื้อหาเดียวกันอย่างไรก็ตาม ทั้ง 2 วิชามีความแตกต่าง
กันอยู่บ้าง คือ เมื่อเราเอ่ยถึงพฤติกรรมของมนุษย์ในองค์การเรามักจะหมายถึงการ
ื่
แสดงออกของปัจเจกบุคคล (Individual) ที่อยู่ในสภาวะการท างานที่มีต่อเพอน
ร่วมงาน ผู้บังคับบัญชา สถานที่ และวิธีการท างาน เป็นต้น ซึ่งส่วนใหญ่แล้วต้อง

อาศัยทฤษฎีจิตวิทยาเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์ แต่เมื่อเราพดถึงวิชาพฤติกรรม
องค์การ เรามักจะมองในแง่ของกลุ่ม (Group) การท างานว่ามีพฤติกรรมอย่างไร มี

ความร่วมมือ ความขัดแย้ง และแบบฉบับปฏิสัมพนธ์ (Interaction) เป็นอย่างไร

ผลกระทบที่กลุ่มมีต่อผลงาน และผลกระทบของงานที่มีต่อกลุ่มเป็นอย่างไร
การอธิบายปรากฏการณ์เหล่านี้จ าเป็นต้องอาศัยความรู้ทางด้านสังคม

วิทยา มานุษยวิทยา เศรษฐศาสตร์ รัฐศาสตร์ มาประกอบ เมื่อพจารณาใน

ข้อเท็จจริงแล้วการศึกษาพฤติกรรมองค์การจะต้องศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ใน
ฐานะปัจเจกบุคคล เพราะแม้ว่าเราต้องการเข้าใจพฤติกรรมกลุ่มแต่กลุ่ม ก็คือ การ
รวมตัวของปัจเจกบุคคล เราจึงไม่สามารถแยกปัจเจกบุคคลออกไปจากองค์การ

ได้ การที่จะเข้าใจพฤติกรรมองค์การได้ดีนั้น จึงจ าเป็นต้องเข้าใจพฤติกรรมของ
มนุษย์ในองค์การให้ดีเสียก่อน นอกจากนี้ตัวขององค์การเองไม่ว่าจะเป็นบทบาท
หน้าที่ตลอดจนบรรยากาศในองค์การก็จะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลด้วย

~ ๒ ~

๑.๒ ความหมายของพฤติกรรมองค์การ

พฤติกรรมองค์การมาจากการรวมค าสองค าเข้าด้วยกันคือ ค าว่า
“พฤติกรรม” กับ “องค์การ” พฤติกรรม หมายถึง การแสดงออกหรือแนวโน้มของ
ปฏิกิริยาที่จะแสดงออกของบุคคลในสภาพการณ์และสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ที่อยู่รอบ

ๆ ตัวบุคคลนั้น ค าว่า องค์การ (Organization) หมายถึง องค์รวมของบุคคลที่มี
ความสัมพนธ์กัน และมุ่งจะท ากิจกรรมบางอย่างให้บรรลุวัตถุประสงค์ร่วมกัน


ภายใต้โครงสร้างของความสัมพนธ์ที่มีกฎเกณฑ์และขอบเขตที่แน่นอน ค าว่า
“พฤติกรรมองค์การ” (Organizational Behavior) มีผู้ให้ความหมายไว้

หลากหลาย ดังนี้
สมยศ นาวการ ให้ความหมายของพฤติกรรมองค์การว่า พฤติกรรม

องค์การเป็นการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในองค์การอย่างเป็นระบบ ทั้ง

พฤติกรรมระดับบุคคล กลุ่ม และองค์การ โดยใช้ความรู้ทางพฤติกรรมศาสตร์ ซึ่ง


ิ่
ความรู้ที่ได้สามารถน าไปใช้ในการเพมผลผลิตและความพงพอใจของบุคลากร อน
ิ่
น าไปสู่การเพมประสิทธิผลขององค์การในภาพรวมวิชาพฤติกรรมองค์การมี
ลักษณะเป็นวิทยาการ (Interdisciplinary) อนได้แก่ การผสมผสานและการ

ื่
ประยุกต์ความรู้ทางสังคมศาสตร์และศาสตร์สาขาอน ๆ เข้าด้วยกัน วิชานี้จึงมี
คุณค่าและมีความส าคัญเพราะสามารถน าทฤษฎีและแนวคิดที่ส าคัญเกี่ยวกับ
มนุษย์ที่ศึกษากันในวิชาอน ๆ โดยเฉพาะในหมวดสังคมศาสตร์ มาใช้อธิบาย
ื่
ปรากฏการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในองค์การที่มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพของการ

บริหารความรู้เหล่านี้ช่วยขยายโลกทัศน์ของผู้ศึกษาให้พจารณาปัญหาจากแง่มุม

ต่าง ๆ ที่แตกต่างกัน และขยายขอบเขตการมองได้กว้างขวางยิ่งขึ้น ท าให้เรา
เข้าใจมนุษย์มากยิ่งขึ้นและสามารถหาแนวทางในการแก้ปัญหาและวางแบบฉบับ

พฤติกรรมที่ต้องการได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น

๑ สมยศ นาวีการ, การบรหารและพฤตกรรมองค์การ, (กรุงเทพมหานคร :


ส านักพิมพ์ผู้จัดการ, ๒๕๔๓), หน้า ๑๔.

~ ๓ ~

Robert A. Baron ได้อธิบายเอาไว้ว่า พฤติกรรมองค์การเป็น
การศึกษาอย่างเป็นระบบที่เกี่ยวข้องกับบุคคลในองค์การกลุ่มคนและองค์การซึ่งมี

จุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิผลขององค์การและความอยู่ดีของคนในองค์การ
Richard M. Hodgetts กล่าวเอาไว้ว่า พฤติกรรมหมายถึงลักษณะ

วิชาที่เกี่ยวกับการอธิบายการท าความเข้าใจการคาดคะเนและการควบคุม

พฤติกรรมของบุคคลในองคการ

Stephen P. Robbins ได้ให้ความหมายเอาไว้ว่า พฤติกรรมองค์การ
เป็นการศึกษาผลกระทบของบุคคล กลุ่มบุคคลโครงสร้างต่างๆที่มีพฤติกรรม

ภายในองค์การโดยมีจุดประสงค์เพื่อปรับปรุงประสิทธิผลการท างานขององค์การ
John R. Schermerhorn ได้อธิบายไว้ว่า พฤติกรรมองค์การเป็น
การศึกษาที่เกี่ยวกับการกระท าของบุคคลในองค์การซึ่งพฤติกรรมดังกล่าวจะมี
ผลกระทบต่อการปฏิบัติงานในองค์การพฤติกรรมองค์การเกี่ยวข้องโดยตรงกับ

สถานการณ์การจ้างงานการปฏิบัติงาน การออกจากงาน ประสิทธิภาพ

ประสิทธิผล การประเมินผลการปฏิบัติงานและการบริหารจัดการในองค์การ
Middlemist and Hitt ให้ความหมายว่า พฤติกรรมองค์การเป็น

การศึกษาพฤติกรรมของบุคคลและกลุ่มภายในองค์การ ซึ่งความเข้าใจดังกล่าว จะ
ิ่
น าไปใช้ในการเพมความพงพอใจให้แก่พนักงาน เพมผลผลิตและประสิทธิผลของ
ิ่


องค์การนั้น ๆ


Robert A. Baron and Jerald Greenberg, Behavior Organization, 3
Edition, (New York: Allyn & Bacon, 1995), p 12.

Hodgetts, Richard, M., Modern Human Relations at work, (7
th.ed)., (New York: Dryden Press, Harcourt Barce College, 1999), p 54.
๔ Robbins, Stephen P., Organizational Behavior, (New Jersey :
Pearson Education, Inc., 2003), p 61.

Schermerhorn, John R.,Jr., James G. Hunt and Richard N. Osborn.,
Organizational Behavior Seven Edition, (New York : John Wiley & Sons, 2000),
p 84.
๖ Hitt, M.A., Miller, C.C., and Colella, A. Organizational Behavior
strategic Approach. (USA: John Wiley & sons, 2006), p 5.

~ ๔ ~

Baron and Greenberg กล่าวว่าพฤติกรรมองค์การ หมายถึง
การศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในองค์การ โดยศึกษากระบวนการของปัจเจก
ิ่
บุคคล กลุ่มและองค์การอย่างเป็นระบบ เพอน าความรู้ดังกล่าวไปใช้ในการเพม
ื่

ประสิทธิผลขององค์การ และท าให้บุคคลที่ท างานในองค์การมีความสุข
Moorhead and Griffin ให้ความหมายของพฤติกรรมองค์การว่า
เป็นการศึกษาพฤติกรรมของมนุษย์ในองค์การ ความสัมพนธ์ระหว่างพฤติกรรม

มนุษย์กับองค์การ และตัวองค์การเอง ซึ่งการศึกษาทั้ง 3 ด้านดังกล่าว จะท าให้

เกิดความเข้าใจพฤติกรรมองค์การในภาพรวม
กล่าวโดยสรุป การศึกษาพฤติกรรมองค์การจะช่วยให้ผู้บริหารมีความ
ื่
เข้าใจ และสามารถท านายพฤติกรรมของตนเองและของผู้อนในองค์การได้
ื่

ตลอดจนสามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ เพอให้เกิดพฤติกรรมที่พงประสงค์และ
ิ่
น าไปสู่การเพมประสิทธิผลขององค์การในภาพรวมการศึกษาพฤติกรรมองค์การ
โดยใช้ความรู้ทางพฤติกรรมศาสตร์ จะมีความเกี่ยวข้องกับศาสตร์สาขาต่าง ๆ
ได้แก่ จิตวิทยา สังคมวิทยา สังคมจิตวิทยา มานุษยวิทยาและรัฐศาสตร์เชื่อมโยง
กัน

๑.๓ ความส าคัญของพฤติกรรมองค์การ

ผู้บริหารในยุคแรก ๆ มองบุคคลว่า เป็นปัจจัยการผลิตอย่างหนึ่ง
เช่นเดียวกับเครื่องจักรเครื่องกล ต่อมาได้ มีความพยายามที่จะเพมประสิทธิภาพ
ิ่
ให้คนท างานได้มากขึ้น เร็วขึ้น โดยการจูงใจด้วยเงินและวัตถุเป็นหลัก ที่เรียกว่า
“การบริหารเชิงวิทยาศาสตร์” แต่พบว่า วิธีการบริหารดังกล่าวไม่ได้ให้ค าตอบ
ทั้งหมดกับการบริหาร จึงหันมาสนใจศึกษาเกี่ยวกับมนุษยสัมพนธ์ โดยมองว่า

มนุษย์มีความแตกต่างกัน และมีศักดิ์ศรี จึงเน้นการเอาใจมนุษย์อย่างมากจนไม่ให้
ความส าคัญกับปัจจัยด้านโครงสร้างและเทคโนโลยี ซึ่งก็พบว่า การให้ความส าคัญ


Greenberg, J. and R. A. Baron, Behavior in Organizations:
Understanding and. Managing the Human Side of Work, 8th ed, (NJ :
Prentice Hall, 2003), p 37.

Moorhead, G. and Griffin, R. W, Organizational Behavior.
Managing people and. Organizations, 5th ed, (U.S.A. : Houghton Mifflin
Company, 1998), pp 14 – 15.

~ ๕ ~


กับมนุษยสัมพนธ์ไม่ได้ค าตอบที่ดีกับการบริหาร จึงมีการใช้วิธีการศึกษาทาง
พฤติกรรมศาสตร์ ที่ท าให้เข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ที่อยู่ภายใต้สภาพแวดล้อม
ขององค์การ อันเป็นที่มาของการศึกษาพฤติกรรมองค์การ ซึ่งการศึกษาดังกล่าว มี

อทธิพลอย่างมากต่อแนวคิดการบริหารในปัจจุบัน เนื่องจากการบริหารเป็น
ื่
กระบวนการท างานให้ส าเร็จ โดยใช้บุคคลอน พฤติกรรมของบุคคลในองค์การจึง
มีความส าคัญต่อการเพิ่มผลผลิตและประสิทธิผลขององค์การ
เนื่องจากการบริหารงานเป็นกระบวนการท างานให้ส าเร็จโดยใช้บุคคล
อน และการบริหารเป็นกระบวนการของการวางแผน การจัดองค์การ และการ
ื่
ควบคุมปัจจัยต่าง ๆ โดยเฉพาะทรัพยากรมนุษย์เป็นปัจจัยที่มีความต้องการ มี
ความรู้สึกและอารมณ์ ดังนั้น การที่จะบริหารจัดการให้มนุษย์ท างานได้ส าเร็จ เกิด
ประสิทธิผลตามจุดมุ่งหมายขององค์การ ตลอดจนสามารถแข่งขันและท าให้
องค์การอยู่รอดได้นั้น ผู้บริหารจ าเป็นต้องท าการศึกษาพฤติกรรมภายในองค์การ

เพอให้เกิดความเข้าใจและสามารถท านายพฤติกรรมในองค์การได้ ตลอดจน
ื่
ื่
สามารถควบคุมปัจจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพอให้เกิดพฤติกรรมที่พงประสงค์ ทั้งนี้

การศึกษาพฤติกรรมองค์การมีความส าคัญต่อผู้บริหารดังต่อไปนี้
1. ท าให้เกิดความเข้าใจ สามารถคาดการณ์และควบคุมพฤติกรรม
ของตนเอง การศึกษาพฤติกรรมองค์การจะช่วยให้ผู้บริหารเข้าใจพฤติกรรมและ
ความรู้สึกของตนเอง เช่น มีความเข้าใจในความรู้สึก ความต้องการและแรงจูงใจ
ของตนเอง ท าให้ทราบธรรมชาติ จุดออนและจุดแข็งของพฤติกรรมของตนเอง

ตลอดจนปัจจัยที่เป็นสาเหตุ ท าให้สามารถคาดการณ์และควบคุมพฤติกรรมของ


ตนเองให้เป็นไปในทิศทางที่พงประสงค์ เช่น น าความรู้ที่ได้มาใช้ในการปรับปรุง
พัฒนาพฤติกรรมและซึ่งความสามารถในการตัดสินใจ การตอบสนอง การควบคุม
อารมณ์และความเครียดต่าง ๆ การพฒนาการสื่อสารกับผู้อน ซึ่งจะก่อให้เกิด
ื่

ประโยชน์อย่างมากต่อการบริหารงานในอาชีพของตน
2. ท าให้เกิดความเข้าใจ สามารถคาดการณ์และควบคุมพฤติกรรม
ของผู้ใต้บังคับบัญชา เนื่องจากผู้บริหารจ าเป็นต้องรับผิดชอบในการวางแผน การ
จัดองค์การ และการควบคุมให้มีการท างานที่น าไปสู่ผลส าเร็จขององค์การ

การศึกษาพฤติกรรมองค์การจะท าให้ผู้บริหารเข้าใจธรรมชาติและความต้องการ
ของผู้ใต้บังคับบัญชาแต่ละคน เข้าใจปัจจัยสาเหตุของพฤติกรรม จึงท าให้ผู้บริหาร
เข้าใจในปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้องสามารถคาดการณ์ได้ว่า ถ้าใส่ปัจจัย

~ ๖ ~

หรือตัวแปรใดเข้าไป จะส่งผลให้เกิดพฤติกรรมอะไรขึ้น ซึ่งน ามาสู่การแก้ไขปัญหา
พฤติกรรมในองค์การด้วยการควบคุมตัวแปรต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม เช่น ใช้การ
จูงใจบุคลากรให้ท างานอย่างทุ่มเทมากขึ้น มีการจัดออกแบบงานได้อย่างเหมาะสม
กับธรรมชาติของคนท างาน การแก้ไขปัญหาความขัดแย้งในองค์การ การสนับสนุน

ให้บุคลากรท างานได้บรรลุตามเป้าหมายและได้รับรางวัล เป็นต้น
3. ท าให้เกิดความเข้าใจ สามารถคาดการณ์และควบคุมพฤติกรรม
ื่
ื่
ของเพอนร่วมงาน เนื่องจากผู้บริหารจ าเป็นต้องท างานและมีปฏิสัมพนธ์กับเพอน

ร่วมงานในองค์การ การเข้าใจกระบวนการเกิดทัศนคติของบุคคล การเข้าใจความ
แตกต่างของแต่ละบุคคลกระบวนการกลุ่มที่เกิดขึ้นจากการท างานร่วมกัน และ

ความสัมพนธ์ระหว่างกลุ่ม วัฒนธรรมภายในองค์การ พฤติกรรมที่เกี่ยวกับอานาจ

และการเมืองภายในองค์การ จะช่วยให้ผู้บริหารเข้าใจกระบวนการที่เกี่ยวข้องกับ
พฤติกรรมต่าง ๆ ในองค์การ ท าให้สามารถคาดการณ์และน ามาใช้ในการสนับสนุน

ให้เกิดการท างานร่วมกันได้เป็นอย่างดี
4. ท าให้เกิดความเข้าใจ สามารถคาดการณ์พฤติกรรมของผู้บริหาร
บุคคลอนและสภาวะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องในการก าหนดนโยบายของ
ื่
องค์การ เนื่องจากผู้บริหารมีหลายระดับ ผู้บริหารในระดับที่อยู่เหนือขึ้นไปจะมี
อิทธิพลต่อผู้บริหารในระดับรองลงมา และบุคคลอนและสภาวะต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
ื่
ในการก าหนดนโยบายการบริหารจะมีอทธิพลต่อผู้บริหารระดับสูง เช่น ผู้บริหาร

จากส่วนกลาง ผู้ตรวจราชการ ผู้ถือหุ้น รวมทั้งคู่แข่ง (Competitors) ผู้ส่งวัตถุดิบ
ให้ (Suppliers) และลูกค้าขององค์การตลอดจนสภาพแวดล้อมเทคโนโลยี การ

เปลี่ยนแปลงภายในและภายนอกประเทศที่ส่งผลกระทบต่อองค์การ ฯลฯ
การศึกษาพฤติกรรมองค์การจึงเป็นสิ่งที่จะช่วยให้ผู้บริหารมีความเข้าใจพฤติกรรม
และความต้องการของผู้บริหารที่อยู่เหนือขึ้นไปและบุคคลอนที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับ
ื่
นโยบายขององค์การ และสามารถคาดการณ์การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยภายนอก
ที่ส่งผลต่อนโยบายขององค์การ ซึ่งน ามาสู่การเจรจาต่อรอง การวางแผนของ

องค์การ และการควบคุมให้องค์การมีการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่พงประสงค์
และสามารถตอบสนองความต้องการของผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการก าหนด

นโยบายขององค์การได้
ดังนั้นการศึกษาพฤติกรรมองค์การจึงมีความส าคัญอย่างยิ่งต่อ
ผู้บริหาร ท าให้ผู้บริหารเข้าใจตนเอง เข้าใจผู้ใต้บังคับบัญชา เข้าใจเพอนร่วมงาน
ื่

~ ๗ ~

ตลอดจนเข้าใจผู้บริหารและบุคคลอนและสภาวะต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการก าหนด
ื่
นโยบาย โดยความเข้าใจเหล่านี้จะท าให้สามารถท านายพฤติกรรมที่จะเกิดขึ้น
และสามารถปรับปรุงพฤติกรรมตนเอง จูงใจ สนับสนุน และควบคุมพฤติกรรมของ
ื่

บุคคลอน อนเป็นส่วนส าคัญที่จะท าให้ผู้บริหารสามารถบริหารตนเองและบุคคล
รอบข้าง และท าให้องค์การประสบความส าเร็จได้

๑.๔ องค์ประกอบขององค์การ

องค์การต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นองค์การของรัฐหรือองค์การธุรกิจต่างมี

องค์ประกอบที่ส าคัญ ดังต่อไปนี้
1. จุดมุ่งหมายองค์การ (Organization Goal) หมายถึง เป้าประสงค์
ของการบริหารที่องค์การต้องการท าให้ส าเร็จ เช่น องค์การธุรกิจ มีจุดมุ่งหมาย


ต้องการตอบสนองความพงพอใจของลูกค้า ในขณะเดียวกันก็ต้องการแสวงหา
ก าไร และให้ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับพนักงานจุดมุ่งหมายขององค์การจะเป็น
ตัวจูงใจให้บุคคลมาท างานร่วมกัน ถึงแม้ว่าจุดมุ่งหมายของแต่ละบุคคลที่ท างานจะ

มีความส าคัญ แต่จุดมุ่งหมายขององค์การโดยรวมมีความส าคัญมากกว่า เพราะจะ
เป็นจุดเน้นให้สมาชิกทุกคนในองค์การให้ความสนใจและด าเนินงานให้เป็นไปใน
ทิศทางที่ต้องการ นอกจากนี้ จุดมุ่งหมายยังช่วยให้บุคคลมองไปในอนาคต และมี
การวางกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการที่จะช่วยให้เกิดการด าเนินงานตามที่มุ่งหวัง
ดังนั้นจุดมุ่งหมายขององค์การจึงอาจส่งผลให้จ าเป็นต้องมีการพฒนาโครงสร้าง

และกระบวนการท างานขององค์การให้สอดคล้องกับจุดมุ่งหมายที่ก าหนดไว้ด้วย
2. โครงสร้างขององค์การ (Organization Structure) หมายถึง

ระบบของงาน การรายงานและความสัมพนธ์ของอานาจหน้าที่ต่าง ๆ ในการ

ด าเนินงานขององค์การนั้น ๆ โดยการออกแบบโครงสร้างขององค์การ นอกจากจะ

เป็นการออกแบบอ านาจหน้าที่และความสัมพนธ์ของอานาจหน้าที่ในต าแหน่งต่าง

ๆ แล้วยังเกี่ยวข้องกับการจัดกลุ่มกิจกรรมในการท างานเป็นแผนกหรือฝ่ายต่างๆ

การประสานงาน การสื่อสาร และกลไกควบคุมการท างานภายในองค์การอก

ด้วย ซึ่งการมองโครงสร้างขององค์การ อาจพจารณาจากรูปแบบและการด าเนิน

๙ จิรศักดิ์ จิยะนันท์ และคณะ, องค์การและการจัดการ, (กรุงเทพมหานคร : ธี
ระฟิลม์และไซเท็กซ์ จ ากัด, ๒๕๔๒), หน้า ๗๒ – ๘๖.

~ ๘ ~



กิจกรรมขององค์การ หรืออาจพจารณาจากความสัมพนธ์ของส่วนต่าง ๆ ภายใน
องค์การ ซึ่งได้แก่ แผนผังองค์การ (Organization Chart) โดยทั่วไป
3. บุคคล (People) ในแต่ละองค์การย่อมประกอบด้วยบุคคลหลาย
ๆ คนมาท างานร่วมกัน ซึ่งบุคคลและองค์การต่างมีความสัมพนธ์ซึ่งกันและกัน

กล่าวคือ บุคคลจะถูกองค์การคาดหวังเกี่ยวกับความพยายาม ความสามารถ ความ
จงรักภักดีต่อองค์การ ทักษะ การทุ่มเทเวลาและศักยภาพ ในขณะเดียวกัน
องค์การก็ถูกคาดหวังจากบุคคลว่า จะได้รับการสนับสนุนจากองค์การในเรื่อง
ค่าตอบแทนความมั่นคงของงาน ผลประโยชน์ โอกาสในการท างาน สถานภาพ

และความก้าวหน้า
4. สภาพแวดล้อมขององค์การ (Organization Environment)
หมายถึง แรงผลักดันต่าง ๆ ที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารจัดการองค์การ ซึ่ง
ประกอบด้วยสภาพแวดล้อมทั่วไปสภาพแวดล้อมที่มีผลโดยตรงต่อการด าเนินงาน

ขององค์การ และสภาพแวดล้อมภายในองค์การ ดังรายละเอียดต่อไปนี้
4.1 สภาพแวดล้อมทั่วไป (General Environment) ได้แก่

แรงผลักดันที่อยู่ภายนอกองค์การที่มีอทธิพลแบบทั่วไปไม่เฉพาะเจาะจงต่อ
องค์การ ได้แก่ อทธิพลจากการเมืองและกฎหมาย เศรษฐกิจ เทคโนโลยี สังคม

วัฒนธรรม และสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ
4.2 สภาพแวดล้อมที่มีผลโดยตรงต่อการด าเนินงานขององค์การ
(Task Environment) เป็นสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การที่มีผลกระทบโดยตรง
ต่อองค์การและการด าเนินงานขององค์การในการบรรลุเป้าหมาย ได้แก่ ลูกค้าหรือ

ผู้ใช้บริการ คู่แข่งขัน ผู้ขายวัตถุดิบ วัสดุ อปกรณ์ในการด าเนินงาน ตลาดแรงงาน

นโยบายและเจ้าหน้าที่ ของหน่วยงานรัฐที่เข้ามาควบคุมก ากับ
4.3 สภาพแวดล้อมภายในองค์การ (Internal Environment)


เป็นแรงผลักดันภายในองค์การที่มีอทธิพลต่อการจัดการและด าเนินงานของ
องค์การ

~ ๙ ~

๑.๕ ลักษณะของวิชาพฤติกรรมองค์การ

วิชาพฤติกรรมโครงการมีลักษณะที่แตกต่างจากวิชาบริหาร เพราะมี
๑๐
ลักษณะเฉพาะตัว สรุปได้ดังนี้
๑. วิชาพฤติกรรมองค์การ มีลักษณะเป็นสาขาวิชาเพราะเป็นการรวม

ศาสตร์หลายๆ แขนง เช่น จิตวิทยา สังคมวิทยา มานุษวิทยา รัฐศาสตร์และ
ศาสตร์สาขาอนๆ อกเป็นการน าแนวคิดทฤษฎีและองค์ความรู้ต่างๆมา
ื่

ท าการศึกษาเพื่อให้เกิดความเข้าใจในด้านพฤติกรรมของบุคคลในองค์การ
ื้
๒. วิชาพฤติกรรมองค์การ มีพนฐานมาจากพฤติกรรมศาสตร์เพราะ
เป็นการศึกษาพฤติกรรมของบุคคลอย่างเป็นระบบเป็นการศึกษารวบรวม
ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับการกระท าของคนในองค์การซึ่งจะแนะน าการศึกษา ไปที่
พฤติกรรมของคนในองค์การเป็นส าคัญ

๓. วิชาพฤติกรรมองค์การ ใช้เครื่องมือและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ใน
การศึกษาคือการเป็นการศึกษารวบรวมข้อมูลต่างๆอย่างเป็นระบบ จากนั้นน ามา
วิเคราะห์และประมวลผลเพอให้สามารถอธิบายและคาดการณ์พฤติกรรมของ
ื่
บุคคลในองค์การ ได้อย่างมีประสิทธิภาพถูกต้องและเชื่อถือได้
๔. วิชาพฤติกรรมองค์การ ท าการศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรม

องค์การทั้ง ๓ ระดับคือเริ่มท าการศึกษาตั้งแต่พฤติกรรมระดับบุคคลซึ่งเป็น

รากฐานที่ส าคัญจากนั้นท าการศึกษาพฤติกรรมในระดับกลุ่ม การรวมกลุ่มอทธิพล

ของกลุ่ม และอกส่วนหนึ่งคือพฤติกรรมในระดับองค์การซึ่งเป็นการศึกษาถึง
โครงสร้างขององค์การกระบวนการท างานต่างๆ และวัฒนธรรมโครงการ
๕. วิชาพฤติกรรมองค์การได้ท าการศึกษาถึงสถานการณ์ต่างๆ ที่
เกิดขึ้นในองค์การ สถานการณ์อาจมีการเปลี่ยนแปลง ดังนั้นพฤติกรรมของบุคคล
จะปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์ที่เกิดขึ้น

๑๐
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ, พฤตกรรมองค์การ: ทฤษฎีและการ

ประยุกต, พิมพ์ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพมหานคร ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๒),

หน้า ๒๓.

~ ๑๐ ~

๖. วิชาพฤติกรรมองค์การ ท าการศึกษาเพอน าไปประยุกต์ใช้กับงาน
ื่
คือสามารถน าความรู้ต่างๆที่ได้จากการศึกษาไปประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหา
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในองค์การซึ่งจะเป็นผลดีต่อการบริหารจัดการในครั้งต่อไป

๑.๖ การวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การ

เนื่องจากพฤติกรรมองค์การเป็นเรื่องที่มีความเกี่ยวข้องกับบุคคล

หลายฝ่ายดังนั้นในการศึกษาจึงมีความจ าเป็นต้องท าการศึกษาให้ครอบคลุมหลาย
ด้านหลายระดับเพราะจะส่งผลต่อประสิทธิภาพในการศึกษาเมื่อใดการศึกษา
ขอบเขตต่างๆ อย่างทั่วถึงจะท าให้เข้าใจและสามารถวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การ
ื่
ได้อย่างถูกต้องในการศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การจึงแบ่งขอบเขตเพอ
๑๑
ท าการศึกษาออกเป็น ๓ ระดับ คือ
๑. ระดับบุคคล ในการศึกษาและวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การในระดับ
บุคคลเป็นการศึกษาถึงรายละเอยดต่างๆ ของบุคคลแต่ละคนในองค์การที่มีความ

แตกต่างกันในหลายๆด้านเช่น นิสัย อายุ เพศ สถานภาพสมรส บุคลิก ทัศนคติ

ื้
ค่านิยม ความสามารถพนฐาน ปัจจัยดังกล่าวเป็นสิ่งที่แต่ละคนมีและติดตัวมา ซึ่ง

จะมีอทธิพลต่อพฤติกรรมในการท างานดังนั้นในการศึกษาพฤติกรรมองค์การใน
ระดับบุคคลจึงมีความจ าเป็นต้องท าการศึกษาวิเคราะห์ลักษณะที่แตกต่างของแต่

ละคนอย่างละเอยดเพราะปัจจัยดังกล่าวมีผลกระทบต่อพฤติกรรมของบุคคลและ

ความสามารถในการท างานในองค์การ
๒. ระดับกลุ่ม การศึกษาพฤติกรรมในระดับกลุ่มนั้นเป็นการศึกษา
พฤติกรรมของคนในกลุ่มเช่นการติดต่อสื่อสารในกลุ่มการตัดสินใจของกลุ่ม ภาวะ
ผู้น า โครงสร้างกลุ่มความขัดแย้ง การเมือง และอานาจทีมงานกลุ่มอนๆ ดังนั้น ใน

ื่
การศึกษาพฤติกรรมระดับกลุ่มจึงเป็นการศึกษาถึงปัจจัยต่างๆ ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง
กับกลุ่มมีอทธิพล มีผลกระทบต่อพฤติกรรมของกลุ่ม การบรรลุวัตถุประสงค์และ

ประสิทธิภาพขององค์การ

๓. ระดับองค์การ เป็นการศึกษาถึงภาพรวมขององค์การทั้งหมด แต่
ละองค์การจะมีรูปแบบหรือลักษณะเฉพาะของแต่ละวงการที่แตกต่างกัน การ
แสดงออกขององค์การทั้งหมด แต่ละองค์การจะมีรูปแบบหรือลักษณะเฉพาะของ

๑๑ สุพานี สฤษฎ์วานิช, พฤตกรรมองค์การสมัยใหม่: แนวคิดและทฤษฎี,

(กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น, ๒๕๔๙), หน้า ๑๐.

~ ๑๑ ~

แต่ละองค์การที่แตกต่างกันการแสดงออกและพฤติกรรมของบุคคลในองค์การจะ
เป็นไปตามที่องค์การต้องการดังนั้นในการศึกษาพฤติกรรมระดับโครงการจึงเป็น
การศึกษาเกี่ยวกับปัจจัยต่างๆเช่นนโยบายด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์
วัฒนธรรมองค์กร โครงสร้าง และออกแบบองค์การเทคโนโลยีและการออกแบบ

งาน ดังนั้นในการศึกษาพฤติกรรมระดับองค์การจึงเป็นสิ่งส าคัญและมีความ
สลับซับซ้อนมากแต่ถ้าได้ท าการศึกษาอย่างถ่องแท้จะท าให้เข้าใจถึงผลกระทบต่อ
พฤติกรรมองค์การและเป็นแนวทางในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นภายในองค์การ
ต่อไป

จะเห็นได้ว่าในการศึกษาพฤติกรรมองค์การนั้นต้องท าการศึกษา

วิเคราะห์ทุกระดับอย่างละเอยดคือศึกษาตั้งแต่พฤติกรรมระดับบุคคลซึ่งจะท าให้
ทราบความแตกต่างขั้นพนฐานของแต่ละคนได้อย่างชัดเจนจึงจะท าให้สามารถ
ื้
เข้าใจถึงปัจจัยพนฐานที่แท้จริงที่ท าให้แต่ละบุคคลแสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมา
ื้
และพฤติกรรมดังกล่าวมีอิทธิพลต่อการท างานของบุคคลในองค์การส่วนการศึกษา
พฤติกรรมระดับกลุ่มจะท าให้เข้าใจถึง สิ่งต่างๆ ที่เกิดขึ้นในกลุ่ม การติดต่อสื่อสาร
ภายในกลุ่ม การตัดสินใจของกลุ่มผู้น าในกลุ่มโครงสร้างกลุ่มความขัดแย้งการเมือง

ในกลุ่ม อ านาจทีมงาน เป็นต้น ซึ่งปัจจัยดังกล่าวจะท าให้ทราบถึงความเคลื่อนไหว
และประสิทธิภาพในการท างานรวมทั้งปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นใน กลุ่ม และในระดับ
องค์การ จะท าให้เข้าใจนโยบายด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์วัฒนธรรมต่างๆ
โครงสร้างและการออกแบบองค์การ รวมทั้งเทคโนโลยีและการออกแบบงาน เป็น
การศึกษาในภาพรวมทั้งหมดขององค์การซึ่งจะท าให้เข้าใจปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้น

ื่
ในองค์การและจะน าไปสู่การปรับปรุงแก้ไขเพอให้เกิดประสิทธิภาพที่ดีต่อการ
ท างานในองค์การ

๑.๗ สรุป

พฤติกรรมองค์การเป็นการศึกษาพฤติกรรมมนุษย์ ทัศนคติค่านิยม

ความสามารถในการรับรู้การเรียนรู้ของคุณผลปฏิบัติงานของคนในองค์การ
ื่
ลักษณะของวิชาพฤติกรรมองค์การซึ่งเป็นสาขาวิชาซึ่งเกี่ยวข้องกับวิชาอนๆ
รายวิชาเช่น จิตวิทยาที่ศึกษาเกี่ยวกับการจูงใจการเรียนรู้บุคลิกภาพความรู้สึกการ
ฝึกอบรมความเป็นผู้น าความพงพอใจในงานการประเมินผลทัศนคติ การคัดเลือก

พนักงานความกดดันในการท างาน การออกแบบงานสังคมวิทยาศึกษาเกี่ยวกับ

~ ๑๒ ~

อานาจความขัดแย้งพฤติกรรมระหว่างกลุ่มการติดต่อสื่อสารพลังของกลุ่มทีมงาน
ทฤษฎีองค์การแบบทางการเทคโนโลยีองค์การการเปลี่ยนแปลงองค์การการ
เปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมจิตวิทยาสังคมศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ การ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารการตัดสินใจของกลุ่มกระบวนการกลุ่ม

มนุษย์วิทยาศึกษาเกี่ยวกับการเปรียบเทียบค่านิยมการวิเคราะห์วัฒนธรรมที่
แตกต่างการเปรียบเทียบทัศนคติสภาพแวดล้อมองค์การวัฒนธรรมองค์การ

รัฐศาสตร์ศึกษาเกี่ยวกับความขัดแย้งอานาจการเมืองภายในองค์การการวิเคราะห์
พฤติกรรมองค์การแบ่งเป็น ๓ ระดับเป็นการวิเคราะห์องค์การในระดับบุคคลที่

เกี่ยวกับนิสัยอายุเพศสถานภาพสมรสบุคลิกภาพทัศนคติค่านิยมความสามารถ
ื้
พนฐานปัจจัยดังกล่าวเป็นสิ่งที่แต่ละบุคคลมีและติดตัวมา ระดับกลุ่มศึกษา
เกี่ยวกับการติดต่อสื่อสารกันในกลุ่มการตัดสินใจของกลุ่มภาวะผู้น าโครงสร้างปุ่ม
ความขัดแย้งการเมืองและอานาจทีมงานกลุ่มต่างๆ และระดับองค์การศึกษา

เกี่ยวกับนโยบายการบริหารทรัพยากรมนุษย์วัฒนธรรมองค์การโครงสร้างและการ
ออกแบบองค์การ เทคโนโลยีและการออกแบบงาน ดังนั้นในการศึกษาพฤติกรรม
องค์การจะท าให้ผู้ศึกษาได้ทราบถึงพฤติกรรมของบุคคลในองค์การพฤติกรรมกลุ่ม

การบริหารงานในองค์การและปัจจัยอื่นๆที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการในองค์การ

~ ๑๓ ~

ค าถามท้ายบท

๑. จงให้ความความหมายของพฤติกรรมองค์การมาพอเข้าใจ

๒. พฤติกรรมองค์การมีความส าคัญอย่างไร จงอธิบายมาพอเข้าใจ

๓. องค์ประกอบของพฤติกรรมองค์การ มีอะไรบ้าง

๔. ลักษณะของวิชาพฤติกรรมองค์การมีอะไรบ้าง

๕. จงวิเคราะห์พฤติกรรมองค์การพร้อมยกตัวอย่างมาประกอบ

๖. พฤติกรรมองค์การแบ่งขอบเขตการศึกษา ออกเป็นกี่ระดับ จงอธิบาย

๗. การศึกษาพฤติกรรมองค์การมีความส าคัญต่อผู้บริหารอย่างไร จงอธิบายพร้อม
ยกตัวอย่าง

๘. ในปัจจุบันพฤติกรรมองค์การมีความส าคัญอย่างไรในการบริหารงานในองค์การ
จงอธิบายพร้อมยกตัวอย่าง

~ ๑๔ ~

อ้างอิงท้ายบท

จิรศักดิ์ จิยะนันท์ และคณะ. องค์การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร : ธี
ระฟิลม์และไซเท็กซ์ จ ากัด, ๒๕๔๒.
สมยศ นาวีการ. การบริหารและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร :

ส านักพิมพ์ผู้จัดการ, ๒๕๔๓.
สร้อยตระกูล (ติวยานนท์) อรรถมานะ. พฤติกรรมองค์การ: ทฤษฎีและการ

ประยุกต์ พมพครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร ส านักพมพ ์


มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ๒๕๔๒.
สุพานี สฤษฎ์วานิช. พฤติกรรมองค์การสมยใหม: แนวคิดและทฤษฎี.


กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น, ๒๕๔๙.
Greenberg. J. and R. A. Baron. Behavior in Organizations:

Understanding and. Managing the Human Side of
Work. 8th ed. NJ : Prentice Hall, 2003.
Hitt. M.A.. Miller. C.C.. and Colella. A. Organizational Behavior
strategic Approach. USA: John Wiley & sons, 2006.
Hodgetts. Richard. M.. Modern Human Relations at work. (7

th.ed).. New York: Dryden Press. Harcourt Barce College,
1999.
Moorhead. G. and Griffin. R. W. Organizational Behavior. Managing

people and. Organizations. 5th ed. U.S.A. : Houghton
Mifflin Company, 1998.
Robbins. Stephen P.. Organizational Behavior. New Jersey : Pearson
Education. Inc., 2003.

Robert A. Baron and Jerald Greenberg. Behavior Organization. 3
Edition. New York: Allyn & Bacon, 1995.
Schermerhorn. John R..Jr.. James G. Hunt and Richard N. Osborn..
Organizational Behavior Seven Edition. New York : John

Wiley & Sons, 2000.

บทท ๒
ี่
ทฤษฎีพฤติกรรมมนุษย์ในองค์การ

๒.๑ บทน า

การศึกษาวิวัฒนาการเกี่ยวกับทฤษฎีพฤติกรรมองค์การตั้งแต่สมัยอดีตเป็นต้น
จะท าให้ผู้ศึกษาได้ทราบและเข้าใจแนวความคิดทฤษฎีต่างๆ ด้านพฤติกรรมองค์การ
การพัฒนา และการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการบริหารจัดการปัญหาและวิธีการแก้ไขปัญหา

เกี่ยวกับพฤติกรรมโครงการในอดีตซึ่งความรู้ดังกล่าวจะเป็นข้อมูลที่ส าคัญในการศึกษา
พฤติกรรมองค์การเป็นประโยชน์และแนวทางในการแกไขปัญหาในองค์การ

วิชาพฤติกรรมองค์การได้รับการยอมรับว่ามีความส าคัญและมีความจ าเป็นเมื่อ
ผู้ส าเร็จการศึกษาแล้ว จะต้องไปปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นภายใต้สภาพแวดล้อมขององค์การที่
แตกต่างกันออกไป ซึ่งต้องมีการปรับตัวและปรับใจให้สามารถเป็นสมาชิกหรือผู้บริหาร

องค์การ และเพื่อที่จะท างานร่วมกับผู้อื่นในองค์การได้อย่างมีประสิทธิภาพและเหมาะสม
การศึกษาพฤติกรรมองค์การไม่ได้มีวัตถุที่จะให้ผู้เรียนมีความรู้และ
ความสามารถท าความเข้าใจบริการทั้งหมดของบุคคลและองค์การแต่แท้ที่จริงเป็น

การศึกษาเพอให้เข้าใจธรรมชาติพนฐานของบุคคลและองค์การ ทั้งในมิติเฉพาะหน้าที่เป็น
ื้
ื่
พนฐานและมีความส าคัญต่อการใช้งานเนื่องจากพฤติกรรมองค์การจะมีความหลากหลาย
ื้
และครอบคลุม ขอบเขตในด้านต่างๆ มากมายท าให้ไม่สามารถศึกษาได้ทั้งหมดภายใต้
ระยะเวลาที่จ ากัด

๒.๒ ทฤษฎีองค์การก่อน ค.ศ. 1900

ในสมัยนั้นยังไม่มีหลักฐานแน่นอนว่ามีทฤษฎีอะไรเกิดขึ้นบ้างแต่ก็มีบุคคล
ส าคัญ คือ อดัมสมิธ เขาได้เขียนหนังสือชื่อ An inquiry into the nature and cause of
the wealth of nation’s เขาได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับหลักการของการแบ่งงานกันท า ซึ่ง
หลักการดังกล่าวนับเป็นประโยคส าหรับนักบริหารในยุคต่อมา อดัมสมิธ จึงเป็นผู้คิดริเริ่ม

วางหลักการเกี่ยวกับการแบ่งงานกันท า

๒.๒.๑ การจัดการแบบวิทยาศาสตร์

บุคคลที่มีชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายคือ Frederick w. Taylor ผู้ที่
ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ Taylor เชื่อว่าหลักการทาง

~ ๑๖ ~

วิทยาศาสตร์ จะท าให้สามารถค้นหาวิธีการท างานที่ดีที่สุดได้ เขาได้ เขียนผลงานเรื่อง
Shop Management และ Principle of Scientific Management เป็นแนวคิดเกี่ยวกับ

การจัดการทางวิทยาศาสตร โดยมีหลักการที่ส าคัญดังต่อไปนี้
ื่
๑. ค้นหาและประยุกต์วิธีการทางวิทยาศาสตร์เพอน าไปใช้ในด้านการบริหาร

จัดการด้วยวิธีการท างานที่ดีที่สุดเพยงวิธีเดียวผู้บริหารจะต้องรู้จักสังเกต และท าการ
ื่
รวบรวมข้อมูลโดยมีการจัดท าอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับการปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่งเพอ
น าไปสู่วิธีการที่ดีที่สุดในการปฏิบัติงาน

ื่
๒. ในการคัดเลือกบุคลากรใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์เพอให้ได้บุคคลที่มีความ
เหมาะสมกับต าแหน่งงานมากที่สุดหลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์จะเป็นหลักเกณฑ์ที่เป็น
ระบบที่มีความแน่นอนเชื่อถือได้หลักเกณฑ์ดังกล่าวยังใช้ในการพฒนาพนักงานเพอให้เกิด

ื่
ความก้าวหน้าในอาชีพต่อไปรวมทั้งใช้ในการค้นหาขีดความสามารถของพนักงานและ

ื่
ข้อจ ากัดของพนักงานแต่ละคนเพอจะได้ให้การฝึกอบรมและพฒนาความรู้ต่างๆให้แก่
พนักงานต่อไป
๓. มีการเตรียมพนักงานเพอให้ได้รับการเรียนรู้ฝึกอบรมพฒนาตามหลักการ
ื่

วิทยาศาสตร์
ื่
๔. เกี่ยวกับเรื่องการจูงใจพนักงานเพอให้ได้ผลผลิตที่สูงเขาได้น า เสนอวิธีการ
จ่ายค่าตอบแทนตามสัดส่วนของผลผลิตแต่ละคนที่ท าได้แทนการจ่ายค่าตอบแทนตาม
ชั่วโมงในการท างาน วิธีการดังกล่าวสามารถสร้างความจูงใจในการท างานให้แก่พนักงาน

ได้มากขึ้นท าให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น
๕. ได้มีการแบ่งหน้าที่และความรับผิดชอบระหว่างผู้บริหาร แล้วพนักงานอย่าง
ชัดเจนฝ่ายบริหารจะรับผิดชอบงานด้านการวางแผนและบริหารจัดการส่วนพนักงานมี
หน้าที่ความรับผิดชอบด้านการปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายให้ส าเร็จ

หลักการบริหารทางวิทยาศาสตร์ ดังกล่าวมาแล้วเขาได้เน้นเกี่ยวกับปัญหาด้าน
ื่
การจัดโครงสร้างองค์การรวมถึงปัญหาเกี่ยวกับการจูงใจพนักงานเพอให้สอดคล้องกับความ
ต้องการขององค์การ วิธีการดังกล่าวนับว่ามีประโยชน์มากส าหรับนักบริหารในยุคต่อมา


Taylor, Frederick W, The Principles of Scientific Management, (New York:
Harper, 2002), p 89.

~ ๑๗ ~

๒.๓ ทฤษฎีคลาสสิก

๒.๓.๑ แนวคิดของ Gulick, H. Lutherand Urwick, F. Lyndall (ลูเทอร์
กูลิก และลินดอลล์เออร์วิก)

ลูเทอร์ กูลิก และลินดอลล์เออร์วิก ได้ก าหนดหน้าที่ของผู้บริหารเอาไว้ 7
อย่างดังนี้
1. การวางแผนเป็นหน้าที่ของผู้บริหารต้องมีการก าหนดสิ่งที่จะท าเอาไว้

ล่วงหน้าเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในอนาคต
ื่

2. การจัดองค์การ คือ จัดให้มีโครงสร้างของงานและอานาจหน้าที่เพอให้
สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในองค์การได้ด้วยความเหมาะสมซึ่งจะช่วยให้การด าเนินงาน
ขององค์การบรรลุผลส าเร็จ
3. การจัดคนเข้าท างาน หมายถึง การจัดหาคนเข้าท างานในต าแหน่งต่างๆ

เพอให้ได้บุคคลที่มีความเหมาะสมกับต าแหน่งงานเป็นการบริหารทรัพยากรมนุษย์ให้เกิด
ื่
ประสิทธิภาพสูงสุด
4. การอานวยการ คือ การบังคับบัญชาสั่งการซึ่งเป็นหน้าที่ของผู้บริหารหรือ

หัวหน้าจะมีหน้าที่ในการสั่งการเพื่อให้ผู้ใต้บังคับบัญชาท างานต่างๆ ในหน้าที่ ซึ่งการสั่งการ
จะเป็นไปตามสายการบังคับบัญชา
5. การประสานงาน คือ การประสานงานเพอให้การท างานภายในองค์การ
ื่
ด าเนินไปด้วยความเรียบร้อย การประสานกับแผนกต่างๆ มีความส าคัญอย่างยิ่งต่อ

ความส าเร็จของงานภายในองค์การ
6. การรายงาน หมายถึง การรายงานการท างานให้ผู้บังคับบัญชาได้รับทราบ
เมื่อหัวหน้าสั่งงานให้ผู้ใต้บังคับบัญชาท าผลการด าเนินงานดังกล่าวคืบหน้าไปอย่างไร
ผู้ใต้บังคับบัญชาจะต้องรายงานการท างานให้แก่ผู้บังคับบัญชาได้รับทราบ ไม่ว่าจะเกิด

ปัญหาอะไรต่อการด าเนินงาน หรืองานนั้นส าเร็จตามเป้าหมายก็มีความจ าเป็นต้องรายงาน
ให้ผู้บังคับบัญชาได้รับทราบ
7. การจัดท างบประมาณ ผู้บริหารมีหน้าที่ในการจัดท างบประมาณต่างๆ ที่จะ
เกิดขึ้นเพอให้ทราบว่ามีค่าใช้จ่ายในแผนกจ านวนเท่าไรในการจัดท างบประมาณจะต้อง
ื่
เป็นไปด้วยความประหยัดและถูกต้องไม่ควรก าหนดงบประมาณเกินความเป็นจริงมาก
จนเกินไป


Gulick, H. Lutherand Urwick, F. Lyndall, Papers on The Science of
Administration : Notes on the theory of Organization, (New York : Sentry. Gurr,
david. 2000), pp 50–54.

~ ๑๘ ~

ในเรื่องเกี่ยวกับการก าหนดหน้าที่ของผู้บริหาร Harold Koonz (แฮโรลด์ ดี.

คูนตช์) ได้ก าหนดหน้าที่ของผู้บริหารเอาไว้ 5 อย่าง ดังนี้
1. การวางแผน หมายถึง การก าหนดงานที่จะท าเอาไว้ล่วงหน้าเพอให้เกิด
ื่
ความสะดวกต่อการปฏิบัติงานเพราะการท างานจะเป็นไปตามแผนที่ได้ก าหนดเอาไว้ถ้าขาด
การวางแผนในการท างานจะท าให้เกิดการสับสนไม่ทราบว่าหมายในการท างานที่แน่นอน
2. การจัดองค์การเป็นหน้าที่ของผู้บริหารจะต้องจัดท าโครงสร้างของงานต่างๆ
ื่

ื่
ขึ้นเพอให้ทรัพยากรบุคคลเครื่องมืออปกรณ์และเครื่องจักรมีความเหมาะสมเพอที่จะท าให้
การท างานขององค์การบรรลุผลตามเป้าหมาย
3. การจัดคนเข้าท างาน ผู้บริหารจะต้องจัดคนเข้าท างานในต าแหน่งต่างๆ ใน
ี่
องค์การให้ครบถ้วนเหมาะสม เพื่อไม่ให้บุคลากรขาดหรือเกินกับปริมาณงานทมีอยู่
4. การสั่งการ ผู้บริหารหรือหัวหน้ามีหน้าที่ในการสั่งการผู้ใต้บังคับบัญชาให้
ท างานต่างๆ ในหน้าที่โดยชอบธรรมผู้ใต้บังคับบัญชาจะต้องปฏิบัติหน้าที่ตามที่
ผู้บังคับบัญชาสั่งการทั้งนี้เพื่อให้งานดังกล่าวบรรลุผลส าเร็จ
5. การควบคุม เพอให้การท างานต่างๆเป็นไปตามแผนที่ได้ก าหนด ผู้บริหาร
ื่
ื่
จะต้องท าการควบคุมการท างานของผู้ใต้บังคับบัญชาเพอให้เกิดความมั่นใจว่าผลงานที่ได้
ถูกต้องตรงตามมาตรฐานที่ได้ก าหนดทั้งนี้เพื่อให้งานที่ออกมามีคณภาพตรงความต้องการ

๒.๓.๒ แนวคิดของบาร์นาร์ด (Barnard)

บาร์ นาร์ด ได้เขียนหนังสือชื่อ The Functions of the executive เขามี
ความเชื่อว่าหน้าที่ที่ส าคัญของผู้บริหารคือการส่งเสริมให้ทุกคนในองค์การร่วมมือกันเพอ
ื่
ท างานต่างๆ ขององค์การให้บรรลุผลตามเป้าหมายที่องค์การ และได้ก าหนดลักษณะงาน

ขององค์การ 4 ประการ ดังนี้
1. องค์การต้องมีความช านาญเฉพาะด้านหมายความว่า บุคคลในองค์การ
ื่
จะต้องมีการแบ่งเป็นกลุ่มต่างๆ เพอท างานเฉพาะด้านซึ่งจะท าให้เกิดความช านาญในการ
ปฏิบัติงานในการแบ่งกลุ่มงานเพอให้เกิดความช านาญในการท างานอาจมีการแบ่งกลุ่ม
ื่
ท างานตามหน้าที่กลุ่มผู้เชี่ยวชาญหรือกลุ่มอนๆ ทั้งนี้เพอให้บุคคลเหล่านั้นได้ท างานเฉพาะ
ื่
ื่
ด้านจนเกิดความช านาญในการปฏิบัติงาน

๓ Koontz, Harold, Cyril O’Donnell and Heinz Weihrich, Essentials of
Management, 3 rd ed, (New Delhi : TATA McGraw-Hill, 1982), p 114.

Barnard, Chester I., The Functions of the Excutives, (Boston : Harvard
University Press, 1972), pp. 168-169.

~ ๑๙ ~

2. เอกภาพของการบังคับบัญชา ในการท างานต่างๆ เพอให้เกิดประสิทธิภาพ
ื่
ื่
พนักงานในองค์การจะต้องมีผู้บังคับบัญชาเพยงคนเดียวเท่านั้นทั้งนี้เพอไม่ให้พนักงานเกิด

ความสับสนในการปฏิบัติหน้าที่หากมีผู้บังคับบัญชาหลายคนพนักงานไม่รู้จะเชื่อฟงค าสั่ง

ของใครซึ่งจะท าให้เกิดปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่
3. ล าดับชั้นของสายการบังคับบัญชา ภายในองค์การจะต้องมีการก าหนด
ล าดับชั้นของสายการบังคับบัญชาเอาไว้ให้แน่นอนและชัดเจน ตั้งแต่ผู้บริหารระดับสูง
ผู้บริหารระดับกลางผู้บริหารระดับต้นจนถึงผู้ปฏิบัติการ เพอท าให้ทุกคนได้ทราบว่าสาย
ื่
การบังคับบัญชามีกี่ขั้นเพื่อให้ง่ายต่อการปฏิบัติหน้าที่ส าหรับพนักงานทุกคน
4. การประสานงานการประสานงานถือเป็นปัจจัยที่ส าคัญอกอย่างหนึ่งส าหรับ

การบริหาร ถ้าการประสานกับฝ่ายต่างๆ ในองค์การขาดประสิทธิภาพหรือมีปัญหาจะท าให้

การปฏิบัติงานในองค์การเกิดปัญหาต่างๆ ตามมาหลายอย่างการติดต่อสื่อสารภายในแผนก
กับแผนกต่างๆ จะต้องดีมีประสิทธิภาพจึงจะท าให้การท างานในองค์การราบรื่นไปด้วยดี

๒.๓.๓ แนวคิดของแมกซ์เวเบอร์

Max weber (แมกซ์เวเบอร์) เป็นนักสังคมวิทยาชาวเยอรมันผลงานของเขา
เกี่ยวข้องกับการจัดโครงสร้างองค์การภาวะผู้น าการบริหารตามหลักการอย่างมีเหตุผลเขา
เสนอระบบการบริหารราชการว่าเป็นการบริหารอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ มีรูปแบบ
มีเหตุผลเป็นระเบียบเป็นองค์การขนาดใหญ่มีความสลับซับซ้อนมากคนส่วนมากจะมอง

ระบบราชการเป็นระบบการท างานที่ขาดประสิทธิภาพ เพราะมีความล่าช้า ยุ่งยาก ไม่
ทันสมัยแต่ Max weber (แมกซ์เวเบอร์) ไม่ได้มองเช่นนั้น เพราะระบบราชการมี

กฎระเบียบที่แน่นอน เข้มงวด เขาได้ให้แนวคิดเกี่ยวกับระบบราชการเอาไว้ ดังนี้
1. หลักการแบ่งงานกันท าเป็นการก าหนดหน้าที่ตามความช านาญเป็นการ
ก าหนดขอบเขตของงานแต่ละงานอย่างชัดเจนรวมทั้งก าหนดหน้าที่ความรับผิดชอบเพอให้
ื่
แต่ละคนได้ปฏิบัติ
2. มีการก าหนดสายการบังคับบัญชาอย่างชัดเจนจะเห็นได้ว่าระบบราชการมี

การก าหนดสายการบังคับบัญชาเอาไว้ชัดเจนอย่างจากเบื้องสูงลงเบื้องล่างการสั่งการก็
เป็นไปตามสายการบังคับบัญชาถือว่าเป็นระบบที่ดี
3. การคัดเลือกบุคลากรเข้าท างานในต าแหน่งต่างๆ จะใช้หลักในการวัดความรู้
ความสามารถเป็นเกรดและการเลื่อนขั้นเลื่อนต าแหน่งก็จะใช้หลักเกณฑ์นี้ด้วย


Max Weber, The Theory of Social and Economic Organizations,
(Translated by A.M. Handerson and T. Parsons. New York : Free Press, 1947), p. 66.

~ ๒๐ ~

4. มีการก าหนดกฎระเบียบข้อบังคับเอาไว้ให้ทุกคนได้ปฏิบัติตามกฎระเบียบ
ข้อบังคับดังกล่าวจะใช้ในการวัดมาตรฐานในการปฏิบัติงานของทุกคนจะท าให้เกิดความ
เป็นธรรมแก่ผู้ปฏิบัติหน้าที่


5. ในการปฏิบัติงานจะไม่ใช้การติดต่อโดยใช้ความสัมพนธ์ส่วนตัวเพราะ
อาจจะท าให้เกิดปัญหาการปฏิบัติหน้าที่ ดังนั้นในการปฏิบัติงานจะต้องเป็นไปตาม
กฎระเบียบข้อบังคับทุกประการ
ผลงานของ Max weber (แมกซ์เวเบอร์) จะเน้นเก็บเกี่ยวกับทฤษฎีองค์การที่

เกี่ยวข้องกับการจัดโครงสร้างองค์การเป็นการก าหนดหลักเกณฑ์อย่างมีระบบในการ
ปฏิบัติงานจะต้องสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของโครงการเป็นส าคัญ

๒.๓.๔ แนวคิดของ เอลตัน มาโย


เอลตัน มาโย ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับด้านมนุษยสัมพนธ์ในองค์การ เข้าได้
ท าการศึกษาการท างานของพนักงานด้วยการสังเกตและการสัมภาษณ์ พบว่า ทัศนคติและ



ิ่
ความรู้สึกของพนักงานมีอทธิพลต่อผลการผลิตคือจะท าให้ผลผลิตเพมขึ้นความสัมพนธ์ที่ดี
ระหว่างคนในองค์การจะเน้นเพมขวัญ และก าลังใจในการท างานให้เก็บพลังงานเกี่ยวกับ
ิ่

มนุษยสัมพันธ์ของ เอลตัน มาโย พอสรุปได้ ดังนี้
ื้
1. เน้นการศึกษาด้านทัศนคติของคนเพราะทัศนคติจะเป็นพนฐานของ
พฤติกรรมเพราะจะท าให้ทราบว่าท าไมบุคคลจึงมีพฤติกรรมและแสดงออกมาในลักษณะ
นั้นถ้าสามารถท าการเปลี่ยนแปลงทัศนคติคนได้จะท าให้สามารถท าการควบคุมพฤติกรรม
มนุษย์ได้ดังนั้นการฝึกอบรมและพฒนาพนักงานจึงใช้เป็นแนวทางในการเปลี่ยนแปลง

พฤติกรรมของมนุษย์

2. เน้นภาวะผู้น าแบบประชาธิปไตยการท างานในองค์การจะประสบ
ความส าเร็จได้จะต้องอาศัยผู้น าที่ดีผู้น าแบบประชาธิปไตยจะท าให้พนักงานกล้าแสดงความ
คิดเห็นคือกล้าคิดกล้าท าในสิ่งที่ถูกต้องเป็นการให้ทุกคนได้มีส่วนร่วมในการเสนอความคิด
ตัดสินใจในเรื่องต่างๆร่วมกัน

3. เน้นวิธีการท างานที่ดีที่สุดเอลตัน มาโยมีความเห็นสอดคล้องกับ frederick
W. Taylor ในเรื่องวิธีการท างานที่ดีที่สุดเพราะวิธีนี้จะท าให้การท างานเกิดประสิทธิภาพ
สามารถสร้างความสัมพนธ์ให้แก่งานและผู้ปฏิบัติงานได้มีหลักการจูงใจให้คนท างาน ลด

ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในองค์การ


Mayo, Elton, The Human Problems of an Industrial Civilization, (Boston:
Harvard University, 1954), pp. 34-36.

~ ๒๑ ~

๒.๓.๕ แนวคิดของ Mary Parker follett

Mary Parker follett สนใจด้านจิตวิทยาและได้น ามาใช้ในธุรกิจและ
อตสาหกรรม เน้นเรื่องการประสานงานเป็นส าคัญ ได้อธิบายเกี่ยวกับการจัดการว่ามีความ


จ าเป็นต้องมีการประสานงาน 4 ประการ ดังนี้
1. การประสานงานเป็นการติดต่อสื่อสารโดยตรงกับผู้รับผิดชอบงานนั้น
2. การประสานงานและระยะเริ่มแรกของงาน
3. การประสานงานเป็นการสร้างความสัมพนธ์ที่ดีซึ่งกันและกันในแผนกต่างๆ

ขององค์การ
4. การประสานงานมีการกระท ากันอย่างต่อเนื่องเป็นกระบวนการ
Mary Parker follett เชื่อว่ามนุษย์มีความสามารถเรียนรู้เทคนิคต่างๆ ของ
การเป็นผู้น าที่ดีได้ ผู้น าที่ประสบความส าเร็จต้องมีความรู้และเข้าใจในงานเป็นอย่างดีมี
ความสามารถจูงใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชาท างานตามที่ต้องการโดยไม่จ าเป็นต้องใช้อานาจ

หน้าที่อย่างเป็นทางการเพราะถ้าท าอะไรเป็นแบบทางการไปเสียหมดจะท าให้
ผู้ใต้บังคับบัญชาเกิดความเบื่อหน่ายไม่อยากปฏิบัติหน้าที่

๒.๓.๖ แนวคิดของเฮอร์เบิร์ต ไซมอน

เฮอร์เบิร์ต ไซมอน ได้เสนอทฤษฎีในการตัดสินใจเขาได้ประยุกต์แนวความคิด
แบบระบบราชการที่ในการมีระบบมีเหตุผลแต่น่าจะมนุษย์เป็นผู้มีเหตุผลงานจ ากัดดังนั้น

มนุษย์จึงท าการตัดสินใจไปตามความเข้าใจของตน ไซม่อนได้อธิบายเกี่ยวกับแนวคิดในการ

ตัดสินใจเอาไว้ 2 ประการ คือ
ื่
1. การใช้อานาจหน้าที่กับผู้ใต้บังคับบัญชาในการใช้อานาจของผู้บริหารเพอ

ตัดสินใจให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติหน้าที่จ าเป็นต้องใช้การจูงใจหลายด้านเพอให้งานนั้น
ื่
ส าเร็จ เช่น เงินเดือน ค่าจ้าง การเลื่อนขั้น เลื่อนต าแหน่ง หรืออาจจะใช้การลงโทษ
2. การควบคุมการท างานด้วยตัวเองของพนักงาน องค์การจะต้องท าให้
ื่
ื่
พนักงานมีทัศนคติเพอแสดงพฤติกรรมและมีจิตใจเพอเป็นการช่วยเขาให้สามารถตัดสินใจ

อันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อองค์การ องค์การอาจท าได้โดยการฝึกอบรมและพฒนาให้ความรู้
ื่
แก่พนักงาน เป็นการปลูกฝังความรู้สึกรับผิดชอบในการท างานเพอควบคุมการท างานด้วย
ตนเองได้

๗ follet, Mary Parker, Dynamic Administration, (New York : Harper and Row.
Gregg, Russell, 1941), p. 78.

Simon, Herbert A., Administrative Behavior, (New York : The McMillen
Company, 1960), pp. 23-24.

~ ๒๒ ~

๒.๓.๗ แนวคิดของแคตซ์และคาห์น

แคตซ์และคาห์น ได้เสนอแนวคิดองค์การเป็นระบบเปิดการมีความสัมพนธ์กับ

สภาพแวดล้อมต่างๆ เป็นลักษณะที่ส าคัญของแนวคิดนี้ซึ่งแนวคิดองค์การเป็นระบบเปิด

ของแคตซ์และคาห์น พอสรุปได้ดังนี้
1. ในระบบหนึ่งจะประกอบด้วยระบบย่อยที่ต้องพงพา อาศัยกันและมี
ึ่
ความสัมพนธ์ระหว่างกันดังนั้นในการท างานในองค์การย่อมมีระบบย่อยหลายระบบแต่ละ

ระบบจะต้องพึ่งพาอาศัยกันเพอให้งานขององค์การบรรลุวัตถุประสงค์
ื่
2. องค์การเป็นระบบเปิดย่อมมีการเคลื่อนไหวอยู่เสมอมากกว่าการเป็นระบบ
เปิดย่อมมีการเคลื่อนไหวหรือเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลาไม่หยุดนิ่งอยู่กับที่
ื่
3. มีการแข่งขันกันทางนี้เพอเป็นการรักษาดุลยภาพของระบบการแข่งขันกัน
ในองค์การเป็นสิ่งที่เกิดตามปกติธรรมชาติเพราะการแข่งขันจะน าไปสู่ความส าเร็จการ
สร้างสรรค์สิ่งใหม่ให้เกิดขึ้น

4. การที่องค์การมีเป้าหมายมีวัตถุประสงค์มีหน้าที่หลายๆ อย่างอาจเป็น
ต้นเหตุที่ท าให้เกิดความขัดแย้งในองค์การได้เพราะอาจจะมีบางอย่างที่เห็นไม่สอดคล้องกัน
ซึ่งจะท าให้เกิดปัญหา

๒.๓.๘ แนวคิดของ เอ็ดเวิร์ด ทอร์นไดก์

๑๐
เอดเวิร์ด ทอร์นไดก์ ได้ศึกษาเกี่ยวกับเรื่อง กฎแห่งผลเป็นเรื่องของ

พฤติกรรมที่เกิดขึ้นเมื่อมีสิ่งมากระตุ้นในทางบวกซ้ ากันหลายหลายครั้งซึ่งจะท าให้มีการ

แสดงพฤติกรรมออกมาที่เรียกว่าเสริมแรงหรือเป็นแรงจูงใจ ดังนั้น ผู้บริหารมีอทธิพลท าให้
พลังงานแสดงพฤติกรรมออกมาได้หลายอย่างดังต่อไปนี้
1. เสริมแรงทางบวกเป็นพฤติกรรมที่แสดงออกมาในทางที่ดีการมีบรรยากาศ

ในการท างานที่ดีท าให้พนักงานมีความพงพอใจในการท างานเพมขึ้นการประมวลผลการ

ิ่
ท างานของพนักงานเป็นที่น่าพอใจส่งผลให้พนักงานได้ค่าตอบแทนสูงขึ้นเป็นการจูงใจให้
พลังงานแสดงพฤติกรรมออกมาในทางที่ดีต่อการปฏิบัติงาน
2. เสริมแรงในทางลบเป็นการลงโทษพนักงานเพอไม่ให้เขากระท าในสิ่งที่ไม่ดี
ื่
หรือแสดงพฤติกรรมไปในทางที่องค์การไหว้ครูประสงค์ ผู้บริหารอาจไม่ให้การสนับสนุน

๙ Katz, D., & Kahn, R.L., The Social Psychology of Organization (2nd ed.),
(New York: John Wiley & Sons, 1978), p. 87.
๑๐
Thorndike, Edward Lee, Connectionism Theory, (University of London,
1975), p. 47.

~ ๒๓ ~

ื่
ส่งเสริม เลื่อนขั้นเลื่อนต าแหน่ง เพมค่าจ้างให้แก่พนักงานเหล่านี้เป็นการลงโทษเพอไม่ต้อง
ิ่

ต้องการให้พวกเขากระท าพฤติกรรมที่ไม่ดีอก
3. การลงโทษเป็นการลงโทษพนักงานที่ท าผิดกฎระเบียบข้อบังคับต่างๆของ
องค์การ เช่น การขาดงานการไม่ปฏิบัติตามค าสั่งของผู้บังคับบัญชาหลัก
4. ไม่กระท าเสริมแรง คือผู้บริหารแม้ก าลังเสริมแรงใดๆ ทั้งนั้นไม่ว่าจะเป็น
เสริมแรงในทางบวก คือ การเพิ่มค่าจ้างหรือยกย่องชมเชยเมื่อพนักงานกระท าในสิ่งที่ดี
ในการเพมเสริมแรงในทางบวกและทางลบให้แก่พนักงานได้มีข้อสรุปว่า
ิ่
พนักงานมีความต้องการให้องค์การเพมเสริมแรงในทางบวกเพราะจะท าให้พลังงานแสดง
ิ่
ิ่
พฤติกรรมที่ดี เช่น การเพมค่าจ้างและการชมเชยยกย่องพนักงานที่กระท าสิ่งที่ดีงามเป็น

ประโยชน์ต่อการท างานจะส่งผลท าให้พนักงานแสดงบริการที่ดีๆออกมาอกซึ่งจะเป็นผลดี
ต่อองค์การ พนักงานจะหลีกเลี่ยงพฤติกรรมในทางลบถ้าได้รับการลงโทษหรือให้เสริมแรง
ในทางลบ

๒.๓.๙ แนวคิดของจอห์น วัตสัน
๑๑
ในตอนต้นศตวรรษที่ 20 (1878-1958) John Watson ได้เสนอแนวคิดด้าน

พฤติกรรมเขาอธิบายว่าพฤติกรรมเกิดขึ้นจากความสัมพนธ์ของสิ่งเร้าและการตอบสนอง
ดังนั้นในการศึกษาสิ่งเร้าและการตอบสนองจะท าให้เข้าใจพฤติกรรมต่างๆ ได้
สิ่งเร้า คือสิ่งต่างๆ ที่มากระตุ้นให้ร่างกายมีปฏิกิริยาตอบสนองซึ่งจะส่งผลท า

ให้มนุษย์สร้างพฤติกรรมออกมา เช่น ถ้าผู้บริหารใช้การจูงใจพนักงานโดยการให้รางวัล
ส าหรับคนที่ขยันท างานซึ่งรางวัลดังกล่าวจะเป็นสิ่งกระตุ้นให้พนักงานเกิดความขยันท างาน
เพอจะได้รับรางวัลตามที่ผู้บริหารใช้เป็น สิ่งจูงใจ ดังนั้น รางวัลจึงเรียกว่าเป็นสิ่งกระตุ้น
ื่
เพื่อให้พนักงานทราบพฤติกรรมหรือปฏิกิริยาออกมา
การตอบสนอง คือปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นโดยสิ่งกระตุ้นนั้น คือความขยันของ
พนักงานเกิดขึ้นเพราะมีสิ่งกระตุ้น คือ ตัวรางวัล ดังนั้น ปฏิกิริยาหรือพฤติกรรมที่พนักงาน
แสดงออกมาเพื่อเป็นการตอบสนองคือความขยันท างานเพื่อเขาจะได้รับรางวัลดังกล่าวสิ่งที่

เกิดขึ้นจะท าให้เราสามารถเข้าใจได้ว่า ท าให้พนักงานจึงมีพฤติกรรมในทางบวก เพราะเขา
ต้องการรางวัลซึ่งเป็นตัวกระตุ้นหรือเป็นสิ่งเร้าท าให้เขาสร้างพฤติกรรมดังกล่าว
นอกจากนั้น John Watson ยังให้ความส าคัญว่าพฤติกรรมทุกอย่างของมนุษย์เกิดจากการ
เรียนรู้ การเข้าใจกระบวนการเรียนรู้จะท าให้เราเข้าใจพฤติกรรมของมนุษย์ได้อย่างแท้จริง

๑๑
John Watson อ้างใน สุพานี สฤษฎ์วานิช, พฤติกรรมองค์การสมัยใหม่: แนวคิดและ
ทฤษฎี, (กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น, ๒๕๔๙), หน้า ๕๔-๕๖.

~ ๒๔ ~

๒.๓.๑๐ แนวคิดของซิกมัน ฟรอยด์

ซิกมัน ฟรอยด์ เป็นจิตแพทย์ชาวออสเตรเลียเขาได้อธิบายว่าจิตของมนุษย์มี

ทั้งหมด 3 ส่วน คือ จิตส านึก จิตกึ่งส านึก และจิตใต้ส านึก จิตที่มีอทธิพลต่อการจูงใจใน
พฤติกรรมและการด าเนินชีวิตของมนุษย์เรามากที่สุด คือ ส่วนที่เป็นจิตใต้ส านึกสิ่งที่คนเรา

มักจะเก็บกดลงไปในจิตใต้ส านึก คือ ความต้องการก้าวร้าวกับความต้องการทางเพศ ซึ่งจะ
๑๒

มีอทธิพลสร้างผนังผลักดันต่อพฤติกรรมของมนุษย์ได้มาก ซิกมัน ฟรอยด์ ได้เสนอ
แนวคิดเกี่ยวกับบุคลิก ภาพของมนุษย์ว่าประกอบด้วยโครงสร้างใหญ่ๆ 3 ส่วนคือ


1. อด คือส่วนที่ยังไม่ได้ขัดเกลาเป็นการแสวงหาความสุขความพอใจด้วยถือ
ตนเองเป็นหลักเป็นพลังขับหาให้เหมือนกระท าพฤติกรรมต่างๆตามความพอใจของตน เป็น
การตอบสนองความต้องการที่ติดมาแต่ก าเนิด พลังขับที่ส าคัญ คือสัญชาตญาณทางเพศ
ความต้องการและความพอใจที่ได้รับการตอบสนองตั้งแต่วัยทารก วัยรุ่นจนถึงวัยผู้ใหญ่
2. อโก้ เป็นส่วนที่ใช้ตัดสินใจ โดยค านึงถึงสภาพความเป็นจริงในสถานการณ์



นั้นๆ ดังนั้นอโก้ คือ พลังจิตที่ควบคุมการแสดงพฤติกรรมให้เหมาะสม อโก้ มีหน้าที่ 3
ประการ ดังนี้
ก. ควบคุมมิให้ความต้องการมนุษย์ที่เกิดจากพลังของอดซึ่งเป็นสิ่งที่ไม่พง


ประสงค์ของสังคมปรากฏออกมา
ข. ปรับปรุงแก้ไขความทุกข์อันเนื่องมาจากการต้องเก็บกดความต้องการที่

ื่
เกิดจากพลังขับของอด คือเป็นการระงับความขัดแย้งระหว่างความต้องการเพอตอบสนอง
ความพอใจของตนกับความรู้สึกผิดชอบชั่วดีซึ่งท าให้มนุษย์เกิดความกระวนกระวาย ทุกข์
ร้อน หงุดหงิดและอาจรุนแรงถึงขั้นเป็นโรคประสาทได้ในการแก้ไขหรือคลายความทุกข์ อ ี
โก้อาจใช้วิธีเพื่อป้องกันตนเองโดยการแสดงพฤติกรรมต่างๆ ออกมาโดยไม่รู้สึกตัวเช่น การ
ก้าวร้าว การเก็บกด หาสิ่งทดแทนหรือการหลีกเลี่ยง
ค. การบรรลุธรรมขั้นสูง เป็นการเรียนรู้ที่จะปรับตัวให้ได้อย่างเหมาะสม

ในวิถีทางที่สังคมยอมรับ ก็จะสามารถแก้ปัญหาและขจัดความทุกข์ให้แก่ตนได้
3. ซุปเปอร์อโก้ เป็นส่วนของจิตที่ได้มีการเรียนรู้ถึงผิดชอบชั่วดีมีความหมาย

ต่อการกระท าผิด คิดถึงเหตุผลและผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น ค านึงถึงสิ่งแตกต่างอย่างรอบคอบ
ก่อนจะตัดสินใจอะไรลงไป เป็นการยึดเหนี่ยวกับหลักของศีลธรรม คุณธรรม คุณความดี

และอุดมคติต่างๆที่ผ่านการปลูกฝังเรียนรู้มา ดังนั้น super ego จึงเป็นสิ่งคอยควบคุมเพอ
ื่
ไม่ให้มนุษย์แสดงพฤติกรรมตามความต้องการของตนเองหรือตามสัญชาตญาณที่ติดตัวมา

๑๒
Freud, Sigmund, An outline of Psychoanalysis, (New York : W.W., 1947),
p. 22.

~ ๒๕ ~

ื่
ตั้งแต่เกิด ทั้งนี้เพอให้มนุษย์สามารถอยู่ร่วมกับบุคคลในสังคมได้และเป็นที่ยอมรับของ
บุคคลในสังคมที่เขาอาศัยอยู่

๒.๔ สรุป

ทฤษฎีพฤติกรรมองค์การเป็นการศึกษาเกี่ยวกับวิวัฒนาการของทฤษฎี

พฤติกรรมองค์การตั้งแต่อดีตซึ่งจะท าให้ทราบถึงแนวคิดในด้านต่างๆ เกี่ยวกับพฤติกรรม
องค์การการเปลี่ยนแปลงด้านบริหารจัดการรวมถึงปัญหาต่างๆ เพราะปัจจัยดังกล่าวมี
ความส าคัญและเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาพฤติกรรมองค์การแนวคิดและทฤษฎีต่างๆ
ที่กล่าวถึงในบทนี้ประกอบด้วยทฤษฎีการบริหารทั่วไปหรือทฤษฎีคลาสสิกเป็นเรื่องเกี่ยวกับ

กิจกรรมด้านเทคนิค กิจกรรมด้านการค้า กิจกรรมด้านการเงิน กิจกรรมด้านความมั่นคง
กิจกรรมด้านบัญชี กิจกรรมด้านการจัดการ แนวคิดและทฤษฎีของลูเทอร์ โดยได้ก าหนด
หน้าที่ของผู้บริหาร 7 อย่างคือ การวางแผน การจัดองค์การ การจัดคนเข้าท างาน

การอ านวยการ การประสานงาน การรายงาน การจัดท างบประมาณ แนวคิดของบาร์นาร์ด
ให้ความเห็นเกี่ยวกับลักษณะงานขององค์การ 4 ประการ คือ องค์การต้องมีความช านาญ
เฉพาะด้าน เอกภาพของการบังคับบัญชา ล าดับชั้นของสายการบังคับบัญชา การ
ประสานงานแนวคิดของ Max weber เน้นระบบราชการ คือ หลักการแบ่งงานกันท า มี
สายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน การคัดเลือกบุคลากร กฎระเบียบข้อบังคับ แนวคิดของเอล

ตัน มาโย เน้นการศึกษาทัศนคติของคน ภาวะผู้น าแบบประชาธิปไตยในการท างานที่ดีที่สุด
เป็นต้น
ดังนั้น ในการศึกษาทฤษฎีพฤติกรรมองค์การจึงมีความส าคัญต่อผู้บริหาร

องค์การอย่างมากเพราะจะท าให้เข้าใจบทบาทหน้าที่สภาพแวดล้อมต่างๆ ในองค์การ
บริกรรมของบุคคลในองค์การซึ่งจะท าให้ผู้บริหารทราบถึงพฤติกรรมของคนได้ดียิ่งขึ้นและ
จะเป็นประโยชน์ต่อการบริหารจัดการในองค์การด้วย

~ ๒๖ ~

ค าถามท้ายบท

๑. จงวิเคราะห์หลักทฤษฎีองค์การก่อน ค.ศ. 1900

๒. จงวิเคราะห์หลักทฤษฎีคลาสสิก

๓. จงวิเคราะห์แนวคิดของซิกมัน ฟรอยด์

๔. จงวิเคราะห์แนวคิดของจอห์น วัตสัน

๕. จงวิเคราะห์แนวคิดของ Mary Parker follett

๖. จงวิเคราะห์แนวคิดของบาร์นาร์ด (Barnard)

๗. จงวิเคราะห์แนวคิดของเฮอร์เบิร์ต ไซมอน

๘. จงวิเคราะห์แนวคิดของแมกซ์เวเบอร์

~ ๒๗ ~

อ้างอิงท้ายบท


สุพานี สฤษฎ์วานิช. พฤติกรรมองค์การสมยใหม: แนวคิดและทฤษฎี. กรุงเทพมหาคร : ซี

เอ็ดยูเคชั่น, ๒๕๔๙.
Barnard. Chester I.. The Functions of the Excutives. Boston : Harvard
University Press, 1972.
follet. Mary Parker. Dynamic Administration. New York : Harper and Row.

Gregg. Russell, 1941.
Freud. Sigmund. An outline of Psychoanalysis. New York : W.W., 1947.
Gulick. H. Luther and Urwick. F. Lyndall. Papers on The Science of
Administration : Notes on the theory of Organization. New
York : Sentry. Gurr. David, 2000.

Katz. D.. & Kahn. R.L.. The Social Psychology of Organization 2nd ed.. New
York: John Wiley & Sons, 1978.
Koontz. Harold. Cyril O’Donnell and Heinz Weihrich. Essentials of

Management. 3 rd ed. New Delhi : TATA McGraw-Hill, 1982.
Max Weber. The Theory of Social and Economic Organizations.
Translated by A.M. Handerson and T. Parsons. New York : Free
Press, 1947.

Mayo. Elton. The Human Problems of an Industrial Civilization. Boston:
Harvard University, 1954.
Simon. Herbert A.. Administrative Behavior. New York : The McMillen
Company, 1960.

Taylor. Frederick W. The Principles of Scientific Management. New York:
Harper, 2002.
Thorndike. Edward Lee. Connectionism Theory. University of London, 1975.

บทท ๓
ี่

สภาพแวดล้อมในองค์การ

๓.๑ บทน า

การด าเนินงานขององค์การในปัจจุบันได้รับผลกระทบอย่างมากจาก
สภาพแวดล้อม องค์การอาจประสบความส าเร็จ เจริญเติบโตและก้าวหน้าได้หาก
สามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ในขณะเดียวกันองค์การก็อาจล่ม
สลายหรือประสบกับปัญหานานัปการเช่นกันหากไม่สามารถปรับตัวตาม

สภาพแวดล้อมได้ องค์การทุกองค์การจึงต้องมีปฏิสัมพนธ์กับสภาพแวดล้อม
กล่าวคือ สภาพแวดล้อมจะส่งผลต่อการท างาน ประสิทธิผล และการอยู่รอดของ
องค์การ ขณะเดียวกันองค์การก็มีส่วนในการสร้างสรรค์ และปันแต่ง
สภาพแวดล้อมของตนเองได้เช่นกัน ความสัมพนธ์ระหว่างองค์การและ

สภาพแวดล้อมขององค์การจึงมีลักษณะที่เคลื่อนไหวตลอดเวลาและสามารถมอง
ได้หลายมิติ (Dynamic and multifaceted) โดยเฉพาะองค์การภาครัฐซึ่งต้อง
รับผิดชอบต่อความต้องการของบุคคล กลุ่ม และองค์การต่าง ๆ ซึ่งมีความแตกต่าง
หลากหลายอย่างมาก

การท าความเข้าใจและศึกษาถึงสภาพแวดล้อมขององค์การจึงเป็น
ประเด็นส าคัญในการศึกษาองค์การโดยเฉพาะอย่างยิ่งในปัจจุบันที่โลกก้าวเข้าสู่ยุค
การติดต่อสื่อสารที่รวดเร็วการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ กระทบทุกส่วนหรือทุกพนที่
ื้
ของโลกอย่างมากองค์การในสังคมหนึ่งอาจถูกกระทบจากอกองค์การหนึ่งที่มีที่


ตั้งอยู่ห่างกันเกินกว่าครึ่งโลกได้ ในบทนี้จึงจะพจารณาถึงสภาพแวดล้อมของ
องค์การโดยจะพจารณาถึงความหมาย ปัจจัยสภาพแวดล้อมในองค์การ ลักษณะ

ของสภาพแวดล้อม กรอบแนวความคิดในการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม รวมถึง
วิธีการในการจัดการกับสภาพแวดล้อมขององค์การ

๓.๒ ความหมายของสภาพแวดล้อม

ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์ ได้กล่าวว่า สภาพแวดล้อมขององค์การ
หมายถึง ปัจจัยต่าง ๆ ที่อยู่ล้อมรอบองค์การและสามารถส่งผลกระทบ ต่อการ

~ ๒๙ ~

ท างานและการเข้าถึงทรัพยากรที่หายาก ได้แก วัตถุดิบ คนงานที่มีความเชี่ยวชาญ

ข้อมูลข่าวสารที่ใช้ในการปรับปรุงเทคโนโลยี การสนับสนุนจากลูกค้าและผู้มีส่วน

ร่วม สถาบันการเงินและคู่แข่งเป็นต้น
พิทยา บวรวฒนา ได้กล่าวว่า สภาพแวดล้อม หมายถึง ทุกสิ่งทุก

อย่างที่อยู่นอกองค์การ อันได้แก่ ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สภาพการเมือง ลักษณะของ

สังคมโครงสร้างของกฎหมาย นิเวศวิทยาและวัฒนธรรม
สาคร สุขศรีวงศ์ ได้กล่าวว่า สภาพแวดล้อมภายใน คือปัจจัยต่าง ๆที่
อยู่ในองค์การและสามารถควบคุมได้ คือ ระบบงาน ผู้มีส่วนได้เสียในองค์การ สิ่ง

อ านวยความสะดวก และวัฒนธรรมองค์การ


อทัย เลาหวเชียร ได้ให้ความหมายของสภาพแวดล้อมของงานคือ
สิ่งแวดล้อมที่มีผลกระทบโดยตรงต่อการบริหารงาน สิ่งแวดล้อมของงานที่ส าคัญมี

อยู่ ๔ ประการ คือ ลูกค้า คู่แข่งขัน ผู้ผลิต และหน่วยงานควบคุม
Richard L. Daft ให้ความหมายของสภาพแวดล้อมว่า ทุกสิ่งทุก
อย่างที่อยู่ภายนอกขอบเขตขององค์การซึ่งมีผลกระทบต่อองค์การหรือส่วนใดส่วน

หนึ่งขององค์การ
Stephen R Robbins ให้ความหมายสภาพแวดล้อมว่า ทุกสิ่งทุก

อย่างที่อยู่ภายนอกอาณาเขตขององค์การ

๑ ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์, ทฤษฎีองค์การสมัยใหม่, (พิมพ์ครั้งที่ ๕),
(กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์แซทโฟร์ พริ้นติ้ง, ๒๕๔๗), หน้า ๑๒๓.
๒ พิทยา บวรวัฒนา, ทฤษฎีองค์การสาธารณะ, (พิมพ์ครั้งที่ ๔),
(กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๔), หน้า ๑๑๕.
๓ สาคร สุขศรีวงศ์, การจัดการ : จากมุมมองนักบรหาร, (พิมพ์ครั้งที่ ๓),

(กรุงเทพมหานคร : ส านักพิมพ์ จี พี ไซเบอร์พรินท์, ๒๕๕๐), หน้า ๖๙.


๔ อุทัย เลาหวิเชียร, รัฐประศาสนศาสตร ลักษณะวิชาและมิติต่าง ๆ, (พิมพครั้ง
ที่ ๖), (กรุงเทพมหานคร: ส านักพิมพ์เสมาธรรม, ๒๕๔๓), หน้า ๘๔.

๕ Richard L. Daft, Organization theory and design, edition.
(Singapore: West Publishing Company, 1992), p. 71.
๖ Stephen P. Robbins, Organization Theory: structure designs and

applications, edition. (Englewood Cliffs New Jersey: Prentice – Hall Inc.,
1990), p. 206.

~ ๓๐ ~

กล่าวโดยสรุป สภาพแวดล้อมองค์การ หมายถึง สภาพการณ์หรือสิ่ง

ต่าง ๆ ทั้งที่อยู่ภายในองค์การเองและภายนอกองค์การที่มีอทธิพลต่อองค์การ ซึ่ง
ความหมายนี้จะท าให้เกิดการมองสภาพแวดล้อมขององค์การได้กว้างขึ้น และจะ
ก่อให้เกิดผลดีในการวิเคราะห์องค์การมากขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากหลาย ๆ ครั้ง องค์การ

มีปัญหาในการจัดการกับสภาพแวดล้อมภายในและบรรยากาศในการท างานใน
องค์การเองมากกว่าปัญหาที่เกิดจากสิ่งที่อยู่ภายนอกองค์การ ประกอบกับการ
จัดการกับสภาพภายนอกองค์การสามารถจัดกระท าได้ยาก ในขณะที่สภาพภายใน
องค์การเองเป็นสิ่งที่องค์การสามารถเข้าไปด าเนินการได้มากกว่า หรือมีความ

สะดวกในการจัดการเพราะขึ้นอยู่กับองค์การเอง

๓.๓ ปัจจัยสภาพแวดล้อมขององค์การ

สภาพแวดล้อมขององค์การว่าประกอบด้วยปัจจัยหรือส่วนต่าง ๆ 10
ส่วนด้วยกัน ซึ่งปัจจัยเหล่านี้ถือเป็นสภาพแวดล้อมของงาน (Task environment)

มีผลกระทบต่อการบรรลุเป้าหมายขององค์การโดยตรง ปัจจัยเหล่านี้ได้แก่

1. ปัจจัยด้านอตสาหกรรม (Industry sector) ซึ่งได้แก่ ขนาดของ



อตสาหกรรมและสภาพการแข่งขันในอตสาหกรรมนั้น ๆ รวมถึงอตสาหกรรมที่มี
ความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน คู่แข่งที่ท ากิจการประเภทเดียวกัน
2. ปัจจัยด้านปัจจัยการผลิตหรือวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต (Raw
materials sector) จะพจารณาถึงปัจจัยที่สนับสนุนการท างานในองค์การ ผู้ป้อน

วัตถุดิบให้แก่องค์การ โรงงานผลิต การบริการที่เกี่ยวข้อง
3. ปัจจัยด้านทรัพยากรมนุษย์ (Human resources sector) ได้แก่

การพจารณาถึงตลาดแรงงาน หน่วยงานจัดหางาน สถาบันการศึกษาในฐานะที่
เป็นแหล่งสร้างแรงงานที่จะป้อนเข้าสู่ระบบ สถานฝึกอบรม สหภาพแรงงานและ
พนักงานในองค์การหรือหน่วยงานอื่น ๆ
4. ปัจจัยด้านการเงิน (Financial resources sector) สภาพแวดล้อม

ในส่วนนี้จะพจารณาในเรื่องการซื้อขายหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ ระบบการเงิน

ธนาคาร อัตราการออม การกู้เงิน อัตราดอกเบี้ยและการลงทุนของเอกชน

๗ Richard L. Daft, Organization Theory and Design, pp. 71-72.

~ ๓๑ ~


5. ปัจจัยด้านการตลาด (Market sector) เป็นการพจารณาถึงสภาวะ
การตลาด เช่น ลูกค้า ผู้ที่อยู่ในข่ายที่จะใช้สินค้าหรือบริการขององค์การ
6. ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (Technology sector) ซึ่งได้แก่ เทคนิคการ
ผลิตวิทยาการต่าง ๆ การวิจัยในด้านที่เกี่ยวข้อง เครื่องมือหรืออปกรณ์อตโนมัติ


ปัจจัยการผลิตใหม่ ๆ
7. ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ (Economic conditions sector) จะ


ประกอบด้วยสภาพการณ์ต่าง ๆ ทางด้านเศรษฐกิจ เช่น อตราการว่างงาน อตรา
เงินเฟ้อ อัตราการลงทุน การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เป็นต้น
8. ปัจจัยด้านการควบคุมหรือภาคราชการ (Government sector)

ในสวนนี้จะพจารณาถึงกฎหมาย ระเบียบ ข้อบังคับของหน่วยงานราชการทั้งใน

ส่วนกลางและส่วนท้องถิ่น ระบบและอตราภาษี ระบบและกระบวนการทางการ
เมือง กระบวนการยุติธรรม การจัดบริการต่าง ๆ ที่รัฐจัดให้

9. ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม (socio-cultural sector) จะเป็น
เรื่องของค่านิยมและวัฒนธรรมในสังคมที่มีผลต่อการด าเนินงานขององค์การ เช่น
โครงสร้างประชากร อายุของประชาชนในสังคม ค่านิยม ความเชื่อของคน ระดับ

การศึกษาของประชาชน ศาสนา จริยธรรมในการท างาน การบริโภค การ
เคลื่อนไหวด้านสิ่งแวดล้อม
10. ปัจจัยจากต่างประทศ (International sector) ปัจจัยนี้เป็น
สภาพของการท างานขององค์การที่ถูกกระทบจากสภาวะโลกาภิวัตน์ ที่มีการ

ด าเนินกิจการต่าง ๆ ข้ามชาติมากขึ้น การแขงขันในระหว่างองค์การมีมากขึ้น การ

กีดกันทางการค้าไม่สามารถท าได้ ปัจจัยในด้านนี้จะพจารณาถึงการแข่งขันจาก
บริษัทต่างชาติ การเข้าสู่ระดับนานาชาติ หรือตลาดต่างประเทศ ระเบียบกฎเกณฑ์
ต่าง ๆ ในการด าเนินกิจการ ระบบศุลกากร และอัตราการแลกเปลี่ยน เป็นต้น

ปัจจัยที่ใช้พจารณาสภาพแวดล้อมองค์การของ Richard L. Daft ทั้ง

10 ประการนี้ เป็นสภาพแวดล้อมที่พบได้ในองค์การเอกชน

~ ๓๒ ~

๓.๔ ประเภทของสภาพแวดล้อมองค์การ

จากปัจจัยที่ใช้พจารณาสภาพแวดล้อมขององค์การนักวิชาการได้แบ่ง


ประเภทสภาพแวดล้อมขององค์การออกเป็น 2 ประเภท คือ สภาพแวดล้อม
ภายนอกองค์การ (External environment) และสภาพแวดล้อมภายในองค์การ

(Internal environment) ซึ่งในแต่ละประเภทจะมีรายละเอียดดังนี้ คือ
1. สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การ (External environment)
ได้แก่ สิ่งที่อยู่ภายนอกองค์การและมีผลกระทบต่อการด าเนินงานขององค์การ

โดยทั่วไปแล้วเมื่อพดถึงสภาพแวดล้อมองค์การ คนส่วนใหญ่จะมุ่งไปที่
สภาพแวดล้อมภายนอกมากกว่าสภาพแวดล้อมภายในองค์การ สภาพแวดล้อม
ภายนอกจึงเป็นหัวข้อหรือประเด็นหลักในการศึกษาสภาพแวดล้อมองค์การ
สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การสามารถแยกย่อยได้อก 2 ประเภท คือ

สภาพแวดล้อมทั่วไป (General environment) และสภาพแวดล้อมเฉพาะ
(Specific task environment) ดังนี้
1.1 สภาพแวดล้อมทั่วไป (General environment) ได้แก่
สิ่งต่าง ๆ ที่อาจมีผลกระทบต่อองค์การ แต่ไม่สามารถเห็นความเกี่ยวข้อง หรือ

สัมพันธ์ระหว่างปัจจัยเหล่านี้กับองค์การหรือการบรรลุผลขององค์การได้โดยตรง
สภาพแวดล้อมโดยทั่วไปมักจะเป็นเรื่องที่เป็นเงื่อนไขกว้าง ๆ หรือแนวโน้มทั่ว ๆ
๑๐
ไปซึ่งไม่ส่งผลกระทบโดยตรงต่อองค์การ ซึ่งประกอบด้วยปัจจัยต่างๆคือ
1) ปัจจัยทางเศรษฐกิจ (economic factors/economic

climate) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวกับภาพรวมทางด้านเศรษฐกิจของประเทศที่องค์การ
ตั้งอยู่สภาพเศรษฐกิจของแต่ละสังคมในแต่ละช่วงเวลาจะเปลี่ยนแปลงไป การ
พจารณาถึงปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจจึงต้องพจารณาเวลาประกอบด้วย ปัจจัย


ทางด้านเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อองค์การทั้งในภาครัฐและองค์การเอกชน
องค์การภาครัฐได้รับผลทางด้านเศรษฐกิจจากเรื่องของอตราภาษี การจัดเก็บภาษี

๘ พิทยา บวรวัฒนา, ทฤษฎีองค์การสาธารณะ, หน้า ๑๑๙-๑๒๓.
๙ Stephen P. Robbins, Organization Theory structure designs and
applications, p. 206.
๑๐ Jay B. Barney and Ricky W. Griffin, The Management of
organizations, (Boston: Houghton Mifflin Company, 1992), p. 109.

~ ๓๓ ~

ที่เป็นรายได้ของรัฐ ความต้องการของสังคมที่มีต่อบริการของรัฐ ซึ่งอาจแปรผัน
ตามภาวะเศรษฐกิจที่เกิดขึ้น เป็นต้น ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจจะประกอบด้วยตัว
๑๑
แปรย่อยที่ต้องพจารณาหลายประการด้วยกัน เช่น ทุน (capital) ซึ่งได้แก่

ื้
ปัจจัยพนฐานที่ใช้ในการผลิตสินค้าหรือบริการขององค์การ เช่น เครื่องจักร
เครื่องมือในการผลิตแรงงาน (labor) ซึ่งได้แก่การจ้างงานในตลาดแรงงาน

ลักษณะของแรงงาน ระบบการฝึกอบรมพฒนาฝีมือแรงงาน ระดับราคาใน
ท้องตลาด ดัชนีผู้บริโภคซึ่งแสดงถึงภาวะทางเศรษฐกิจของประทศ นโยบาย
ทางด้านการคลังและการเงินของประเทศ แนวนโยบายของรัฐในด้านเศรษฐกิจ




อตราดอกเบี้ย อตราภาษี การสนับสนุนของรัฐในด้านเศรษฐกิจ เป็นต้น อตรา


ผลตอบแทนจากการลงทุน อตราการออมและการลงทุนในประทศ อตราเงินเฟอ

อัตราการแลกเปลี่ยน อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจรวมถึงวงจรธุรกิจของแต่
ละประทศด้วย
2) ปัจจัยทางด้านการเมืองและกฎหมาย (political and
legal) ได้แก่ ผลกระทบจากระบบการเมือง และกฎหมายรวมถึงแนวนโยบายต่าง
ๆ ของรัฐที่มีต่อองค์การ ระบบการเมืองและกฎหมายของแต่ละประทศจะแตกต่าง

กันและส่งผลกระทบต่อองค์การต่างกัน ซึ่งสิ่งเหล่านี้จะเข้ามาควบคุมการท างาน
ขององค์การในด้านต่าง ๆ เช่น รัฐมีนโยบายป้องกันการผูกขาด ก็อาจออก
กฎหมายป้องกันการผูกขาด ซึ่งจะส่งผลให้เกิดการแข่งขันกันประกอบการใน
ระบบเศรษฐกิจ หรือในกรณีของประทศไทย รัฐบาลในสมัยนายอานันท์ ปันยา
รชุน เป็นนายกรัฐมนตรี มีกฎกระทรวงห้ามสร้างอาคารสูงในพนที่ที่มีที่ดินติดถนน
ื้
ต่ ากว่า 18 เมตร ก็ส่งผลกระทบต่อการประกอบกิจการของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์
เป็นต้น ปัจจัยทางด้านการเมืองและกฎหมายนี้อาจหมายถึงหน่วยงานที่ท าหน้าที่
ในการควบคุมการด าเนินงานต่าง ๆ ขององค์การก็ได้ นอกจากนี้ปัจจัยทางการ

เมืองและกฎหมายอาจหมายถึงระบบการเมืองการปกครองของประทศนั้น ๆ ด้วย
ว่ามีระบบการเมืองการปกครองและระบบบริหารจัดการอย่างไร กระบวนการ
ยุติธรรมในสังคมซึ่งล้วนแต่เกี่ยวข้องกับการท างานขององค์การได้ทั้งสิ้น

๑๑ Heinz Weihrich and Harold koontz, Management a global

perspective, edition. (Singapore: McGraw – Hill, Inc., 1993), pp. 59–61.

~ ๓๔ ~

3) ปัจจัยด้านเทคโนโลยี (technology) ได้แก่ ระดับของ
ความรู้ความก้าวหน้าทางวิทยาการที่เกิดขึ้นทั้งในระดับสังคมและระดับโลกซึ่ง
เกี่ยวข้องและส่งผลต่อการด าเนินกิจการขององค์การ เป็นเรื่องของความก้าวหน้า
ทางวิทยาการโดยทั่วไปไม่เฉพาะความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีในการท างานด้านใด

ด้านหนึ่งเท่านั้น เช่น ความก้าวหน้าในการติดต่อสื่อสาร ระบบข้อมูลข่าวสาร
ความทันสมัยของเครื่องมืออปกรณ์ต่าง ๆ ที่องค์การใช้ในกระบวนการการผลิต

การน าระบบคอมพิวเตอร์มาใช้ในกิจการต่าง ๆ มากขึ้น ปัจจัยด้านเทคโนโลยีจะมี
การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วซึ่งจะเห็นได้จากการเกิดผลิตภัณฑ์ใหม่ การมี
๑๒
เครื่องจักรเครื่องมือใหม่ มีสินค้าหรือบริการใหม่และมีวัสดุแบบใหม่ การเปลี่ยน
ปลงเทคโนโลยีจะส่งผลหลายประการทั้งทางด้านบวกและด้านลบต่อองค์การ เซ่น
ช่วยเพิ่มความสามารถในการผลิต การท างาน การขนส่ง ลดเวลาที่ใช้ในการท างาน
ิ่
ลง เพมศักยภาพของมนุษย์ในด้านต่าง ๆ เช่น เรดาร์ช่วยให้มนุษย์สามารถเห็นได้
ไกลขึ้น เป็นต้น
4) ปัจจัยทางด้านสังคมและวัฒนธรรม (Social and
cultural dimensions) ได้แก่ การพจารณาถึงลักษณะของสังคมที่องค์การ

ด าเนินการอยู่ ความเชื่อ ค่านิยมของคนในสังคม จ านวนประชากร โครงสร้าง
ประชากร ระดับความรู้และการศึกษาของคน ประเพณีและวัฒนธรรม ทัศนคติ

ของคนรวมถึงระบบความสัมพนธ์ของคนในสังคม การรวมกลุ่ม ขบวนการทาง
สังคม ชนชั้นและการเลื่อนชั้นทางสังคม เป็นต้น ปัจจัยเหล่านี้ล้วนแต่ส่งผลกระทบ
ต่อองค์การทั้งสิ้น

5) เหตุการณ์และแนวโน้มระหว่างประทศ
(international events and trends) ปัจจัยหรือตัวแปรต่างประเทศหรือระหว่าง
ประเทศถือเป็นปัจจัยภายนอกที่มีความส าคัญประการหนึ่ง โดยเฉพาะในปัจจุบัน

ซึ่งสภาพการณ์ของโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและคาดการณ์ได้
ยากล าบากมากขึ้น การเปลี่ยนแปลงของโลกกระทบต่อองค์การทั้งในภาครัฐและ
องค์การเอกชน ทิศทางในการท างานขององค์การจึงต้องปรับเปลี่ยนไปตาม
ปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น เช่น เกิดกระแสของการสร้างมาตรฐานในการปฏิบัติงาน

๑๒ Heinz Weihrich and Harold koontz, Management a global
perspective, p. 61.

~ ๓๕ ~

ขององค์การในรูปแบบ ISO การมีกฎระเบียบของโลก หรือองค์การระหว่าง
ประเทศที่มีผลต่อองค์การ เช่น GATT, WTO รวมตลอดไปถึงการด าเนินกิจกรรม
ของ NGO ต่างประทศที่มีผลต่อการท างานขององค์การในประทศ เช่น กลุ่ม
อนุรักษ์ ส่งเสริม คุ้มครองสิ่งแวดล้อม กลุ่ม GREEN PEACE, ILO เป็นต้น องค์การ


จะต้องค านึงถึงกระแสทิศทางและปรากฏการณ์เหล่านี้ในการพจารณา
สภาพแวดล้อมขององค์การ
การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกที่เป็นสภาพแวดล้อมทั่วไปของ
องค์การนั้น จะเป็นสิ่งที่ไม่ได้มีผลกระทบต่อการด าเนินงานหรือผลส าเร็จของ

องค์การโดยตรง การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั่วไปขององค์การนี้มีค าที่เรารียกว่า
PEST Analysis (P = Politic คือ การวิเคราะห์ปัจจัยทางการเมือง, E =
Economic ได้แก่ การวิเคราะห์ปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ S = Social หมายถึง
การพจารณาปัจจัยหรือตัวแปรทางด้านสังคมและวัฒนธรรม T-Technology คือ

การวิเคราะห์ตัวแปรทางด้านเทคโนโลยีและความก้าวหน้าทางวิทยาการต่าง ๆ
ส่วนปัจจัยทางด้านแนวโน้มและเหตุการณ์ต่างประทศนั้นจะกระจายอยู่ในตัวแปร
อน ๆ แล้วเพยงแต่มองในมิติที่เป็นระดับนานาชาติเท่านั้น เช่น GATT WTO ก็จะ

ื่


พจารณารวมไปกับปัจจัยทางด้านเศรษฐกิจ เป็นต้น จึงไม่มีการแยกออกเป็นอก
ปัจจัยหนึ่งในการศึกษาและวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทั่วไปขององค์การ) แล้ว
น าไปใช้ในการวางแผนและก าหนดกลยุทธ์ขององค์การ
1.2 สภาพแวดล้อมเฉพาะหรือสภาพแวดล้อมของงาน
(Specific or task environment) สภาพแวดล้อมเฉพาะเป็นสภาพแวดล้อม

ภายนอกขององค์การที่ส่งผลกระทบต่อความส าเร็จในการท างานและการบรรลุ
วัตถุประสงค์ขององค์การโดยตรง สภาพแวดล้อมเฉพาะจึงมีผลต่อความส าเร็จหรือ
การด ารงและล่มสลายขององค์การ องค์การและผู้บริหารจึงมักจะให้ความสนใจ

และให้ความส าคัญกับสภาพแวดล้อมเฉพาะขององค์การมาก สภาพแวดล้อม
เฉพาะขององค์การจะประกอบด้วย
1) ลูกค้าหรือผู้รับบริการขององค์การ (customers) ถือ

เป็นผู้ที่มีอทธิพลต่อการด าเนินการขององค์การโดยตรง เพราะหากองค์การไม่
สามารถตอบสนองความต้องการของลูกค้าหรือผู้รับบริการได้แล้ว องค์การอาจ
สูญเสียลูกค้าท าให้องค์การไม่สามารถด ารงชีวิตอยู่ได้ ลูกค้าจะได้แก่ บุคคล กลุ่ม

~ ๓๖ ~

๑๓
หรือองค์การอื่น ที่ต้องการสินค้าหรือบริการขององค์การ เช่น ลูกค้าของโรงงาน

น้ าตาล ได้แก่ บริษัทผลิตน้ าอดลม ลูกค้าของสายการบิน ได้แก่ นักเดินทาง
ผู้รับบริการ หรือลูกค้าของโรงพยาบาล คือ คนไข้หรือผู้ป่วย เป็นต้น การพฒนา

ความสามารถในการดึงดูด สร้างความพอใจ และรักษาลูกค้าขององค์การไว้จึงถือ

เป็นหน้าที่หลักขององค์การ โดยเฉพาะในปัจจุบันที่ลูกค้าขององค์การต่าง ๆ มีการ
ขยายตัวมากขึ้นจากสภาพที่การติดต่อระหว่างส่วนต่าง ๆ ของโลกเป็นไปอย่าง
รวดเร็ว และลูกค้าขององค์การในแต่ละพนที่มีความแตกต่างกัน กล่าวคือลูกค้าใน
ื้
ประทศไทยกับลูกค้าในประเทศเพอนบ้านจะมีความต้องการในสินค้าและบริการ
ื่
จากองค์การต่างกัน
2) ผู้สนับสนุนหรือผู้ส่งมอบปัจจัยการผลิตแก่องค์การ
(Supplier) ได้แก่ องค์การที่ท าหน้าที่ส่งมอบทรัพยากรทั้งที่จับต้องได้ และไม่
๑๔
สามารถจับต้ององค์การอน ทรัพยากรเหล่านี้องค์การอาจน ามาใช้เป็นปัจจัยใน
ื่
การผลิตสินค้าหรือบริการขององค์การหรือใช้ในการด าเนินการขององค์การ โดย
ปกติแล้วองค์การมักจะน าพาทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิตจากองค์การหรือ
หน่วยงานอื่น บางองค์การอาจมีการผลิตทรัพยากรที่ต้องใช้เองในลักษณะของการ

ด าเนินการแบบครบวงจร แต่จะมีกิจการประเภทนี้ไมมากนัก โดยทั่วไปองค์การยัง

จะต้องพึ่งพาสภาพแวดล้อมภายนอกในเรื่องปัจจัยการผลิตอยู่ ดังนั้น การได้มาซึ่ง
ทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิตที่มีคุณภาพจึงเป็นสิ่งส าคัญส าหรับองค์การ
โดยเฉพาะในภาวะที่ทรัพยากรมีจ ากัดองค์การจะต้องช่วงชิงทรัพยากรที่มีอยู่ให้ได้
ความสามารถในการแสวงหาทรัพยากรหรือปัจจัยการผลิตจึงเป็นหน้าที่หลักที่บ่ง

บอกถึงความส าเร็จและประสิทธิผลในการด าเนินงานขององค์การ ในการศึกษา
องค์การภาครัฐหรือหน่วยงานราชการนั้นการให้ความส าคัญกับผู้สนับสนุนมีไม่
มาก เนื่องจากราชการจะเห็นว่าหน่วยงานจะต้องได้รับงบประมาณจากรัฐบาลอยู่

แล้ว
ื่
3) คู่แข่ง (competitors or rivals) ได้แก่ หน่วยงานอนที่
แข่งขันกับองค์การโดยตรงในเรื่องลูกค้าหรือทรัพยากรที่ใช้ในการด าเนินการ

๑๓ Jay B. Barney and Ricky W. Griffin, The Management of
Organizations, p. 116.
๑๔ Jay B. Barney and Ricky W. Griffin, The Management of
Organizations, p. 117.

~ ๓๗ ~

ดังนั้นคู่ แข่งจึงอาจได้แก่ ผู้ที่ผลิตสินค้าหรือบริการแบบเดียวกับองค์การหรือผลิต
สินค้าหรือบริการที่ใช้แทนกันได้ หรืออาจหมายถึงผู้ที่ต้องการทรัพยากรทางการ

บริหารวัตถุดิบ หรือวัสดุอปกรณ์การผลิตแบบเดียวกับองค์การก็ได้ ซึ่งในกรณีนี้
องค์การที่ท าหน้าที่แตกต่างกันก็อาจเป็นคู่แข่งขันกันได้ เช่น บริษัทผลิตขนมหวาน

อาจเป็นคู่แข่งกับบริษัทผลิตน้ าอดลมในการแย่งชิงน้ าตาล ซึ่งเป็นปัจจัยการผลิตที่

ส าคัญของธุรกิจทั้งสองประเภท หรือองค์การที่ต้องการผู้บริหารคนเดียวกันก็ถือ
เป็นการแข่งขันกันในการดึงดูดผู้ที่มีความรู้ความสามารถแบบเดียวกันให้เข้ามา
ท างานกับหน่วยงานของตนเอง โดยเฉพาะในช่วงเวลาที่ตลาดแรงงานเป็นของ

ผู้ขาย การแข่งขันในด้านนี้ยิ่งมีมากและมีความรุนแรง

การพจารณาและวิเคราะห์ถึงคู่แข่งขันนั้นองค์การจะต้อง
พจารณาด้วยความรอบคอบและระมัดระวัง เนื่องจากการจะระบุว่าใครคือคู่แข่ง

ขันขององค์การในด้านใดนั้นเป็นเรื่องละเอยด องค์การหนึ่ง ๆ จึงสามารถมีคู่แข่ง

ได้มาก กล่าวคือ คู่แข่งขันที่มีสินค้าหรือผลผลิตแบบเดียวกัน คู่แข่งที่ต้องการ
ทรัพยากรทางการบริหารหรือปัจจัยการผลิตแบบเดียวกัน คู่แข่งที่ต้องการกู้เงิน
หรือต้องการแหล่งเงินทุนจากที่เดียวกัน คู่แข่งที่ต้องการลูกค้ากลุ่มเดียวกัน เป็น

ต้น ส าหรับองค์การราชการ การพิจารณาคู่แข่งเป็นเรื่องยาก ทั้งนี้เพราะหน่วยงาน
ราชการมีลักษณะของการผูกขาดสินค้าหรือบริการที่องค์การราชการผลิตนั้นมักจะ
ไม่มีหน่วยงานอนผลิตออกมาแข่งขัน เนื่องจากสินค้าหรือบริการที่ทางราชการท า
ื่
เป็นสินค้าสาธารณะ (public goods or public services) นอกจากนี้องค์การ
ราชการมีอานาจในการควบคุมและจัดการบริหารในเรื่องต่าง ๆ ในสังคม การ

ด าเนินการในหลาย ๆ เรื่องจึงเป็นเรื่องของการใช้อานาจบังคับและการดูแลความ

สงบเรียบร้อยของสังคม ซึ่งมีอานาจตามกฎหมายให้อานาจในการด าเนินการเรื่อง

ไว้ และเป็นเรื่องของกลไกในการควบคุมของสังคม คู่แข่งของหน่วยงานราชการที่

ท าหน้าที่แบบเดียวกันจึงนิยามได้ยากหรือไม่มคู่แข่งในลักษณะดังกล่าว
4) หน่วยงานที่ท าหน้าที่ในการควบคุมการด าเนินงานของ
องค์การ (regulators or government) ได้แก่ หน่วยงานภายนอกองค์การที่มี
บทบาทหรืออทธิพลต่อการด าเนินการขององค์การทั้งในด้านการก าหนดนโยบาย

หรือการปฏิบัติงาน หน่วยงานที่มีบทบาทในการควบคุมการด าเนินงานของ
องค์การอาจได้แก่ หน่วยงานราชการที่มีหน้าที่ในการก ากับ ดูแล หรือควบคุมใน
งานด้านที่องค์การด าเนินการอยู่ หรืออาจได้แก่องค์การเอกชน องค์การประชาชน

~ ๓๘ ~

ื่
รูปแบบอน ๆ ที่ได้รับมอบหมายจากสังคมให้ท าหน้าที่ในการติดตาม ตรวจสอบ
การด าเนินงานขององค์การ นอกจากนี้หน่วยงานที่ท าหน้าที่ในการควบคุมการ
ด าเนินกิจการขององค์การยังอาจได้แก่ กลุ่มผลประโยชน์ในสังคมและหน่วยงานใน
ระดับนานาชาติ การควบคุมจากหน่วยงานของรัฐจะเป็นเรื่องของการรักษา

กฎหมายและดูแลให้องค์การปฏิบัติตามระเบียบที่ได้วางไว้ การสร้างความเป็น
ธรรมให้เกิดขึ้น ไม่ให้เกิดการเอารัดเอาเปรียบกันในสังคม ซึ่งในแต่ละสังคมการ
ควบคุมดูแลในส่วนที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายจะแตกต่างกันออกไป เช่น การมี
กฎหมายห้ามการจ้างแรงงานเด็ก องค์การต่าง ๆ ก็ไม่สามารถจับเด็กอายุต่ ากว่าที่

กฎหมายก าหนดเข้ามาท างานได้ เป็นต้น ในส่วนของการควบคุมโดยกลุ่ม

ผลประโยชน์นั้น กลุ่มผลประโยชน์อาจมีอทธิพลต่อนโยบายและกระบวนการใน
การด าเนินงานขององค์การด้วยเช่นกัน เช่น องค์การอาจได้รับการร้องเรียนจาก
องค์การเอกชน กลุ่มอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในการด าเนินกิจกรรมบางประการท าให้

องค์การต้องทบทวนหรือหยุดด าเนินการในเรื่องดังกล่าว เช่น กรณีโรงงาน
แทนทาลัมของไทยที่มีการเดินขบวนประท้วงไม่ให้มีการจัดตั้งโรงงานที่จังหวัด
ภูเก็ต จนโรงงานไม่สามารถจัดตั้งได้ ซึ่งแสดงให้เห็นถึงอทธิพลของกลุ่ม

ผลประโยชน์ที่ท าหน้าที่ในการตรวจสอบและควบคุมการด าเนินงานขององค์การ
นอกจากนี้ในปัจจุบันองค์การระหว่างประเทศถือว่ามีบทบาทมากต่อนโยบายและ
กระบวนการในการด าเนินการขององค์การ เช่น องค์การการค้าโลก (WTO) และ
หน่วยงานอื่น ๆ ที่มีกฎ ระเบียบ ให้สมาชิกจะต้องปฏิบัติตาม เช่น การจะส่งสินค้า
ไปจ าหน่ายยังต่างประเทศจะต้องมีระบบการผลิตที่ได้รับ ISO เป็นต้น ส าหรับใน

ประเทศไทยระบบราชการจะถูกควบคุมโดยหน่วยงานราชการที่สูงกว่าและ
กฎหมาย และถูกควบคุมตรวจสอบจากประชาชนมากยิ่งขึ้น การด าเนินงานของ
หน่วยราชการอาจได้รับการร้องเรียนหรือคัดค้าน รวมถึงการเดินขบวนต่อต้านและ

ประท้วงการปฏิบัติงานของหน่วยราชการได้จนท าให้เกิดการเปลี่ยนแปลงใน
นโยบายหรือวิธีการในการปฏิบัติงานของทางราชการได้เช่นกัน
5) หุ้นส่วน (partners) จะหมายถึง บุคคล หรือหน่วยงาน
ที่ท ากิจกรรมร่วมกับองค์การอาจในรูปของการร่วมทุน(joint venture) หรือการ

ด าเนินลักษณะเครือข่ายที่จะต้องท างานให้สอดคล้องกัน การท างานในลักษณะ
หุ้นส่วนนี้เป็นการมององค์การในลักษณะที่เป็นระบบเปิด กล่าวคือเห็นว่าองค์การ
มีข้อจ ากัดไม่สามารถด าเนินการในทุก ๆ เรื่องเองได้ ต้องอาศัยคอยความร่วมมือ

~ ๓๙ ~

กับองค์การอื่น ๆ ซึ่งการร่วมกับหน่วยงานอื่นนี้องค์การจะต้องมีการปรับระบบการ
ื่
ท างานบางประการเพอให้สามารถท างานร่วมกันได้ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อ
องค์การ องค์การจึงเป็นเสมือนระบบย่อยที่ต้องท างานประสานสอดคล้องกับ
ระบบย่อยอน ๆ จึงจะเกิดประโยชน์เต็มที่ การท างานร่วมกันขององค์การจะ
ื่
ก่อให้เกิดผลดีกับองค์การหลายประการคือ องค์การที่เข้ามาท างานร่วมกันสามารถ
ลดความเสี่ยงในการด าเนินการตามล าพง ช่วยประหยัดงบประมาณในการลงทุน

ซึ่งแต่ละองค์การอาจมีข้อจ ากัดไม่สามารถลงทุนเองทั้งหมดได้ นอกจากนี้วิธีการ
ท างานในลักษณะของการร่วมทุน และเครือข่ายจะช่วยให้มีการแลกเปลี่ยนความรู้


ระหว่างหน่วยงานที่ท างานร่วมกันอนเป็นการช่วยเหลือกันภายในการพฒนา

องค์การ การท างานในลักษณะร่วมทุนหรือเครือข่ายนี้ไม่จ าเป็นจ าจะต้องเป็น
หน่วยงานประเภทเดียวกัน จึงจะร่วมทุนหรือเป็นเครือข่ายกันได้ อาจมีการท างาน
ร่วมกันระหว่างหน่วยงานราชการกับเอกชนก็ได้

6) ผู้ถือหุ้น (stockholders) ถือเป็นเจ้าของกิจการซึ่งจะมี
บทบาทต่อทิศทางการด าเนินงานขององค์การมากที่สุด ผู้ถือหุ้นจะคอยก าหนด
แนวนโยบาย บทบาท ภารกิจและหน้าที่ขององค์การ ผู้ถือหุ้นเป็นผู้ที่ลงทุนและ

เป็นเจ้าของเงินทุนในกิจการ ผู้ถือหุ้นมักจะมุ่งประโยชน์ขององค์การโดยพยายาม
ให้องค์การมีรายได้มากที่สุดและลดต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายขององค์การลง การที่ผู้ถือ
หุ้นจะลงทุนกับองค์การต่อหรือไม่นั้นมีผลต่อความเจริญเติบโตและความอยู่รอด
หรือล่มสลายขององค์การโดยตรง จากปัจจัยสภาพแวดล้อมเฉพาะหรือ
สภาพแวดล้อมของงานในองค์การ จะเห็นว่าการด าเนินงานขององค์การขึ้นอยู่กับ

ปัจจัยด้านนี้อยู่มาก องค์การจึงมักจะให้ความสนใจกับปัจจัยในด้านนี้มาก การ
วิเคราะห์ถึงสภาพแวดล้อมเฉพาะขององค์การนี้ในทางการวางแผนกลยุทธ์เรียก
เทคนิคที่ใช้วิเคราะห์สภาพแวดล้อมเฉพาะขององค์การว่า five-force model ซึ่ง

จะพจารณาถึงปัจจัยต่าง ๆ เช่น ปัจจัยด้านลูกค้า ปัจจัยด้านคู่แข่งหรือของที่ใช้

แทนกันได้ ปัจจัยด้านผู้ที่จะเข้ามาท าธุรกิจด้านนี้รายใหม่ ปัจจัยด้านผู้สนับสนุน
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี เป็นต้น อย่างไรก็ดีการพจารณาสภาพแวดล้อมภายนอก


องค์การนี้องค์การจะต้องพจารณาให้รอบคอบ เนื่องจากปัจจัยสภาพแวดล้อมแต่

ละด้านจะมีอทธิพลต่อองค์การแตกต่างกันออกไปขึ้นอยู่กับสถานการณ์ การ
วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอกองค์การอาจน ามาก าหนดเป็นโอกาสในการ

~ ๔๐ ~

ท างานขององค์การ (opportunity) และภัยอปสรรคที่องค์การอาจจะเผชิญ

(threat)
2. สภาพแวดล้อมภายในองค์การ (internal environment)
ได้แก่ สภาพการณ์ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ภายในองค์การหรือสภาพภายใน

องค์การที่มีผลต่อการด าเนินกิจการขององค์การ การศึกษาหรือวิเคราะห์
สภาพแวดล้อมภายในองคการนี้ไม่เป็นที่สนใจมากนัก ทั้งนี้เพราะคนส่วนใหญ่เห็น

ว่าสภาพภายในองค์การเป็นสิ่งที่องค์การสามารถควบคุมได้เองอยู่แล้วการจัดการ
จึงมักไม่ใช่เรื่องที่ยุ่งยาก ความรู้สึกหรือความเชื่อดังกล่าวผลักให้คนมองข้าม

ความส าคัญของสภาพแวดล้อมภายในองค์การไป ทั้ง ๆ ที่จริง ๆ แล้วองค์การที่
ประสบปัญหาส่วนใหญ่มักเกิดจากการที่องค์การไม่สามารถจัดระบบภายใน
องค์การได้หรือไม่สามารถจัดการกับสภาพแวดล้อมภายในองค์การได้ ท าให้
องค์การมีความสามารถในการด าเนินการลดลงหรือมีขีดสมรรถนะต่ าลงจน

องค์การไม่สามารถปรับตัวให้สอดคล้องกับสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การได้
และท าให้องค์การเสื่อมและตายในที่สุด การพจารณาถึงสภาพแวดล้อมภายใน

องค์การจึงเป็นสิ่งที่ส าคัญและส่งผลกระทบต่อการด าเนินงานตลอดจนผลส าเร็จ

ขององค์การในที่สุด ดังนั้น ในส่วนนี้จะพจารณาถึงปัจจัยสภาพแวดล้อมภายใน

องค์การ ซึ่งเมื่อพิจารณาถึงสภาพแวดล้อมภายในองค์การแล้วจะพบว่า การศึกษา
ปัจจัยภายในองค์การนั้นนักวิชาการก าหนดปัจจัยภายในองค์การแตกต่างกัน
ออกไป เช่น James D. Thompson เห็นว่า องค์การประกอบด้วยส่วนย่อย ๆ 3
ส่วนด้วยกัน คือ ส่วนสถาบัน (institution) ได้แก่ ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงาน

ซึ่งท าหน้าที่ในการรับสภาพแวดล้อมขององค์การและก าหนดทิศทางในการท างาน
แนวนโยบายขององค์การ และติดต่อกับสภาพแวดล้อมภายนอกองค์การโดยตรง
ส่วนการจัดการ (management) ได้แก่ ผู้บริหารระดับกลางในองค์การท าหน้าที่

ในการก าหนดแนวทางการปฏิบัติงาน แปลงแผนและนโยบายไปสู่การปฏิบัติจริง
ติดตามงานในระดับการปฏิบัติ ส่วนเทคนิคหรือเทคโนโลยี (technology) ได้แก่
ระดับผู้ปฏิบัติงานในองค์การที่ท าหน้าที่ในการด าเนินกิจกรรมต่าง ๆ ขององค์การ
ส่วนนี้จะท าหน้าที่ในการผลิตสินค้าหรือบริการขององค์การโดยตรง แนวความคิด

ของ Pascale และ Athons แห่งบริษัทที่ปรึกษา McKinsey ได้แบ่งระบบย่อย
ภายในองค์การออกเป็น 7 ประการที่เรียกว่า 7Ss ซึ่งประกอบด้วยระบบ
โครงสร้าง (structure) ระบบการท างาน (system) ระบบแผนงานและกลยุทธ์

~ ๔๑ ~

ขององค์การ (strategies) ซึ่งเป็นเหมือน hard-ware ขององค์การ ระบบบุคคลใน
องค์การ (staff) ระบบทักษะการท างาน (skill) และระบบรูปแบบการบริหาร
(Style) ซึ่งเปรียบเหมือน soft-ware ในการบริหารงาน ซึ่งทั้ง hard-ware และ
soft-ware นี้จะมีระบบค่านิยม/เป้าหมายร่วมขององค์การ (super-ordinate

goal/share value/share vision) เป็นตัวเชื่อม soft-ware และ hard-wear ให้
ท างานร่วมกัน ส าหรับการศึกษาในส่วนนี้จะแบ่งสภาพแวดล้อมภายในองค์การ
๑๕
ออกเป็นระบบย่อย ๆ ดังนี้คือ
1. ระบบการน า (leadership) เป็นปัจจัยที่เกี่ยวกับรูปแบบการ

ท างานร่วมกันในองค์การ การมีระบบผู้น า แบบของผู้น า การน าจะท าให้การ
ด าเนินงานขององค์การบรรลุตามเป้าหมายที่วางไว้ เนื่องจากมีผู้น าคอยกระตุ้น
และผลักดัน ระบบการน าในองค์การมักจะพจารณาถึงปัจจัยต่าง ๆ คือ ภาวะผู้น า

ซึ่งได้แก่ รูปแบบการท างานของผู้น า สไตล์การริหารงานรองผู้น า การติดต่อสื่อสาร

ในองค์การ (communication) ระบบการจูงใจในองค์การ (motivation) และ
๑๖
ระบบวัฒนธรรมและค่านิยมในองค์การ (culture/value) ผู้น าจะมีอทธิพลต่อ

การท างานของผู้ปฏิบัติงานมาก ผู้น าจะเป็นผู้ที่มีบทบาทในการก าหนดทิศทาง
แนวนโยบาย ตลอดจนการแสวงหาแนวทางในการปฏิบัติงานขององค์การด้วย ใน
ปัจจัยด้านระบบการน าในองค์การนี้ อาจมีประเด็นย่อย ๆ ที่น ามาพจารณาในการ

วิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายในองค์การ คือ ภาวะผู้น า อาจพจารณาถึงรูปแบบ

ของผู้น าและผู้ตามในองค์การ การยอมตามของผู้ปฏิบัติงาน การติดต่อสื่อสารอาจ
พจารณารูปแบบการติดต่อสื่อสารที่องค์การใช้ วิธีการในการติดต่อสื่อสาร ช่อง

ทางการติดต่อสื่อสาร การกระจายของข้อมูลข่าวสาร ตลอดจนปัญหาและ
อปสรรคในการติดต่อสื่อสารในองค์การ ในด้านของระบบการจูงใจ องค์การอาจ

วิเคราะห์ถึงปัจจัยต่าง ๆ ด้านแรงจูงใจ เช่น การจัดระบบการตอบแทนและให้

รางวัลแก่พนักงาน การออกแบบงาน บรรยากาศในการท างาน ความสัมพนธ์กับ

บุคคลต่าง ๆ ในที่ท างาน เป็นต้น ปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การและค่านิยม

๑๕ Judith R. Gordon and associates, Management and Organizational
Behavior (Boston: Allyn and Bacon, 1990), pp. 148 - 150.
๑๖ Ibid., p. 148.