หลักสูตรปฐมวัย 2560 มีองค์ประกอบอะไรบ้าง

กระทรวงศึกษาธิการ (ศธ.) คลอดหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560 โดย นายการุณ สกุลประดิษฐ์ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (กพฐ.) เผยว่าขณะนี้ นพ.ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศิลป์ รมว.ศึกษาธิการ ได้ลงนามในคำสั่ง ศธ.เรื่องการใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560 แทนหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2546 ซึ่งจะนำไปใช้ในปีการศึกษา 2561 เป็นต้นไป

สำหรับภาพรวมการพัฒนาและโครงสร้างหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พ.ศ.2560 นั้น สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) ได้มีการพัฒนายกร่างหลักสูตรฯ แล้วนำไปรับฟังความคิดเห็นกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง นำข้อเสนอแนะมาปรับปรุง มีการนำทดลองใช้ในโรงเรียน วิจัย ปรับปรุง แก้ไข และพัฒนาจนเป็น "หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย ฉบับสมบูรณ์" สำหรับเด็กอายุแรกเกิดถึง 6 ปีบริบูรณ์

หลักสูตรปฐมวัย 2560 มีองค์ประกอบอะไรบ้าง

นายการุณ สกุลประดิษฐ์ เลขาธิการ กพฐ. เผยถึงโครงสร้างหลักสูตรแบ่งออกเป็น 2 ช่วงอายุ คือ

หลักสูตรสำหรับเด็กอายุต่ำกว่า 3 ปี จัดขึ้นสำหรับพ่อแม่ผู้เลี้ยงดู หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับการอบรมเลี้ยงดูและพัฒนาเด็กประกอบด้วย 2ช่วงอายุ คือ ช่วงอายุแรกเกิด - 2 ปี เป็นแนวปฎิบัติการอบรมเลี้ยงดูตามวิถีชีวิตประจำวัน และช่วงอายุ 2 - 3 ปี เป็นแนวปฏิบัติการอบรมเลี้ยงดูและส่งเสริมพัฒนาการ

และการเรียนรู้ ให้เด็กมีร่างกายเจริญเติบโตตามวัยแข็งแรงและมีสุขภาพดี สุขภาพจิตดี มีความสุข มีทักษะการใช้ภาษาสื่อสาร สนใจเรียนรู้สิ่งต่างๆ

และ หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยสำหรับเด็กอายุ 3-6 ปี เป็นการจัดการศึกษาในลักษณะของการอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษา เด็กจะได้รับการพัฒนาทางด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ตามวัยและความสามารถของเด็กแต่ละคน

 "หลักสูตรนี้จะเป็นหลักสูตรแกนกลาง ที่มีความยืดหยุ่น สถานศึกษา หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ทุกสังกัดสามารถนำไปปรับปรุงให้เหมาะกับเด็กและสภาพท้องถิ่นได้ โดยมีจุดเน้นสำคัญคือ การเรียนรู้แบบactive learning ของเด็กโดยการลงมือกระทำ มีการบูรณาการผ่านการเล่น มีเป้าหมายคือ เป็นคนดี มีวินัย มีปัญญา มีความสุข"

เลขาธิการ กพฐ.กล่าวและว่า หลังจากนี้ สพฐ.จะต้องเตรียมความพร้อมแก่บุคลากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีจัดประชุมชี้แจงทำความเข้าใจ โดยเฉพาะสถานศึกษาที่ต้องนำไปจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาระดับปฐมวัย และครูผู้สอนที่จะเป็นผู้ใช้หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย รวมถึงการจัดพิมพ์เอกสารหลักสูตรแก่สถานศึกษาและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง โดยทั้งหมดนี้จะเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ของ สพฐ. ด้วย

��к�����˹�Ҩ����ա��ǹ 6 ��� �����������§����ӴѺ��鹵͹��èѴͧ���Сͺ��ѡ�ٵ� �������к����㹪�ǧ���蹹Ӣͧ��������� ����ö�͵Դ�����ҹ����ػ�������ͧ͢����� ��ҹ��ͧ�ҧ����ա���� ����Ѻ�ѹ��������ѧ��ҡ����ػ���Ъ������س������������� 㹡����ҹ�ҡ��ѡ�ٵé�Ѻ�������ҡ����¹Ф� 

หลักสูตรปฐมวัย 2560 มีองค์ประกอบอะไรบ้าง

˹ѧ����ӹѡ�ҹ �.�.�. �1477/2565 ����ͧ �ǻ�Ժѵ�����ǡѺ��ô��Թ��õ����ѡࡳ������Ըա��������Ҫ��ä����кؤ...
✍ 30 �.�. 2565

หลักสูตรปฐมวัย 2560 มีองค์ประกอบอะไรบ้าง

�š�û�Ъ����С�����â���Ҫ��ä����кؤ�ҡ÷ҧ����֡�� (�.�.�.) ���駷�� 12/2565 �ѹ�ѧ��÷�� 27 �ѹ�Ҥ� 2565 ���չҧ�...
✍ 30 �.�. 2565

2. เลือก ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัดการเรียนรู้จริง)

หลักสูตรปฐมวัย 2560 มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
หลักสูตรปฐมวัย 2560 มีองค์ประกอบอะไรบ้าง

3. แสดงเจตจำนงในการจัดทำข้อตกลงในการพัฒนางาน ตำแหน่งครู (ยังไม่มีวิทยฐานะ) ซึ่งเป็นตำแหน่งที่ดำรงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อำนวยการสถานศึกษา ดังนี้

ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง

1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด

หลักสูตรปฐมวัย 2560 มีองค์ประกอบอะไรบ้าง
หลักสูตรปฐมวัย 2560 มีองค์ประกอบอะไรบ้าง

2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งครู(ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้านว่าจะดำเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการด้วยก็ได้)

1.ด้านการจัดการเรียนรู้

   ลักษณะงานที่เสนอให้ท่านเขียนครอบคลุมถึงประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้

  • การสร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร
  • การออกแบบการจัดการเรียนรู้
  • การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
  • การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี
  • แหล่งเรียนรู้
  • การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้
  • การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้
  • การจัดบรรยากาศที่ส่งเสริม และพัฒนาผู้เรียน
  • การอบรมและพัฒนาคุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน

ควรทำการเขียนแยกประเด็นออกเป็น 3 ส่วน ดังนี้

  1. สิ่งที่จะต้องทำ
    • สร้าง
    • พัฒนา
  2. ทำไปเพื่ออะไร ?
  3. ผลลัพธ์ที่เกิดกับ กับใคร หรือ Outcome

ขั้นตอนการเขียนข้อที่ 1.ด้านการจัดการเรียนรู้

1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร

 ให้เขียนว่าท่านจะ……สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร  อย่างไร

  • การจัดทำรายวิชา และหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ ตามหลักสูตร

เพื่อ……อะไร

  • เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะ และการเรียนรู้ เต็มตามศักยภาพ

ผลลัพธ์ที่เกิด หรือ Outcome คือ

  โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น

ตัวอย่าง

1.1 สร้างและหรือพัฒนาหลักสูตร

ข้าพเจ้าจะดำเนินการจัดทำหลักสูตรของวิชาภาษาไทยพื้นฐาน ให้สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด หรือผลการเรียนรู้ตามหลักสูตรเพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมรรถนะ และการเรียนรู้ เต็มศักยภาพโดยแก้ไขปัญหาให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น

 

1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้

  • ออกแบบการจัดการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
  • เพื่อ….ให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่สำคัญ
  • ตามหลักสูต โดยมีการปรับประยุกต์การจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น

ตัวอย่างการเขียน

ตัวอย่างที่ 1

 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้

ข้าพเจ้าจะดำเนินการออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะ ที่สำคัญ ตามหลักสูตร โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้อง กับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียน และท้องถิ่น โดยจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 บูรณาการกับจัดการเรียนรู้รูปแบบ Active learning ตามเป้าหมาย/วิสัยทัศน์

ตัวอย่างที่ 2

 1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้

ข้าพเจ้าจะดำเนินการออกแบบการจัดการเรียนรู้ ด้วยเทคนิคบันได 6 ดังนี้

    • บันไดขั้นที่ 1 อ่านเรื่องให้จบ ตั้งคำถามด้วย 5W1H
    • บันไดขั้นที่ 2 หาคำสำคัญ (key words)
    • บันไดขั้นที่ 3 ตัดส่วนขยายใจความสำคัญ
    • บันไดขั้นที่ 4 เติมคำเชื่อมหาส่วนขยายใจความสำคัญ
    • บันไดขั้นที่ 5 สังเกตคำเชื่อมแสดงความขัดแย้ง
    • บันไดขั้นที่ 6 หาใจความสำคัญได้ ทุกบทอ่าน

โดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ และสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตร โดย จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ออกแบบกิจกรรมการเรียน การสอนการอ่าน จับใจความสำคัญด้วยเทคนิคบันได 6 ขั้นในรายวิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เพื่อแก้ปัญหาการอ่านใจความสำคัญ

1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้

มีการอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรู้และทำงานร่วมกัน โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน

ประเด็นสำคัญในการเขียนในข้อ 1.3 คือ

  • มีการอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้
  • ส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ
  • เรียนรู้และทำงานร่วมกัน
  • มีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน

 ให้เขียนว่าท่านจะ……จัดกิจกรรมการเรียนรู้…  อย่างไร?

  • ท่านจะ…อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ อย่างไรบ้าง?
  • เพื่อ…ส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ ให้ เรียนรู้และทำงานร่วมกัน ได้อย่างไรบ้าง?
  • ผลลัพธ์ที่เกิด หรือ Outcome ของจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือสิ่งใด?

ตัวอย่างการเขียน

1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้

ข้าพเจ้าจะดำเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการ Active learning โดยใช้เทคนิคบันได 6 ขั้น เพื่อแก้ปัญหาการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียน โดยมีการอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรู้และทำงานร่วมกัน โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน

 

1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้

    มีการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดและสามารถสร้างนวัตกรรมได้

ประเด็นสำคัญในการเขียนในข้อ 1.4 คือ

  • มีการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี
  • มีการแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้
  • การปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน
  • ทำให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดและสามารถสร้างนวัตกรรมได้

 ให้เขียนว่าท่านจะ……สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้  อย่างไร?

  1. สิ่งที่จะต้องทำ
    • สร้าง
    • พัฒนา
  2. ทำอย่างไร ?
  3. เพื่ออะไร ?
  4. ผลลัพธ์ที่เกิดกับ กับใคร หรือ Outcome
  • สิ่งที่จะต้องทำท่านจะ…สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี อย่างไรบ้าง?
  • ทำอย่างไร… คือท่านจะ…มีแนวทางการแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ อย่างไรบ้าง?
  • เพื่อ…จากประเด็นทั้ง 2 ดังกล่าว ท่านจะ…มีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน อย่างไรบ้าง?
  • ผลลัพธ์ที่เกิดกับ กับใคร หรือ Outcome ของจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ท่านจะทำให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดและสามารถสร้างนวัตกรรมได้ ได้อย่างไร

ตัวอย่างการเขียน

1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้

ข้าพเจ้าจะดำเนินการการสร้างและหรือพัฒนาสื่อนวัตกรรม เทคโนโลยี และแหล่งเรียนรู้ ที่สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ โดยเน้นการสนับสนุนให้สามารถนำไปใช้เพื่อการแก้ไขปัญหาในการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนมีทักษะการคิด และสามารถสร้างนวัตกรรมได้

 

1.5 วัดและประเมินผลการเรียนรู้

มีการวัด และประเมินผลการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เหมาะสม และสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และนำผลการวัด และประเมินผลการเรียนรู้มาใช้แก้ปัญหาการจัดการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ปฐมวัย 2560 ประกอบด้วยกี่ส่วน

ตามคู่มือหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2560 ส่วนสาระการเรียนรู้จะประกอบด้วย 2 ส่วน คือ 1. ประสบการณ์สำคัญ และ 2. สาระที่ควรเรียนรู้ ทั้งสองส่วนมีความสำคัญในการจัดประสบการณ์ เพื่อส่งเสริมพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์ จิตใจ สังคม และสติปัญญา ซึ่งวันนี้เราจะทำความรู้จักกับ “สาระที่ควรเรียนรู้” ว่ามีรายละเอียดอะไรบ้างค่ะ

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย 2560 มีกี่มาตรฐาน

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัยกำหนดมาตรฐานคุณลักษณะที่พึงประสงค์จำนวน ๑๒ มาตรฐาน ประกอบด้วย ๑.พัฒนาการด้านร่างกาย ประกอบด้วย ๒ มาตรฐานคือ มาตรฐานที่ ๑ ร่างกายเจริญเติบโตตามวัยและมีสุขนิสัยที่ดี มาตรฐานที่ ๒ กล้ามเนื้อใหญ่และกล้ามเนื้อเล็กแข็งแรงใช้ได้อย่างคล่องแคล่วและประสาน

หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 เป็นหลักสูตรในระดับใด

"หลักสูตรนี้จะเป็นหลักสูตรแกนกลาง ที่มีความยืดหยุ่น สถานศึกษา หรือสถานพัฒนาเด็กปฐมวัย ทุกสังกัดสามารถนำไปปรับปรุงให้เหมาะกับเด็กและสภาพท้องถิ่นได้ โดยมีจุดเน้นสำคัญคือ การเรียนรู้แบบactive learning ของเด็กโดยการลงมือกระทำ มีการบูรณาการผ่านการเล่น มีเป้าหมายคือ เป็นคนดี มีวินัย มีปัญญา มีความสุข"

หลักสูตรปฐมวัยมีกี่ตัวบ่งชี้

มาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติพ.ศ. ๒๕๖๑ ประกอบด้วยมาตรฐาน 3 ด้าน ได้แก่ • มาตรฐานด้านที่1 การบริหารจัดการ 5 ตัวบ่งชี้/ 26 ข้อ • มาตรฐานด้านที่2 กระบวนการดูแลจัดประสบการณ์เรียนรู้และเล่น 5 ตัวบ่งชี้/ 20 ข้อ • มาตรฐานด้านที่3 คุณภาพเด็กปฐมวัย - 3ก. แรกเกิด ถึง 2 ปี(2 ปี11 เดือน) จานวน 2 ตัวบ่งชี้/ 7 ข้อ - 3ข. 3 ปีถึง ...