ความต้องการของระบบปฏิบัติการ Ubuntu

สำหรับผู้ที่ไม่รู้จัก Linux Ubuntu ว่าคืออะไรนั้น จริงๆมันคือระบบปฎิบัติการ Linux ชนิดหนึงซึ่ง  ลีนุกซ์ (Linux) ก็เป็นระบบปฏิบัติการเช่นเดียวกับ Dos , Window หรือ Unix โดยลีนุกซ์นั้นจัดว่าเป็นระบบปฏิบัติการยูนิกซ์ประเภทหนึ่ง การที่ลีนุกซ์เป็นที่กล่าวขานกันมากขณะนี้ เนื่องจากความสามารถของตัวระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ที่ทำงานบนระบบลีนุกซ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งโปรแกรมในตระกูลของ GNU (GNU’s Not UNIX) และสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือระบบลีนุกซ์เป็นระบบปฏิบัติการประเภทฟรีแวร์ (Free Ware) และเป็นที่นิยมเอามาทำเป็น server เพื่อทำเป็น webserver หรือ LAMP

Show

ความต้องการของระบบปฏิบัติการ Ubuntu

ลินุกซ์ ถือเป็นส่วนสำคัญของซอฟต์แวร์เซิร์ฟเวอร์ที่เรียกว่า LAMP ย่อมาจาก Linux, Apache, MySQL, Perl/PHP/Python ซึ่งเป็นที่นิยมใช้เป็นเว็บเซิร์ฟเวอร์ และพบมากสุดระบบหนึ่ง ตัวอย่างซอฟต์แวร์ซึ่งพัฒนาสำหรับระบบนี้คือ มีเดียวิกิ ซอฟต์แวร์สำหรับวิกิพีเดีย
เนื่องจากราคาที่ต่ำและการปรับแต่งได้หลากหลาย ลินุกซ์ถูกนำมาใช้ในระบบฝังตัว เช่นเครื่องรับสัญญาณโทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ และอุปกรณ์พกพาต่าง ๆ ลินุกซ์เป็นคู่แข่งที่สำคัญของ ซิมเบียนโอเอส ซึ่งใช้ในโทรศัพท์มือถือจำนวนมาก และใช้แทนวินโดวส์ซีอี และปาล์มโอเอส บนเครื่องคอมพิวเตอร์พกพา เครื่องบันทึกวิดีโอก็ใช้ลินุกซ์ที่ดัดแปลงเป็นพิเศษ ไฟร์วอลล์และเราเตอร์หลายรุ่น เช่นของ Linksys ใช้ลินุกซ์และขีดความสามารถเรื่องทางเครือข่ายของมัน

ก่อนที่เราจะเริ่มการ install เรามาทำความเข้าใจ version กันก่อน เพราะเราจะได้รู้ว่าควรเลือก version release ไหนมาใช้งานใช้งาน

ความต้องการของระบบปฏิบัติการ Ubuntu

Ubuntu Release

โครงการ Ubuntu มีการออกรุ่นของระบบปฏิบัติการทุก 6 เดือน แต่ละรุ่นใช้เรียกโดยโค้ดเนม และเลขกำกับรุ่น ตามการพัฒนา ซึ่งใช้ตามเลขปีคริสต์ศักราชและเดือนที่ออก เช่น การออกในเดือนตุลาคม ค.ศ. 2004 จะมีเลขรุ่นเป็น 4.10 ใช้เป็นหมายเลขรุ่นไปด้วย
การเปิดตัวทุกเวอร์ชันจะออกช้ากว่า GNOME ประมาณ 1 เดือน, และออกตามหลัง 1 เดือน เมื่อ X.org ออกเวอร์ชันใหม่. ดังนั้นทุกๆการเปิดตัว จะประกอบด้วยเวอร์ชันใหม่ของทั้งGNOME และ X
สำหรับเวอร์ชัน 6.06 และ 8.04 จะมีการติดป้ายชื่อ Long Term Support (LTS) เป็นการบอกว่ามันจะได้รับการสนับสนุนและการปรับปรุงเป็นเวลา 3 ปีสำหรับเครื่องเดสท็อปและ5 ปี สำหรับเครื่องแม่ข่าย, ด้วยการจ่ายค่าสนับสนุนทางเทคนิคของบริษัท Canonical

ในความเห็นของผมเราควรเลือก release ที่ end-of-life-date ไกลที่สุด เพื่อที่เราสามารถ update และ download program ที่ support ได้ต่อเนื่อง โดยสักเกตุจาก release ที่ลงท้ายด้วย LTS ณ ตอนนี้ผมจึงขอเลือก version release Ubuntu 16.04.2 LTS

LTS ย่อมาจาก “long-term support” ที่หมายความถึงการรองรับหรือสนับสนุนระยะ
ยาวจากอูบุนตุ เวอร์ชั่น LTS ถูกปล่อยออกสู่ตลาดโดยเน้นกลุ่มผู้ใช้งานด้านธุรกิจ 
เน้นความเสถียรและจะได้รับการสนับสนุนหรือคอยอัพเดตเรื่องความปลอดภัยเป็นเวลาหลายปี

Link : https://wiki.ubuntu.com/Releases

Ubuntu Type

ในส่วนนี้มีด้วยกัน 2 แบบคือ desktop และ server  ซึ่งโดยหลักการแล้วทั้ง 2 แบบทำงานได้ไม่ต่างกัน แต่ถ้าคุณใช้งานบน PC หรือ notebook ก็ควรเลือกแบบ desktop เพราะเราจะสามารถ console ด้วยหน้า GUI ได้  สำหรับผู้ที่ต้องการ install เพื่อใช้งานเป็น server ที่เปิดใช้งานตลอดเวลา และ console ด้วยผ่าน remote ssh ไม่ต้องอาศัย GUI ก็เลือกแบบ Server ครับ

CPU-Bit

เช่นเดียวกันคือมีด้วยกัน 2 version คือ 32bit และ 64bit ซึ่งขึ้นอยู่กับเครื่องที่เรา install ด้วยว่า support 64bit หรือไม่ (ถ้าเป็น Intel คือ Core 2 duo ขึ้นไป) เราแนะนำให้ใช้ 64bit ถ้าเครื่องรองรับครับ

การใช้เมาส์บนหน้าจอ Live Tile เป็นเรื่องยากผู้ใช้ที่เคยชินกับการใช้งาน Windows 7 ที่ต้องใช้เมาส์เป็นประจำอาจจะหงุดหงิดกับการเลื่อนเมาส์เพื่อเลือกไอคอมบนหน้าจอ Live Tileได้เพราะ Windows 8 ออกแบบมาให้เหมาะกับการ Touch มากกว่าใช้เมาส์

วิธีแก้คือให้ใช้คีย์บอร์ดลูกศรแทนหากไม่ใช่หน้าจอทัชสกรีน
จากการทดสอบดูพบว่าความเร็วในการเข้าถึงโปรแกรมที่ต้องการด้วยปุ่มลูกศร
ทำเวลาได้น้อยกว่าการทัชอยู่ไม่มากเท่าใด
เว้นเสียแต่ว่าโปรแกรมที่ต้องการจะอยู่หน้าลึกๆ
ที่ปุ่มลูกศรจะหาโปรแกรมได้ยากกว่าการทัชพอสมควร

ต้องใช้เวลาในการเรียนรู้เยอะมาก
Windows 8 มีปุ่มคีย์ลัดจำนวนมากที่ทำให้ผู้ใช้ใช้งานได้ง่ายขึ้น
ข้อเสียคือหากไม่รู้หรือจำไม่ได้  Windows 8 จะเป็น OS ที่น่าหงุดหงิดสุดๆ
เช่น การเปิดแถบ Charm ด้านขวามือที่ต้องเลื่อนเมาส์หรือทัชไปที่มุมขวาบน
ถ้าเมาส์ไม่แม่นจริงบางครั้งแถบ Charm ก็ไม่โผล่มา
ทำให้การใช้เมาส์ลำบากกว่าการทัชเยอะ

คีย์ลัดจึงเข้ามามีบทบาทในจุดนี้
เมื่อผู้ใช้กดปุ่ม Window+C แถบ Charm ก็จะโผล่มาทันที
ซึ่งคีย์ลัดนี่แหละที่ทำให้ PC สามารถใช้ Windows8
ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพไม่แพ้แทบเล็ตหรีอ Hybrid เลย

แต่ก็เพราะคีย์ลัดมีเป็นจำนวนมาก ทำให้การใช้งาน Windows 8 ยุ่งยากขึ้นเยอะ
เพราะคีย์ลัดสำคัญๆมีเป็นสิบคีย์และผู้ใช้ก็ควรจะจำให้ได้ด้วย

3. Ubuntu

ความต้องการของระบบปฏิบัติการ Ubuntu

ข้อดีของ Ubuntu

1. ฟรี ไม่เสียค่าใช้จ่ายและสามารถใช้งานได้ทุกรูปแบบ โดยไม่มีเงื่อนไขกำหนด

2. ระบบการป้องกัน Ubuntu มีการป้องกันโดยให้สิทธิเฉพาะผู้ดูแลระบบเท่านั้นโดยต้องมีการกรอกรหัสผ่านเพื่อยืนยันตัวตนที่แท้จริงก่อนจึงอนุญาตให้ทำงานในระบบได้

3. Full Customization นอกจากการปรับปรุงต่างๆ จนกลายเป็น OS แล้ว ในเรื่องอื่น เช่นหน้าตา หรือสามารถปรับเปลี่ยนได้ ทั้งจะเปลี่ยนหน้าตา หรือการใช้งาน ให้เป็นอย่างที่ต้องการก็ได้

4. Thai Language Integrated smoothly การใช้ภาษาไทยใน Ubuntu ทั้งด้านอ่าน การเขียน หรือเมนูโปรแกรมภาษาไทยใช้งานได้ดี เหมาะสำหรับเด็กๆ หรือผู้สูงอายุ รวมถึงผู้ที่เริ่มใช้งานใหม่ ๆ สามารถใช้งานได้ง่าย

5. Required Minimal Hardware Resources การใช้ทรัพยากรน้อย ความต้องการฮาร์ดแวร์ต่ำ เครื่องไม่แรงก็สามารถลงได้

ข้อเสียของ Ubuntu

1. Not Compatible with Windows เกี่ยวกับงานด้านเอกสารทั่วไปโดยเฉพาะคนไทยมักจะใช้ Microsoft Office ดังนั้นการแลกเปลี่ยนเอกสารใช้งานซึ่งกันและกันอาจจะพบปัญหาความเข้ากันได้ และความผิดเพี้ยน

2. Some Website Require Internet Explorer 6 only ในการเรียกใช้ Internet Explorer ต้องใช้ เวอร์ชั่น 6.0 เท่านั้น

3. Flash Player more Perfect in Windows Only การนำ Flash มาใช้ตกแต่งหรือทำเป็นอินเตอร์เฟส ปัญหาคือ Flash Player จาก Adobe มีประสิทธิภาพเสียมาก ดังนั้นการใช้งานบางเว็บอาจใช้งานไม่ได้ หรือใช้ได้ไม่หรือไม่ก็กิน CPU จนน็อก

4. Shortly Support เวอร์ชั่นที่มีระยะเวลาการใช้งานมากกว่า 18 เดือน จะไม่มีการ Support และ Update

https://bit1242limakom.wordpress.com/2014/09/11/%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%8F%E0%B8%B4%E0%B8%9A%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%B4%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0-%E0%B8%82%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%B5/