พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี ppt

ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 2

พฒั นาการของ
อาณาจกั รธนบุรี

1. การสถาปนาอาณาจกั รธนบุรี

เหตุผลที่ยา้ ยราชธานี

1 กรุงศรีอยธุ ยาเสียหายมาก
ยากแกก่ ารจะบูรณะปฏสิ งั ขรณใ์ หด้ ีดงั เดิมได้

2 กรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ เมอื งใหญเ่ กินกวา่
จะรกั ษาไวไ้ ดด้ ้วยกาลังคนจานวนน้อย

3 ขา้ ศึกรู้จักภูมปิ ระเทศของกรุงศรีอยธุ ยาดีแล้ว

4 กรงุ ศรีอยธุ ยาตั้งอยู่ไกลจากปากแมน่ า้ มากเกนิ ไป
ไมส่ ะดวกในการติดต่อคา้ ขายกับตา่ งชาตทิ ม่ี ีจานวนมากขึน้

เหตผุ ลท่สี ถาปนากรงุ ธนบุรีเปน็ ราชธานี

1. กรุงธนบุรเี ปน็ เมอื งเล็กพอแกกาลังคนทจี่ ะรกั ษาไว้
2. ต้งั อย่ใู กล้ปากอ่าวสะดวกแก่การตดิ ต่อกับต่างชาติ
3. กรงุ ธนบุรมี ปี อ้ มปราการพร้อมอย่แู ลว้
4. กรุงธนบรุ ีต้ังอย่ใู นที่น้าลกึ ใกล้ทะเล หากข้าศกึ มแี ตท่ พั บกไมม่ ที ัพเรอื สนบั สนุนก็ยากทจ่ี ะตี
ได้สาเรจ็
5. ถา้ เสยี ทีแก่ข้าศกึ ก็สามารถกลบั ไปต้ังม่นั ทธ่ี นบุรีได้
6. อยูต่ ิดปากน้า สามารถควบคมุ การลาเลียงเสบยี งอาหารและอาวุธต่างๆที่จะเลด็ ลอดไปหวั
เมอื งทางเหนือท่ีตัง้ ตัวเปน็ ใหญ่ได้
7. ตงั้ อยไู่ ม่ไกลจากราชธานเี ดมิ จึงเปน็ แหลง่ รวมคนและขวัญของคนได้ดี

การสถาปนาอาณาจกั รธนบุรี

แผนทแ่ี สดงอาณาเขตของกรงุ ธนบรุ ใี นสมยั สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช

วัดสลัก
วดั ระฆงั
วดั อินทราราม
วัดอรุณ(วดั แจง้ )
วดั โพธ์ิ
พระราชวงั พระเจา้ กรงุ ธนบุรี
เรอื นเจา้ พระยาจกั รี

การสถาปนาอาณาจักรธนบุรี

ปัจจยั ทีม่ ผี ลตอ่ ความเจรญิ รงุ่ เรอื งของอาณาจกั รธนบุรี

หลังสถาปนากรงุ ธนบรุ ีเปน็ ราชธานีในพ.ศ. 2511 อาณาจักรธนบุรเี ร่มิ มคี วามเปน็
ปึกแผ่น โดยมีพฒั นาการดา้ นตา่ งๆ เชน่ การเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม
ความสมั พนั ธ์ระหว่างประเทศ รวมถงึ การสร้างสรรคภ์ มู ปิ ัญญาและวัฒนธรรมไทย

ปจั จยั ท่ีมผี ลตอ่ ความเจริญรงุ่ เรืองของอาณาจกั รธนบรุ ี

ความเข้มแข็งทางการทหาร

หลงั เสยี กรุงพ.ศ. 2310
รวบรวมชุมนมุ ต่างๆ ท่ีต้ังตน
เป็นใหญใ่ หเ้ ข้ามาอยู่ใตอ้ านาจ

+ มีแม่ทพั ท่มี คี วามสามารถ ทาให้รบชนะรัฐต่างๆ

อานาจทางการทหารมากขึ้น

สามารถแผข่ ยายอาณาจกั ร
ออกไปได้กวา้ งขวาง

ปจั จยั ทมี่ ีผลตอ่ ความเจรญิ รงุ่ เรอื งของอาณาจักรธนบรุ ี

นโยบายฟ้นื ฟูเศรษฐกิจ

1. ในระยะแรกขาดแคลนข้าวสารข้าวเปลอื ก
แก้ไขโดยซอื้ จากพ่อคา้ จีนและแจกให้กบั ราษฎร เศรษฐกจิ จึงเริ่มฟ้นื ตัว
3. สนับสนนุ การทานาปีละ 2 ครั้ง
4. เปดิ ใหม้ กี ารประมูลผกู ขาดเกบ็ คา่ ภาคหลวง
5. สนบั สนนุ พอ่ ค้าจนี ให้เข้ามาค้าขาย

ปจั จยั ที่มผี ลต่อความเจรญิ ร่งุ เรอื งของอาณาจกั รธนบรุ ี

นโยบายฟื้นฟพู ระพทุ ธศาสนา

การจดั ระเบยี บสงั ฆมณฑล
การรวบรวมพระไตรปิฎก
การบรู ณะและปฏิสงั ขรณ์วดั วาอาราม
การอัญเชิญพระแก้วมรกตมาประดษิ ฐานในราชอาณาจกั ร

ปจั จยั ท่มี ผี ลตอ่ ความเจริญร่งุ เรืองของอาณาจักรธนบรุ ี

พระแกว้ มรกต และ พระบางหรือพระพทุ ธลาวณั

ปจั จัยท่มี ีผลตอ่ ความเจริญร่งุ เรืองของอาณาจกั รธนบรุ ี

2. พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์
ของอาณาจกั รธนบุรี

อาณาจักรธนบุรีเป็นราชธานีของไทยอยู่ 15 ปี (พ.ศ.
2310-2325) มีพัฒนาการในด้านต่างๆทั้งการเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ สังคม และดา้ นความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ

พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตร์ของอาณาจกั รธนบุรี

1) ดา้ นการเมืองการปกครอง

(1) การสรา้ งความเปน็ ปกึ แผน่ 3
ของกรงุ ธนบรุ ี ปราบและรวบรวมชุมนมุ 2

ต่างๆทัง้ 6 ชมุ นุม 4
1

5

พัฒนาการทางประวตั ิศาสตร์ของอาณาจกั รธนบุรี การปกครอง

1) ดา้ นการเมืองการปกครอง ปราบพระเจา้ ฝาง
เมืองสวางคบรุ ีและ
ตไี ดเ้ มอื งพิมายของ ยึดเมืองพิษณโุ ลก
กรมหม่นื เทพพิพธิ

พ.ศ. 2310 พ.ศ. 2311 พ.ศ. 2312 พ.ศ. 2313

ตไี ดค้ า่ ยโพธสิ์ ามต้น ตไี ด้เมอื ง
ของสกุ ีพ้ ระนายกอง นครศรธี รรมราช

พฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ของอาณาจกั รธนบุรี การปกครอง

(2) ลกั ษณะการปกครองของอาณาจกั ร

2.1 การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ สว่ นกลาง 2.2 การบรหิ ารราชการแผน่ ดินสว่ นหัวเมอื ง

- กษตั รยิ ์มพี ระราชอานาจสูงสุด - หัวเมอื งชั้นใน
- มีอคั รมหาเสนาบดี 2 ตาแหน่ง - หวั เมืองชัน้ นอก
- หวั เมืองประเทศราช
สมุหพระกลาโหม,สมุหนายก

พฒั นาการทางประวตั ิศาสตรข์ องอาณาจกั รธนบรุ ี การปกครอง

(2) ลักษณะการปกครองของอาณาจกั ร
2.1 การบริหารราชการแผน่ ดินสว่ นกลาง

สมหุ พระกลาโหม สมุหนายก

มหี น้าที่ดแู ลรบั ผิดชอบดแู ลหวั เมอื ง มีหน้าทีด่ ูแลรับผิดชอบดแู ลหวั เมอื ง
ฝ่ายใตแ้ ละกิจการฝา่ ยทหาร ฝา่ ยเหนอื และกจิ การฝา่ ยพลเรือน

รวมทั้งกากับดูแลจตสุ ดมภ์
ทั้ง 4 กรม

พฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ของอาณาจักรธนบรุ ี การปกครอง

(2) ลกั ษณะการปกครองของอาณาจกั ร
2.1 การบริหารราชการแผน่ ดนิ ส่วนกลาง

กรมนครบาล พระยายมราช กรมวงั พระยาธรรมาธบิ ดี

ปกครองท้องที่ บงั คบั บัญชาบ้านเมอื ง รบั เก่ียวกับราชสานกั และพิจารณา
และรกั ษาความสงบเรียบรอ้ ยของบ้านเมอื ง พิพากษาคดีความของราษฎร

จตสุ ดมภ์

กรมคลัง พระยาศรธี รรมราช กรมนา พระยาพลเทพ
ดูแลการทานา เก็บขา้ วข้ึนฉางหลวงและ
รบั จ่ายและเกบ็ รกั ษาพระราชทรพั ยท์ ไ่ี ด้มาจาก พจิ ารณาคดคี วามเก่ยี วกบั เรอื่ งโค กระบอื
ส่วยอากร บังคับบัญชากรมทา่ ซ่ึงเกี่ยวข้องกับ
การติดต่อค้าขายกับตา่ งประเทศ และมหี น้าที่ และท่ีนา
พเกัฒยี่ นวากกับารพทราะงปครละวงั ตัสิศินาคสต้ารก์ขาอรงคอา้าณสาาจเกัภราธขนอบงรุ หี ลวง
การปกครอง

(2) ลกั ษณะการปกครองของอาณาจกั ร 2.2 การบรหิ ารราชการแผ่นดนิ ส่วนหัวเมอื ง

หวั เมอื งชน้ั นอก ราชธานี

หัวเมอื งชนั้ ใน

หัวเมอื งประเทศราช

หัวเมอื งช้นั ใน หัวเมอื งชัน้ นอก หัวเมอื งประเทศราช

- อยใู่ กล้ราชธานี หรอื เมอื งพระยามหานคร - อยู่หา่ งไกลออกไปถึงชายแดน
- เรียกว่า เมอื งชั้นจัตวา มอี าณาเขตตดิ ตอ่ กับประเทศอ่นื
-มผี ปู้ กครองเรยี กวา่ “ผู้ร้ัง” - อย่ไู กลเขตราชธานีออกไป - ต้องสง่ เครอ่ื งราชบรรณาการ
ปฏบิ ัติตามคาสง่ั ของเสนาบดี - มีเจ้าเมืองปกครอง มาให้ตามกาหนด
จตสุ ดมภใ์ นราชธานี - มีจตสุ ดมภเ์ หมือนกบั ราชธานี - ได้แก่ กัมพูชา ลาว
มีเมืองน้อยใหญ่ขึน้ ตรงอีกตอ่ เชยี งใหม่ และนครศรีธรรมราช
- แบ่งออกเป็นเมืองช้ันเอก โท

ตรี

พฒั นาการทางประวตั ศิ าสตรข์ องอาณาจกั รธนบุรี การปกครอง

2) ดา้ นเศรษฐกจิ

สาเหตทุ ที่ าใหเ้ กิดปญั หาเศรษฐกิจ

พมา่ กวาดตอ้ นผู้คน เสบยี งอาหารไปใช้ในการทาสงคราม

ธนบุรอี ยูใ่ นภาวะสงครามแทบตลอด

การสร้างราชธานีใหม่ การปูนบาเหน็จแกแ่ มท่ ัพและการ
บารุงพระพุทธศาสนา ต้องใชท้ รพั ยส์ ินเงินทอง

พฒั นาการทางประวัติศาสตร์ของอาณาจกั รธนบุรี ด้านเศรษฐกจิ

การแกไ้ ขปัญหาเศรษฐกิจ

1 ซอ้ื ข้าวสารจากพอ่ ค้าจีนและแจกใหก้ บั ราษฎร

2 ให้ชาวบ้านจับหนมู าสง่ ทาให้หนูทีร่ บกวนนาข้าวน้อยลง

3 เร่งรดั การทานา สนับสนุนการทานาปลี ะ 2 ครัง้

4 เปดิ ใหม้ กี ารประมลู ผูกขาดเกบ็ ค่าภาคหลวง

5 สง่ เสริมการค้ากับตา่ งประเทศ มกี ารส่งเรือไป
ค้าขายยังประเทศอนิ เดียและประเทศใกล้เคยี ง สาหรบั

สงิ่ ของที่บรรทกุ ไปขาย เชน่ ดบี กุ พริกไทย ครั่ง ขผ้ี ึ้ง

ไม้ หอมฯลฯ

พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์ของอาณาจกั รธนบุรี ด้านเศรษฐกิจ

3) ด้านสังคม

เป็นลกั ษณะของความสัมพันธท์ คี่ นในสงั คมจะมีหนา้ ที่และความรับผิดชอบทีต่ า่ งกนั
ระหวา่ งมูลนายกับไพร่

มพี ระภิกษุที่จะได้รบั ความนบั ถอื จากคนทุกกล่มุ ทุกชนช้ันสามารถบวชเปน็ พระได้
พระจึงมฐี านะพิเศษเชน่ เดยี วกับอยุธยา

มีการเตรยี มพร้อมอยู่เสมอสาหรบั การทาศกึ โดยสกั เลขบอกช่ือสงั กัดมลู นายและเมืองไว้ทขี่ ้อมือไพร่
หลวงทุกคน จะมีหน้าท่รี ับใช้ราชการปีละ 6 เดอื น โดยการมารับราชการ 1 เดือน แลว้ หยดุ ไปทามา

หากินของตนอีก 1 เดือนสลับกันไป เรยี กวา่ “การเข้าเดอื นออกเดือน”

พฒั นาการทางประวตั ิศาสตร์ของอาณาจักรธนบุรี ดา้ นสงั คม

พระมหา เปน็ ประมุข มพี ระราชอานาจสงู สุด เป็นสมมติเทพและธรรมราชา
กษตั รยิ ์ พระญาติของพระมหากษัตริย์ หรอื เรียกวา่ เจา้ นาย

พระบรม
วงศานุวงศ์

ขุนนาง ผู้มหี นา้ ท่ีบรหิ ารราชการแผ่นดนิ มศี ักดินา ยศ ตาแหนง่

ไพร่ ราษฎรทตี่ ้องถูกเกณฑ์แรงงาน แบง่ ออกเป็นไพรห่ ลวงและไพร่สม

ทาส บุคคลทม่ี ิได้มกี รรมสทิ ธ์ิในแรงงานและชีวิตของตนเอง ชนช้ันต่าสุดในสังคม

พัฒนาการทางประวตั ศิ าสตรข์ องอาณาจกั รธนบุรี ดา้ นสังคม

4) ด้านความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ

กับล้านนา

ลักษณะความสมั พนั ธ์เปน็ การเผชญิ หน้าทางทหาร
และการขยายอานาจ

พ.ศ. 2313-2314 ทรงสง่ กองทพั ไปตเี มือง
เชียงใหมแ่ ตไ่ มส่ าเร็จ

พ.ศ. 2317 ทรงสง่ กองทัพไปตเี ชียงใหม่คร้ังที่ 2 ได้สาเรจ็
และใหเ้ จ้านายล้านนาเป็นผปู้ กครองล้านนากนั เอง

พ.ศ. 2319 พมา่ ยกทัพมาตีเชยี งใหม่ เจ้าพระยาสรุ
สีหไ์ ด้คมุ ทัพหัวเมอื งเหนอื ยกไปตเี ชยี งใหม่คืนไดส้ าเร็จ

พฒั นาการทางประวัติศาสตร์ของอาณาจักรธนบรุ ี ด้านความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศ

4) ดา้ นความสมั พันธร์ ะหว่างประเทศ

กบั พมา่

ลกั ษณะความสมั พนั ธ์เปน็ การเผชญิ หน้าทางทหาร
เพื่อปอ้ งกันเอกราชจากการโจมตขี องพมา่

ไทยทาสงครามกับพมา่ ถงึ 10 ครงั้ ครัง้ สาคัญ เช่น

-ศึกค่ายโพธสิ์ ามตน้ (พ.ศ. 2310)
-ศึกเชยี งใหม่ ครง้ั ท่ี 2 (พ.ศ. 2317)
-ศกึ บางแก้วเมอื งราชบรุ ี (พ.ศ. 2317)
-ศกึ อะแซหวุ่นก้ี (พ.ศ. 2318-19)

พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของอาณาจกั รธนบรุ ี ดา้ นความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ

4) ด้านความสัมพันธร์ ะหวา่ งประเทศ

กับล้านชา้ ง

ลกั ษณะความสมั พนั ธ์แบบการชว่ ยเหลอื เกอ้ื กลู
และขยายอานาจ

พ.ศ. 2319 เจ้าเมืองนางรองเปน็ กบฏหนั ไปเป็นพวก
จาปาศกั ดิ์ พระเจ้าตากฯจงึ ให้ยกทพั ไปปราบเจา้ เมอื ง
นางรอง และตีจาปาศกั ดื ทาใหล้ าวตอนใต้ขน้ึ กบั ไทย

พ.ศ. 2321 เจา้ นครเวยี งจันทน์ส่งกองทพั มาจับพระวอ เสนาบดเี วียงจันทน์ทม่ี าเขา้ กับฝงั่ ไทย ฝ่งั ไทย
จึงยกทพั ไปตีเมอื งเวียงจันทนไ์ ด้ สมเด็จเจา้ พระยามหากษัตรยิ ศ์ กึ ได้อัญเชญิ พระแกว้ มรกตกบั พระบาง
มาประดษิ ฐาน

พฒั นาการทางประวัติศาสตรข์ องอาณาจกั รธนบุรี ดา้ นความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศ

4) ดา้ นความสมั พนั ธร์ ะหว่างประเทศ

กับเขมร

ลักษณะความสัมพนั ธก์ ารให้ความช่วยเหลอื
และขยายอานาจ

พ.ศ. 2312 เขมรไม่ยอมสวามภิ กั ดิ์ต่อไทย ไทยจึง
ยกทพั ไปตไี ด้เมืองเสยี มราฐและพระตะบอง

พ.ศ. 2313 เขมรโจมตเี มืองตราด จันทบุรี แตถ่ ูก
ไทยตีพ่าย และไทยยกทพั ไปตีเขมรจนไดอ้ หี ลายเมอื ง

พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ของอาณาจักรธนบรุ ี พ.ศ. 2323 เกดิ กบฏในเขมร จึงใหเ้ จ้าพระยามหา
กษตั ริย์ศกึ ไปตีเขมร แต่ธนบรุ เี กดิ จลาจลจงึ ยกทพั กลับ

ด้านความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ

4) ด้านความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ

กบั จนี

ลักษณะความสมั พนั ธ์ระบบการค้าบรรณาการ

หลังข้ึนครองราชย์ส่งทตู ไปจนี หลายครงั้

แตจ่ ีนยังไม่รบั รองฐานะของพระองคเ์ พราะเห็นวา่ เป็นการ
ครองราชย์ท่ีไม่ถูกต้อง

แต่ก็ยอมขายกามะถันและกระทะเหลก็ ให้ไทยนามาทา
ดินปนื และหล่อปืนใหญ่ ละยอมรบั ฐานะในเวลาต่อมา

พัฒนาการทางประวัตศิ าสตร์ของอาณาจกั รธนบรุ ี ด้านความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งประเทศ

4) ด้านความสัมพนั ธร์ ะหว่างประเทศ

กับองั กฤษ

ไทยสมัยธนบุรีมีความสัมพันธ์ กับ
อังกฤษโดยพ่อค้าอังกฤษช่ือร้อยเอกฟรานซิส
ไลต์หรือไทยเรียกว่า“กปิตันเหล็ก” ได้จัดหา
อาวุธมาใหไ้ ทยใช้ต่อสู้กับพม่า ภายหลังฟรานซิส
ไลตไ์ ดร้ บั พระราชทานยศเป็นพระยาราชกปิตัน

พฒั นาการทางประวัตศิ าสตร์ของอาณาจกั รธนบรุ ี ด้านความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประเทศ

3. ความเสอ่ื มของอาณาจักรธนบุรี

เกดิ กบฏพระยาสรรค์ พระยาสรรค์กับพวก พระเจา้ ตากสนิ ยอมแพแ้ ละ
ในพ.ศ. 2325 สามารถปลน้ พระราชวงั ออกผนวช
ได้ เกิดความว่นุ วายใน

ธนบุรี

สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช สมเดจ็ เจา้ พระยามหากษัตรยิ ์ศึกกับเหล่า
จงึ ถูกสาเร็จโทษดว้ ยทอ่ น ขนุ นางลงความเหน็ ว่าควรนาสมเดจ็ พระ
จันทน์ พระชนมายุได้ 48
พรรษา เจ้าตากสินมหาราชไปสาเรจ็ โทษ

ความเส่อื มของอาณาจักรธนบรุ ี

4. ภูมิปญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมยั ธนบุรี

ภูมิปัญญา หมายถึง ความคิด ความเช่ือ ความสามารถ ความชัดเจน จาก
ประสบการณ์การดารงชีวิตในสภาพแวดลอ้ มทางธรรมชาติและส่ิงแวดล้อมทางสังคมและ
วฒั นธรรม

วฒั นธรรม มคี วามหมายรวมถึง ระบบความเชื่อ ระบบคุณคา่ และวถิ ชี วี ิตท้ังหมด

ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยสมัยธนบรุ ี

1) การพิจารณาเลอื กทาเลทีต่ ั้งทเี่ หมาะสม

การท่ีเมืองธนบุรีต้ังอยู่ริม มีอิทธิพลต่อปัจจุบันใน
ปากแม่น้าเจ้าพระยาและมี ก า ร ต้ั ง ศู น ย์ ส า คั ญ ข อ ง
ป้อมปราการมาต้ังแต่สมัย ทางราชการในการ
อยุธยา จึงช่วยป้องกันการ พั ฒ น า ป ร ะ เ ท ศ ใ น
โ จ ม ตี ข อ ง ข้ า ศึ ก แ ล ะ ติ ด ต่ อ ปัจจุบัน เช่น ท่าเรือ
คา้ ขายทางทะเลได้สะดวก แหลมฉบัง ฐานทัพเรือ
สัตหบี เปน็ ตน้

ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมยั ธนบรุ ี

2) การปรับตวั เพอ่ื แกป้ ัญหาการดารงชวี ติ

เชน่ ปัญหาการขาดแคลนข้าว
ทรงแก้ปัญหาเฉพาะหน้าด้วย
การรับซื้อข้าวจากพ่อค้าชาว
จีนและพระราชทานให้ราษฎร
จากท่ีราคาข้าวแพงเพราะ
พ่อค้าหวังกาไร พอคนมีข้าว
กิน ไม่ขาดแคลนแล้ว ราคา
ข้าวในทอ้ งตลาดจึงถกู ลง

ภมู ปิ ัญญาและวฒั นธรรมไทยสมยั ธนบุรี

3) การปลกู ฝงั ศลี ธรรมใหก้ ับสังคม

มีการวาดภาพเก่ียวกับไตร อิทธิพลต่อปัจจุบันมี
ภูมิหรอโลกท้ังสาม ได้แก่ การวาดภาพไตรภูมิ ไว้
สวรรค์ภูมิ มนุษยภูมิและนรก ตามผนังโบสถ์ วิหาร
ภูมิ เรียกว่า สมุดภาพไตรภูมิ วัด เพอื่ เตือนใจ
เพื่อปลูกฝังให้คนไทยเชื่อใน
เร่ืองบาปบุญคุณโทษผู้คนจะ
ได้เกรงกลัวต่อบาปและทาแต่
ความดี

ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบรุ ี

4) การปรับตัวประสานสมั พันธก์ บั ชาวตา่ งชาติ

สังคมไทยในสมัยธนบุรี มี มีอิทธิพลต่อปัจจุบันคือ
ชาวต่างชาติมาอยู่ร่วมกับคน การโอบอ้อมอารีของคน
ไทย เช่น จีน มอญ ฝร่ังเศส ไทยต่อคนต่างชาติพันธุ์
เป็นต้น ซึ่งแทบจะเป็นการต้ัง ได้รับ การสืบทอดมา
ถ่ินฐาน แต่ก็สามารถปรับตัว จนถึงปัจจุบัน
เพื่ออยรู่ ่วมกนั ได้เป็นอยา่ งดี

ภมู ปิ ญั ญาและวัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี

5) ด้านศลิ ปกรรม

สมัยธนบุรีบ้านเมืองตกอยู่ใน
ภาวะสงคราม แต่ยังมีผลงาน
ด้านนี้อยู่บ้าง

เช่น การสร้างพระราชวังกรงุ ธนบุรี วังเจา้ นาย
การบูรณปฏิสังขรณ์และสร้างวดั วาอารามตา่ งๆ เช่น
วัดบางหว้าใหญ่ (วัดระฆงั โฆษิตาราม) วดั แจง้
(วดั อรุณราชวราราม) วัดบางย่เี รือนอก (วัดอินทา
ราม) รวมถึงภาพเขียนในหนงั สอื สมุดไทย เรือ่ ง
ไตรภมู ิ

ภมู ิปัญญาและวฒั นธรรมไทยสมัยธนบุรี

ตลอดระยะเวลา 15 ปีของอาณาจักรธนบุรีมีสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราชเป็นกษัตริย์พระองค์เดียว ซ่ึงพระองค์เป็นผู้กอบกู้เอกราชหลังเสียกรุงศรี
อยุธยาให้กับพม่า และเป็นผู้สถาปนาอาณาจักรธนบุรี แม้หลังกอบกู้เอกราชมาได้
แล้วบ้านเมืองจะอยู่ในภาวะสงครามโดยตลอด แต่อาณาจักรธนบุรีก็มีการพัฒนา
ในด้านต่างๆตลอดมา

แม้ในปลายรัชสมัยเกิดกบฏพระยาสรรค์ ทาให้พระเจ้าตากสินมหาราช
ถูกสาเร็จโทษด้วยท่อนจันทน์ และเป็นการสิ้นสุดอาณาจักรธนบุรี โดยสมเด็จ
เจ้าพระยามหากษัตริย์ศึกได้ปราบดาภิเษกขึ้นเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า
จฬุ าโลกมหาราช ปฐมกษตั รยิ แ์ ห่งราชวงศจ์ ักรี