สถิติการเสียชีวิตของคนไทยต่อวัน

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) ได้จัดทำหนังสือ “สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2563” เผยแพร่ผ่านทาง https://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/2563_0.pdf โดยหนึ่งในเนื้อหาสำคัญคือ “จำนวนและอัตราการตายต่อประชากร 1 แสนคน จำแนกตามสาเหตุที่สำคัญ พ.ศ. 2559-2563” ซึ่งจำแนกออกเป็น 10 สาเหตุการตาย (Causes of Death)

สำหรับข้อมูลปี 2563 พบว่า 10 สาเหตุการตายของคนไทย ได้แก่ 1.มะเร็งทุกชนิด 2. โรคหลอดเลือดในสมอง 3. ปอดอักเสบ 4. โรคหัวใจขาดเลือด 5. อุบัติเหตุจากการคมนาคมขนส่งทางบก 6. เบาหวาน 7. โรคเกี่ยวกับตับ 8. โรคทางเดินหายใจส่วนล่างเรื้อรัง 9. วัณโรคทุกชนิด 10. โรคภูมิคุ้มกันบกพร่องเนื่องจากไวรัส

นอกจากนี้ หนังสือ “สถิติสาธารณสุข พ.ศ. 2563” ยังได้เผยแพร่สถิติ “จำนวนและอัตราส่วนมารดาตาย ต่อเกิดมีชีพ 1 แสนคน” โดยจำแนกตามกลุ่มสาเหตุ ตามบัญชีจำแนกโรคระหวางประเทศ ฉบับแก้ไข ครั้งที่ 10 พ.ศ. 2559-2563

สำหรับข้อมูลล่าสุด ปี 2563 พบว่า มีผู้เสียชีวิตจากการตั้งครรภ์ การคลอด และระยะหลังคลอด รวม 143 ราย แบ่งเป็น ท้องแล้วแท้ง 11 ราย การบวม การมีโปรตีนในปัสสาวะและความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์การคลอดและหลังคลอด 9 ราย การดูแลมารดาที่เกี่ยวข้องกับเด็กและถุงน้ำคร่ำและปัญหาที่อาจเกิดเมื่อคลอด 9 ราย โรคแทรกของการเจ็บครรภ์และการคลอด 23 ราย โรคแทรกในระยะอยู่ไฟ 23 ราย สภาวะการคลอดที่ไม่ได้ระบุไว้อีก 68 ราย

อัตราการเสียชีวิตจากอุบัติเหตุทางถนน ต่อ ประชากร 100,000 คน เพศชาย แยกรายจังหวัด หมายถึง สัดส่วนระหว่างจำนวนผู้เสียชีวิต เพศชาย ที่ปรากฏในสถิติคดีอุบัติเหตุจราจรทางบก แยกรายจังหวัด ต่อ จำนวนประชากรเพศชายในแต่ละจังหวัด 1 แสนคน


1) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, 2) กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

กำหนดขอบเขตไม่ครบ หรือ ยังไม่ได้กำหนดขอบเขตการแสดงสีของหมวดหมู่นี้

URL: http://trso.thairoads.org/statistic/watch/detail/167

1) สำนักงานตำรวจแห่งชาติ, 2) กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย

สืบเนื่องจากเมื่อวานนี้ (25 มกราคม) ดร.ธันยวัต สมใจทวีพร ผู้อำนวยการศูนย์นวัตกรรมหุ่นยนต์และระบบอัตโนมัติ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์ โพสต์ภาพและข้อมูลเกี่ยวกับ ‘อัตราการเกิด’ ของประชากรในประเทศไทยแบบย้อนหลัง 9 ปีล่าสุด พบจำนวนเด็กเกิดใหม่ดิ่งลงอย่างต่อเนื่อง โดยปี 2564 มีเด็กเกิดใหม่เพียง 544,570 คนเท่านั้น

 

และอีกหนึ่งประเด็นที่นำไปสู่ความน่ากังวลเป็นลำดับต่อมา คือ ‘อัตราการตาย’ ของปี 2564 ที่เพิ่มสูงขึ้นสวนทางการเกิดใหม่ของประชากรในประเทศไทยอย่างน่าตกใจ ซึ่งมีอัตราการตาย จำนวน 563,650 ราย ตามรายงานของสำนักงานสถิติแห่งชาติ

 

ทั้งนี้ เมื่อปี 2563 มีการตีพิมพ์งานวิจัยของมหาวิทยาลัยวอชิงตันของสหรัฐอเมริกา ในวารสาร The Lancet (แลนเซ็ต) ที่เปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับกรณีดังกล่าว พร้อมคาดคะเนไว้ว่า ในภาพรวมอีกหลายปีข้างหน้า หลายประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย จะมีจำนวนประชากรเกิดใหม่ที่ลดลง และคาดการณ์ว่าภายในปี 2643 หรือ 78 ปีข้างหน้า เมืองไทยจะประชากรลดลงจาก 71 ล้านคน มาอยู่ที่ 35 ล้านคน 

 

โดยความน่ากังวลของตัวเลขเด็กเกิดใหม่ที่ลดลง กำลังเป็นสัญญาณร้ายถึงเศรษฐกิจที่มีแนวโน้มจะชะลอตัว หรือเป็นสัญญาณของจุดเริ่มต้นของหายนะทางเศรษฐกิจของประเทศที่เผชิญปัญญาดังกล่าว เพราะจะทำให้คนวัยทำงานลดน้อยลงจนไม่เพียงพอ (โดยเฉพาะประเทศไทยที่กำลังก้าวเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ) ส่งผลให้อัตราการเติบโตของ GDP ลดลง ต้องพึ่งพาแรงงานข้ามชาติมากขึ้น

 

THE STANDARD รวบรวมข้อมูล ‘อัตราการเกิด’ และ ‘อัตราการตาย’ ในประเทศไทยแบบย้อนหลัง 9 ปีล่าสุด (2555-2564) มาให้เทียบตัวเลขให้ได้เห็นแบบชัดเจนว่าเป็นอย่างไรบ้าง

  • จำนวนผู้ป่วยใน จำแนกตามกลุ่มสาเหตุป่วย 75 โรค จากสถานบริการสาธารณสุข ของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ.2546 - 2555 :

ข้อมูลเป็นรายภาค

ข้อมูลเป็นรายจังหวัด

  • จำนวนผู้ป่วยนอก จำแนกตามกลุ่มสาเหตุป่วย 21 โรค จากสถานบริการสาธารณสุข ของกระทรวงสาธารณสุข พ.ศ. 2548 - 2557

ข้อมูลเป็นรายภาค

ข้อมูลเป็นรายจังหวัด

  • จำนวนการตาย จำแนกตามสาเหตุการตาย และเพศ พ.ศ. 2550 - 2557 :

ข้อมูลเป็นรายภาค

ข้อมูลเป็นรายจังหวัด

  • อัตราการตาย ต่อประชากร (100,000 คน) จำแนกตามสาเหตุการตาย และเพศ พ.ศ. 2550 - 2557:

ข้อมูลเป็นรายภาค

ข้อมูลเป็นรายจังหวัด

หนึ่ง เมื่อมีอายุครบหกสิบปีบริบูรณ์ และยังเป็นลูกจ้างของนายจ้าง ซึ่งอยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัตินี้ มาตรา 39 ผู้ใดเคยเป็นผู้ประกันตนตาม มาตรา 33 โดยจ่ายเงินสมทบมาแล้ว ไม่น้อยกว่าสิบสองเดือน และต่อมาความเป็นผู้ประกันตนได้สิ้นสุดลงตาม มาตรา 38 (2) ถ้าผู้นั้นประสงค์จะเป็นผู้ประกันตนต่อไปให้แสดงความจำนงต่อสำนักงานตามระเบียบที่เลขาธิการ กำหนดภายในหกเดือนนับผู้ประกันตนฐาน แต่วันสิ้นสุดจำนวนเงิน ที่ใช้เป็นความเป็นในการคำนวณเงินสมทบ 

ส่วนข้อมูลอัตราการตายจากโรคมะเร็งปอด ในช่วง 10 ปีระหว่าง ปีพ.ศ. 2554-2563 พบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ โดยถ้าแบ่งตามภูมิภาค นอกจากกรุงเทพมหานคร ภาคเหนือมีอัตราการตายต่อจำนวนประชากรหนึ่งแสนคนมากสุดติอต่อกันในประเทศตลอดระยะเวลา 10 ปี โดยภาคใต้ตอนล่างอัตราการเสียชีวิตจากมะเร็งปอดต่ำที่สุดในประเทศไทย

สถิติการเสียชีวิตของคนไทยต่อวัน

โดยข้อมูล ปี 2563 อัตราการตายจากโรคมะเร็งปอดต่ออัตราประชากรหนึ่งแสนคน จากทั่วประเทศพบว่า 10 จังหวัดที่มีอันดับการเสียชีวิตสูงสุด มีดังนี้

  1. ลำปาง (44.87)
  2. ลำพูน (41.93)
  3. พะเยา (38.94)
  4. แพร่ (38.05)
  5. น่าน (37.21)
  6. เชียงราย (32.69)
  7. เชียงใหม่ (33.39)
  8. แม่ฮ่องสอน (30.31)
  9. อุตรดิตถ์ (29.34)
  10. ตาก (28.52)

ซึ่งจากข้อมูลพบว่า 8 ใน 10 จังหวัดที่มีอัตราการเสียชีวิตสูงสุดอยู่ในภูมิภาค ภาคเหนือส่วนกรุงเทพมหานครมีอัตราการเสียชีวิตจากโรคมะเร็งต่ออัตราจำนวนประชากรแสนคนเฉลี่ยอยู่ที่ 25.61 

จากรายงาน สถานการณ์คุณภาพอากาศ ปี 2564 ของกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม นายอรรถพล เจริญชันษา อธิบดีกรมควบคุมมลพิษ (คพ.) กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กล่าวว่า เฉพาะกรุงเทพมหานครและปริมณฑล สถานการณ์ปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 ปี 2564 ภาพรวมทั้งพื้นที่มีแนวโน้มดีขึ้น จำนวนวันที่ฝุ่นละออง PM2.5 เกินค่ามาตรฐาน 67 วัน ลดลงจากปีที่ผ่านมา (ร้อยละ 9)

สำหรับสถานการณ์หมอกควันภาคเหนือ มีแนวโน้มดีขึ้นกว่าปี พ.ศ.2563 ที่ผ่านมาจำนวนวันที่ฝุ่นละอองเกินค่ามาตรฐาน 103 วัน (ลดลงจากปี 2563 ร้อยละ 8) มีปริมาณฝุ่นละออง PM2.5 เฉลี่ย 40 มคก./ลบ.ม. (ลดลงจากปี 2563 ร้อยละ 13) 

สาเหตุหลักมาจากการเผาในพื้นที่การเกษตรจำนวนมากประกอบกับสภาพอากาศที่แห้งแล้ง ส่งผลให้มีการลุกลามของไฟป่าอย่างรวดเร็ว โดยพื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือมีพื้นที่เผาไหม้รวม 9.742 ล้านไร่ 5 จังหวัดที่มีพื้นที่เผาไหม้สูงสุด ได้แก่ ลำปาง แม่ฮ่องสอน เพชรบูรณ์ ตาก และนครสวรรค์

ข้อมูลจาก เฟซบุ๊กเพจ WEVO สื่ออาสา ที่อ้างอิง งานศึกษาของ รศ.พญ.บุษยามาส ระบุว่า PM2.5 เป็นสารก่อมะเร็งที่มีขนาดโมเลกุลเล็กเพียง 2.5 ไมครอน เล็กมากจนมองไม่เห็นด้วยตาเปล่า ดังนั้นเมื่อ PM2.5 ลอยเข้าไปในหลอดลมจนถึงปอด จะเข้าไปโดยที่เราไม่รู้สึกตัวและป้องกันไม่ได้ เมื่อเข้าไปในปอดแล้วก็จะทำให้เกิดการอักเสบ มีการกลายพันธุ์ของ DNA RNA หากร่างกายได้รับสาร PM2.5 ในปริมาณมากและยาวนานเกินไป ร่างกายต่อสู้ไม่ไหวจะทำให้กลายเป็นมะเร็งปอดได้
โดยมะเร็งที่พบสัมพันธ์กับ PM2.5 ก็คือเป็นชนิด อะดีโนคาร์ซิโนมา (Adenocarcinoma) หรือมะเร็งชนิดต่อม ซึ่งผู้หญิงมีโอกาสเป็นมะเร็งปอดชนิดนี้ได้มากกว่าผู้ชาย ส่วนคนที่สูบบุหรี่อยู่แล้ว เมื่อสูด PM2.5 เข้าไป ความเสี่ยงโรคมะเร็งปอดจะทวีคูณขึ้นเป็น 2 เท่า

รศ.พญ.บุษยามาส กล่าวเสริมว่า ในอดีตชนิดของมะเร็งปอดที่พบคนป่วยในภาคเหนือคือสแควมัสคาร์ซิโนมา (Squamous Carcinoma) แต่แนวโน้มในปัจจุบันพบมะเร็งชนิดอะดีโนคาร์ซิโนมาในผู้ป่วยมากขึ้น

คุณหมอเน้นย้ำว่า PM2.5 ไม่ได้ก่อให้เกิดมะเร็งปอดเพียงอย่างเดียว เพราะขนาดที่เล็กทำให้สามารถกระจายไปทั่วร่างกาย เป็นสาเหตุของโรคหลอดเลือดอุดตัน ถุงลมโป่งพอง หอบหืด โรคหัวใจ ฯลฯ

ในส่วนของ บริเวณพื้นที่ในเขตกรุงเทพฯ ทางเว็บไซต์ Rocket Media Lab ได้รวบรวมข้อมูลไว้พบว่าในปี 2021 ที่ผ่านมา คนกรุงเทพฯ สูดฝุ่นพิษ PM 2.5 เท่ากับการสูบบุหรี่ 1,261.05 มวน ลดลง 9 มวนจากปี 2020รวมแล้วคนกรุงเทพฯ อยู่ในเมืองที่มีเกณฑ์อากาศดี 90 วัน คิดเป็น 24.66% มากกว่าปีก่อนหน้า 19 วัน

โดยกรุงเทพฯ มีคุณภาพอากาศอยู่ในระดับสีแดง หมายถึงมีผลกระทบต่อสุขภาพ มากถึง 12 วัน คิดเป็น 3.29% ระดับสีส้ม หรือมีผลต่อสุขภาพต่อกลุ่มคนที่มีสัมผัสไวต่อมลพิษ 61 วัน คิดเป็น 16.71% ระดับสีเหลือง อากาศมีคุณภาพปานกลาง 202 วัน คิดเป็น 55.34% และระดับสีเขียว อากาศมีคุณภาพดี 90 วัน 

ส่วนเดือนที่กรุงเทพฯ มีอากาศเลวร้ายและฝุ่นพิษมากที่สุดในปี 2021 และ 2020 คือเดือนมกราคม โดยวันที่มีค่าฝุ่นเป็นค่ามาตรฐานเฉลี่ย 24 ชั่วโมง สูงสุดแห่งปี คือวันที่ 23 มกราคม 2021 อยู่ในระดับสีแดง สูงถึง 187 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร มากกว่าปี 2020 อยู่ที่ 181 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งตลอดทั้งเดือนมกราคมของปี 2021 ไม่มีวันไหนที่มีอากาศอยู่ในเกณฑ์สีเขียวเลย