ประกันสังคมเดือนตุลาคม2565จ่ายเท่าไร

กระทรวงแรงงานออกประกาศลดเงินสมทบงวดเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2565 เร่งช่วยเหลือนายจ้าง ผู้ประกันตนที่ได้รับผลกระทบค่าครองชีพ

นายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ลงนามในประกาศกฎกระทรวง กำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ. 2565 เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2565 มีผลบังคับใช้งวดเดือนตุลาคม – ธันวาคม พ.ศ. 2565 ตามมติคณะรัฐมนตรีเห็นชอบเมื่อวันที่ 20 กันยายน 2565 เพื่อช่วยเหลือนายจ้างผู้ประกอบการ และผู้ประกันตน โดยเฉพาะผู้มีรายได้น้อยที่ได้รับความเดือดร้อน จากสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวอันเนื่องมาจากการปรับตัวสูงขึ้นของค่าครองชีพหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคโควิด-19

ประกาศกฎกระทรวง ได้กำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคมให้ปรับลดอัตราเงินสมทบ โดยให้จัดเก็บเงินสมทบฝ่ายนายจ้าง ผู้ประกันตนมาตรา 33 จากเดิมร้อยละ 5 เหลือร้อยละ 3 ของค่าจ้าง และผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ปรับลดอัตราเงินสมทบ จากเดือนละ 432 บาท เหลือเดือนละ 240 บาท โดยเริ่มตั้งแต่งวดเดือนตุลาคม – ธันวาคม 2565

ผู้ประกันตนจะได้รับสิทธิประโยชน์ทั้ง 7 กรณี คือ เจ็บป่วย คลอดบุตร ทุพพลภาพ ตาย สงเคราะห์บุตร ชราภาพ และว่างงาน เหมือนเดิม อย่างไรก็ดีการลดอัตราเงินสมทบไม่มีผลกระทบถึงการออมเงินสะสมเข้ากองทุนชราภาพแต่อย่างใด จึงขอให้ผู้ประกันตนมั่นใจในการดำเนินงานของสำนักงานประกันสังคม ที่พร้อมปฏิบัติตามนโยบายเร่งด่วนของรัฐบาล

น.ส.ลัดดา แซ่ลี้ รองเลขาธิการสำนักงานประกันสังคม เปิดเผยว่านายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน ที่ให้ความสำคัญในการช่วยเหลือและบรรเทาความเดือดร้อนแก่ นายจ้าง และผู้ประกันตน ในระบบประกันสังคม ในช่วงผลกระทบจากสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวอันเนื่องมาจากการปรับตัวสูงขึ้น ของค่าครองชีพ ให้รวดเร็ว ทันเหตุการณ์มากที่สุด

"ประกันสังคม" ลดอัตราเงินสมทบ 3 เดือน ตั้งแต่ ต.ค.- ธ.ค. 65 นายจ้าง ผู้ประกันตนมาตรา 33 และผู้ประกันตนมาตรา 39 ลดจำนวนเท่าไหร่ ดูรายละเอียดได้ที่นี่

"ประกันสังคม"ลดอัตเงินสมทบให้นายจ้าง ผู้ประกันตนมาตรา 33  และผู้ประกันตนมาตรา 39 รวม 3 เดือนตั้งแต่ ตุลาคม - ธันวาคม 2565

 

ตามกฎกระทรวงกำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม พ.ศ.2565 ประกาศ ณ วันที่ 30 กันยายน 2565 กำหนดดังนี้

นายจ้าง ผู้ประกันตนมาตรา 33

 

ลดอัตราเงินสมทบฝ่ายนายจ้าง และฝ่ายผู้ประกันตนตาม ม.33 โดยให้นายจ้าง และผู้ประกันตนแต่ละฝ่ายจ่ายเงิน ร้อยละ 3 ของค่าจ้าง ผู้ประกันตนจากเดิมอยู่ในอัตราร้อยละ 5 ในขณะที่กำหนดให้รัฐบาลจ่ายเงินในอัตราเท่าเดิมที่ร้อยละ 2.75 ของค่าจ้างผู้ประกันตน

ผู้ประกันตนมาตรา 39

 

ปรับลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม จากเดิมในอัตราเดือนละ 432 บาทเป็นอัตราเดือนละ 240 บาท ในช่วงระยะเวลา 3 เดือน ต.ค. - ธ.ค. 2565 ด้วยเช่นกัน เพื่อลดภาระนายจ้างและผู้ประกันตนให้เหมาะสมสอดคล้องกับสภาวะเศรษฐกิจและค่าครองชีพ

“ประกันสังคม” ลดอัตราเงินสมทบมาตรา 33 และมาตรา 39 งวดเดือน ต.ค.- ธ.ค. 65 บรรเทาค่าใช้จ่าย นายจ้าง - ลูกจ้าง

เผยแพร่: 12 ต.ค. 2565 20:53   ปรับปรุง: 12 ต.ค. 2565 20:53   โดย: ผู้จัดการออนไลน์



คณะรัฐมนตรี ได้มีมติอนุมัติหลักการร่างกฎกระทรวงแรงงาน ลดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสังคม มาตรา 33 และ มาตรา 39 เป็นเวลา 3 เดือน ตั้งแต่เดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2565 โดย มาตรา 33 ให้นายจ้างและผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบในอัตราร้อยละ 3 ของค่าจ้างจากเดิมที่จ่ายในอัตราร้อยละ 5 ส่วนมาตรา 39 ปรับลดเงินสมทบจากอัตราเดิมเดือนละ 432 บาทเป็นเดือนละ 240 บาท ในช่วงระยะเวลา 3 เดือน การลดอัตราเงินสมทบงวดเดือน ตุลาคม - ธันวาคม 2565 นี้ เพื่อเป็นการบรรเทาภาระของนายจ้างจากสภาวะเศรษฐกิจและการปรับขึ้นค่าแรงขั้นต่ำทั่วประเทศที่ทำให้นายจ้างต้องแบกรับภาระค่าใช้จ่ายสูงขึ้น เพื่อให้นายจ้างมีสภาพคล่องเพิ่มและลดภาระค่าใช้จ่ายของผู้ประกันตน จะเห็นถึงความคุ้มค่ากับการที่ภาครัฐยื่นมือช่วยเหลือให้ผู้ประกอบการมีสายป่านยาวขึ้น ซึ่งจะทำให้มีเม็ดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นอีกด้วย

               



  • เงินสมทบกองทุนประกันสังคม
  • ประกันสังคม

กำลังโหลดความคิดเห็น

ประกันสังคม มาตรา 33 มาตรา 39 ลดอัตราเงินสมทบ ติดต่อกันถึง 3 เดือน ตั้งแต่ตุลาคม – ธันวาคม 2565 แต่ละเดือนเหลือจ่ายเท่าไหร่

คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบลดอัตราเงินสมทบนายจ้าง ผู้ประกันตน มาตรา 33 มาตรา 39 เริ่มเดือน ตุลาคม – ธันวาคม 2565 นี้

นายสุชาติ ชมกลิ่น รัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน เปิดเผยว่า หลังจากที่ประชุมคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 13 กันยายน 2565 ที่ผ่านมา มีมติอนุมัติการกำหนดอัตราค่าจ้างขั้นต่ำ ตามที่กระทรวงแรงงานเสนอ คิดเป็นการเพิ่มขึ้นค่าแรงเฉลี่ย 5.02% และจะประกาศให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2565 เป็นต้นไปนั้น 

กระทรวงแรงงานเล็งเห็นถึงความสำคัญของการช่วยเหลือนายจ้างผู้ประกอบการ และพี่น้องผู้ประกันตน โดยเฉพาะผู้มีรายได้น้อย ซึ่งได้รับความเดือดร้อน จากสภาวะเศรษฐกิจชะลอตัวอันเนื่องมาจากการปรับตัวสูงขึ้นของค่าครองชีพหลังจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 

กระทรวงแรงงาน จึงได้มีการเสนอมาตรการลดเงินสมทบทั้งฝ่ายนายจ้างและผู้ประกันตน โดยวันนี้ 20 กันยายน 2565 

คณะรัฐมนตรีได้มีมติเห็นชอบมาตรการในการช่วยเหลือลดเงินสมทบนายจ้าง ผู้ประกันตนมาตรา 33 จากเดิมร้อยละ 5 เหลือฝ่ายละร้อยละ 3 ของค่าจ้าง 

ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ปรับลดอัตราเงินสมทบ จากอัตราเดือนละ 432 บาท เหลือในอัตราเดือนละ 240 บาท 

เริ่มตั้งแต่งวดเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2565 สำหรับฝ่ายรัฐบาล ยังส่งเงินสมทบในอัตราเดิมคือร้อยละ 2.75 ของค่าจ้างผู้ประกันตน

มาตรการลดเงินสมทบเพื่อช่วยเหลือพี่น้องผู้ประกันตนในสถานการณ์ดังกล่าว จะส่งผลให้ผู้ประกันตนสามารถนำเงินสมทบที่ลดลง 576 - 900 บาทต่อคน รวมเป็นเงินที่ลดลงประมาณ 9,080 ล้านบาท ไปใช้ในการเพิ่มสภาพคล่องมากขึ้น รวมถึงการแก้ปัญหาทางการเงินของผู้ประกันตนทำให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น 

นอกจากนั้นแล้วยังเป็นการช่วยแบ่งเบาลดภาระต้นทุน ที่สูงขึ้นและเพิ่มสภาพคล่องให้กับนายจ้าง เป็นจำนวนเงินกว่า 7,964 ล้านบาท ซึ่งจะส่งผลให้สถานประกอบการสามารถประกอบธุรกิจต่อไปได้อย่างต่อเนื่องในระบบเศรษฐกิจ

ประกันสังคม เดือนตุลาคม 2565 กี่บาท

น.ส.ทิพานัน กล่าวว่า การปรับลดอัตราเงินสมทบจะเริ่มตั้งแต่งวดเดือนตุลาคม - ธันวาคม 2565 โดยให้จัดเก็บเงินสมทบฝ่ายนายจ้างและลูกจ้างผู้ประกันตนตามมาตรา 33 เหลือร้อยละ 3 ของค่าจ้าง (จากเดิมร้อยละ 5) ทำให้อัตราเงินสมทบที่นายจ้างและลูกจ้างจ่ายอยู่ในระหว่าง 49.50-450 บาทต่อเดือน (จากเดิม 83-750 บาทต่อเดือน)

ประกันสังคมลดเงินสมทบ 2565 เดือนไหน

สำนักงานประกันสังคม ลดอัตเงินสมทบให้ 3 เดือนเต็ม ตั้งแต่เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2565. สำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน ลดภาระนายจ้าง เพิ่มสภาพคล่องผู้ประกันตน 3 เดือนเต็ม ประกันสังคมใจดีเวอร์ ลดอัตเงินสมทบให้ 3 เดือนเต็ม ตั้งแต่เดือนตุลาคม – ธันวาคม 2565.

เงินประกันสังคมจะได้กี่บาท

การคำนวณเงินเกษียณอายุประกันสังคมหรือเงินบำนาญชราภาพจะขึ้นอยู่กับระยะเวลาที่ส่งเงินสมทบ และค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย แต่สูงสุดไม่เกิน 15,000 บาท จาก 5 ปี เป็น 15 ปี พอดิบพอดี จะได้เงินบำนาญรายเดือนเท่ากับ 20% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย (ไม่เกิน 15,000 บาท) แต่ถ้าจ่ายเงินสมทบมากกว่า 180 เดือน จะได้รับเงิน ...

จ่ายเงินประกันสังคมมาตรา 39 ได้ถึงวันไหน

หน้าที่ของผู้ประกันตนตามมาตรา 39. ต้องนำส่งเงินสมทบภายในวันที่ 15 ของทุกเดือน หากเกินกำหนดต้องเสียเงินเพิ่ม ในอัตราร้อยละ 2 ต่อเดือน