เศรษฐศาสตร์แนวพุทธมีหลักการสรุปได้อย่างไร

กลวิธีนำหลักเศรษฐศาสตร์แนวพุทธไปใช้ประกอบอาชีพในชีวิตประจำวัน THE STRATEGY OF USING THE BUDDHIST ECONOMICS PRINCIPLE IN EVERYDAY LIFE

Abstract


    เศรษฐศาสตร์เป็นเรื่องที่มีความสำคัญต่อทุกคน การศึกษาเศรษฐศาสตร์จะช่วยศึกษาฝึกวิธีคิดอย่างเป็นระบบเกี่ยวกับปัญหาทางเศรษฐกิจด้านต่างๆ โดยอาจจะเป็นปัญหาที่เกิดขึ้นกับบุคคลแต่ละคนหรือปัญหาที่เกิดขึ้นกับประชาชนโดยส่วนรวม เศรษฐศาสตร์จะช่วยให้สามารถระบุปัญหาได้ว่าคืออะไร มีทางเลือกต่างๆ โดยการแก้ปัญหานี้อย่างไร และสามารถเลือกการใช้ทรัพยากรที่ดีที่สุดและเหมาะสมที่สุดเพื่อแก้ไขปัญหานั้น จะเห็นได้ว่าประเด็นสำคัญของเศรษฐศาสตร์คือเรื่องการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด และเพื่อบำบัดความต้องการของมนุษย์ที่มีอยู่อย่างไม่จำกัด ดังนั้นมนุษย์จึงต้องตัดสินใจเพื่อที่จะใช้ทรัพยากรอย่างจำกัด เพื่อสนองความต้องการต่างๆ ให้ได้มากที่สุด

              ในทางพุทธศาสนาก็ได้เสนอแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ เพื่อทำอย่างไรที่จะทำให้สังคมอยู่อย่างพอเพียงและเกิดศานติสุข และดำเนินการประกอบอาชีพในชีวิตประจำวันได้อย่างประหยัด และพอเพียง โดยใช้หลักธรรมทางพุทธศาสนาตามหลักทิฎฐัมมิกัตถประโยชน์ คือ ความขยันหมั่นเพียร  รู้จักคุ้มครองเก็บรักษาทรัพย์ที่หามาได้ คบคนดีเป็นมิตร และมีความเป็นอยู่อย่างเหมาะสม

              นอกจากนี้ทางพระพุทธศาสนายังได้สอนวิธีการแบ่งทรัพย์ที่หามาได้ด้วยหลักโภคาอาทิยะและหลักการบริหารจัดการทรัพย์ด้วยหลักโภควิภาค

              ถ้าในสังคมหรือประชาชนได้นำหลักเศรษฐศาสตร์แนวพุทธไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันก็จะทำให้เกิดความศานติสุขอย่างแท้จริงและทำให้ประเทศชาติมีเสถียรภาพในการบริหารประเทศอย่างมั่นคง และยั่งยืนต่อไป

     Economics is important to everyone. Economic studies will help to study systematic thinking about economic problems in various fields. This may be individual problem or for public at large. Economics can help identify what the problem is. What the alternatives by solving this problem are. And they can choose the best and most appropriate resource to resolve that problem. It can be seen that, the key issue of economics is the limited use of resources, and to cure the limited human needs. Therefore, all humans have to make decisions in order to use limited resources to meet the various needs as much as possible.

              In Buddhism, the concept of Buddhist economics was proposed that how will it make society to live with sufficiently and happily, and pursue a career in the daily life economically and sufficiently by using Buddhist principles or the Thithadhammikathaprayot principle (virtues conducive to benefits in the present) that is diligence, know how to protect the available property, associate with friendly people, and live properly?

              In addition, Buddhism also teaches how to divide the property with Pokathiya’s principle and principle of property management with Poka-athiya also.

              Providing that the society or people have adopted Buddhist economics to use in their daily life, it will bring country a true peace and stabilization in management of the country firmly and sustainably forever.


เศรษฐศาสตร์แนวพุทธมีหลักการสรุปได้อย่างไร

นิเทศพจน์

เป็นตอนที่ 1 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

นิเทศพจน์ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ นี้ เดิมเป็นปาฐกถาธรรม ซึ่งได้แสดงในมงคลวารอายุครบ ๗๒ ปี ของ ศาสตราจารย์ ดร. ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ที่มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ เมื่อวันที่ ๙ มีนาคม ๒๕๓๑ มูลนิธิโกมลคีมทองได้ขออนุญา…

เศรษฐศาสตร์แนวพุทธมีหลักการสรุปได้อย่างไร

ข้อคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ

เป็นตอนที่ 2 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ ข้อคิดเบื้องต้น เกี่ยวกับ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ วันนี้ ทางคณะผู้จัดงานได้ตั้งชื่อเรื่องปาฐกถาให้อาตมภาพว่า เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ เริ่มต้น ผู้ฟังบางท่านก็อาจจะสงสัยว่า เศรษฐศาสตร์แนวพุทธนั…

เศรษฐศาสตร์แนวพุทธมีหลักการสรุปได้อย่างไร

ข้อจำกัดของเศรษฐศาสตร์แห่งยุคอุตสาหกรรม

เป็นตอนที่ 3 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

ข้อจำกัด ของ เศรษฐศาสตร์แห่งยุคอุตสาหกรรม ๑. การแยกตัวโดดเดี่ยวเป็นความเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ทีนี้หันกลับมาพูดถึงเศรษฐศาสตร์ในปัจจุบัน เศรษฐศาสตร์ในปัจจุบันนี้ ได้แยกเอากิจกรรมทางเศรษฐกิจออกมาพิจารณาต่าง…

เศรษฐศาสตร์แนวพุทธมีหลักการสรุปได้อย่างไร

ลักษณะสำคัญของเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ

เป็นตอนที่ 4 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

ลักษณะสำคัญ ของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ ๑. เศรษฐศาสตร์มัชฌิมา: การได้คุณภาพชีวิต เมื่อมีความเข้าใจในเรื่องธรรมชาติของมนุษย์แล้ว ก็จะขอชี้ถึงลักษณะสำคัญของเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ กล่าวคือ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธนี้มี…

เศรษฐศาสตร์แนวพุทธมีหลักการสรุปได้อย่างไร

สรุป

เป็นตอนที่ 5 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

สรุป ได้พูดเลยเวลาไปแล้ว แต่ยังมีข้อสำคัญๆ ที่ค้างอยู่อีก สิ่งหนึ่งที่ขอย้ำไว้ ก็คือ ควรจะชัดเจนว่า ผลได้ที่ต้องการในทางเศรษฐศาสตร์นี้ ไม่ใช่จุดหมายในตัวของมันเอง แต่เป็น means คือมรรคา ส่วน end คือจุ…

เศรษฐศาสตร์แนวพุทธมีหลักการสรุปได้อย่างไร

บทพิเศษ – หลักการทั่วไปบางประการของเศรษฐศาสตร์แนวพุทธ

เป็นตอนที่ 6 จาก 6 ตอนของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (Buddhist Economics)

บทพิเศษ หลักการทั่วไปบางประการ ของ เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ (เศรษฐศาสตร์มัชฌิมา) ๑. การบริโภคด้วยปัญญา การบริโภคเป็นจุดเริ่มต้น (โดยเหตุผล) ของกระบวนการเศรษฐกิจทั้งหมด เพราะการผลิตก็ดี การแลกเปลี่ยนและการแจ…