ข้อสอบอารยธรรมกรีก ม.5 พร้อมเฉลย

5) ในสมัยรัชกาลที่ 2 ทรงให้การสนับสนุนศิลปวัฒนธรรมแขนงใดมากเป็นพิเศษ จนได้รับสมญาว่าเป็น”ยุคทองศิลปกรรม”?

Show
  1. จิตรกรรม
  2. วรรณกรรม
  3. ปฏิมากรรม
  4. สถาปัตยกรรม

6) ข้อใดไม่ใช่การปรับปรุงด้านสังคมสมัยรัชกาลที่ 4 ?

  1. ให้สตรีที่บรรลุนิติภาวะแล้วมีสิทธิเลือกสามีได้
  2. อนุญาตให้ไพร่เสียเงินแทนการถูกเกณฑ์แรงงาน
  3. จัดส่งข้าราชการไปศึกษาและดูงานในต่างประเทศ
  4. ส่งเสริมเฉพาะวัฒนธรรมไทยแต่ดั้งเดิมดำรงอยู่ต่อไป

7) ข้อใดการปรับปรุงทางด้านวัฒนธรรมสมัยรัชกาลที่ 4?

  1. ต่อเรืออนันตนาคราช
  2. บูรณะก่อสร้างองค์พระปฐมเจดีย์ได้จนสำเร็จ
  3. ทรงสร้างวังสราญรมย์ตามแบบศิลปะตะวันตก
  4. ต่อเรือกลไฟตามแบบตะวันตกเพื่อใช้ประโยชน์ทางด้านการค้าขาย

8) การเปลี่ยนแปลงด้านประเพณีวัฒนธรรมใดในสมัยรัชกาลที่ 4 ที่มิให้ชาวต่างประเทศดูถูกข้าราชการไทยว่าเป็นคนป่าเถื่อน ?

  1. ชาวตะวันตกยืนตรงถวายคำนับได้
  2. ข้าราชการสวมเสื้อในเวลามาเข้าเฝ้าทุกคน
  3. พระราชทานเลี้ยงแก่ชาวต่างประเทศ พร้อมทั้งแจกของที่ระลึก
  4. ให้ชาวต่างประเทศเข้าเฝ้าพระองค์ได้ในพระราชพิธีบรมราชาภิเษก

9) การเปลี่ยนแปลงทางด้านประเพณีวัฒนธรรมข้อใดไม่เกิดขึ้นในสมัยรัชกาลที่ 4

  1. การจัดให้มีธงประจำชาติ
  2. ให้พระมหากษัตริย์เสวยน้ำพระพิพัฒน์สัตยา
  3. การเรียกพระนามพระมหากษัตริย์ตามแบบยุโรป
  4. ให้ชาวต่างประเทศสามารถแสดงความเคารพได้ตามธรรมเนียมไทย

10) ข้อใดเป็นวัตถุประสงค์สำคัญของการเลิกทาสในสมัยรัชกาลที่ 5?

  1. เพื่อปลดปล่อยทาสให้เป็นอิสระ
  2. เพื่อให้ทัดเทียมอารยประเทศ
  3. เพื่อให้ราษฏรทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน
  4. เพื่อพัฒนาคนในระดับพื้นฐานอย่างแท้จริง

11) จุดมุ่งหมายประการแรกของการปฏิรูปการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 คือข้อใด?

  1. ไม่ให้ชาวต่างชาติดูถูก
  2. ผลิตคนเข้ารับราชการ
  3. ลดช่องว่างระหว่างชนชั้นในสังคมไทย
  4. ให้ทาสที่ได้รับอิสระมีโอกาสได้ศึกษาเล่าเรียน

12)การศึกษาภาคบังคับของไทยเริ่มใช้ในสมัยใด?

  1. รัชกาลที่ 4
  2. รัชกาลที่ 5
  3. รัชกาลที่ 6
  4. รัชกาลที่ 7

13) โรงเรียนใดที่รัชกาลที่ 6 โปรดยกให้เป็นจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

  1. โรงเรียนวัดมหรรณพาราม
  2. โรงเรียนข้าราชการพลเรือน
  3. โรงเรียนนายทหารมหาดเล็ก
  4. โรงเรียนพระตำหนักสวนกุหลาบ

14) เชื่อผู้นำชาติพ้นภัย เป็นนโยบายของรัฐบาลใด?

  1. นายควง อภัยวงศ์
  2. จอมพล ป.พิบูลสงคราม
  3. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
  4. จอมพลถนอม กิตติตขจร

15) ข้อใดไม่ใช่การเปลี่ยนแปลงทางวัฒนธรรมในสมัยจอมพล ป.พิบูลสงคราม?

  1. การยกเลิกบรรดาศักดิ์
  2. การเปลี่ยนชื่อจากสยามมาเป็นไทย
  3. การยกเลิกพยัญชนะและสระไทยที่มีเสียงซ้ำกัน
  4. การออกระเบียบว่าด้วยการแสดงความเคารพของคนไทย

16) การกำหนดวันเฉลิมพระชนม์พรรษาของรัชกาลที่ 9 ให้เป็นวันชาติเกิดขึ้นในสมัยใครเป็นนายกรัฐมนตรี?

  1. ม.ร.ว เสนีย์ ปราโมช
  2. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
  3. จอมพลถนอม กิตติขจร
  4. จอมพล ป.พิบูลสงคราม

17)ผู้นำท่านใดที่ยกฐานะและบทบาทของสตรีเป็นคนแรก ?

  1. จอมพล ป.พิบูลสงคราม
  2. นายควง อภัยวงศ์
  3. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
  4. จอมพลถนอม กิตติขจร

18) การที่สหรัฐอเมริกาเข้ามาสร้างฐานทัพในไทยสมัยจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ได้ส่งผลเสียต่อสังคมไทยหลายประการ ยกเว้นข้อใด?

  1. การสำส่อนทางเพศ
  2. การขยายตัวของอาชีพหญิงบริการ
  3. การแพร่ระบาดของยาเสพติด
  4. การยอมรับนับถือลัทธิศาสนาใหม่ๆ

19) ข้อใดไม่มีความสัมพันธ์กัน?

  1. จอมพล ป.พิบูลสงคราม-นโยบายชาตินิยม
  2. นายควง อภัยวงศ์-กำหนดคำทักทายว่า สวัสดี
  3. จอมพลถนอม กิตติขจร-พิธีเฉลิมฉลองกรุงรัตนโกสินทร์
  4. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์-ฟื้นฟูพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ

20) จุดมุ่งหมายสำคัญของมูลนิธิศิลปาชีพคืออะไร?

  1. ตัดปัญหาพ่อค้าคนกลาง
  2. เป็นตัวแทนจำหน่ายสินค้าพื้นเมือง
  3. ฝึกสอนคนไทยด้านศิลปหัตถกรรม
  4. มุ่งเผยแพร่สินค้าไทยออกสู่ตลาดโลก

Rate this:

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

1) กิจกรรมทางเศรษฐกิจใดในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นที่ทำรายได้ให้มากที่สุด?

  1. การค้าระหว่างหมู่บ้าน
  2. การทำเหมืองแร่และการเพาะปลูก
  3. การหาของป่าและการเพาะปลูก
  4. การเพาะปลูกและการค้าสำเภาหลวง

2) ข้อใดไม่ใช่ผลผลิตทางการเกษตรที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

  1. ข้าว
  2. อ้อย
  3. พริกไทย
  4. ปาล์มน้ำมัน

3)ข้อใดไม่ใช่ทรัพยากรธรรมชาติที่ทำรายได้ให้กับแผ่นดินในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น

  1. ไม้สัก
  2. ไม้ฝาง
  3. เหล็ก
  4. ถ่านหิน

4) ผู้ที่สามารถประมูลการเก็บภาษีอากรได้เรียกว่าอะไร

  1. พอ่ค้าขายปลีก
  2. นายอากรบ่อนเบี้ย
  3. เจ้าภาษีนายอากร
  4. ต้นหนเดินเรือสำเภา

5) ชาติที่เข้ามามีบทบาททางการค้าที่สำคัญในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นคือชาติใด?

  1. จีน
  2. อังกฤษ
  3. อินเดีย
  4. อเมริกา

6) ประเทศไทยได้ทำสนธิสัญญาเบาริงกับชาติใด ?

  1. อังกฤษ
  2. ฝรั่งเศส
  3. ฮอลันดา
  4. สหรัฐอเมริกา

7) สนธิสัญญาเบาริงมีผลเสียต่อไทยในด้านใดมากที่สุด?

  1. การสูญเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต
  2. การสูญเสียผลประโยชน์ทางการเมือง
  3. การสูญเสียเอกภาพในด้านการปกครอง
  4. การสูญเสียสิทธิขั้นมูลฐานของประชาชน

8) สนธิสัญญาเบาริงมีผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจไทยอย่างไร ?

  1. การค้ากับประเทศตะวันตกหดแคบเหลือไม่กี่ประเทศ
  2. การพัฒนาเศรษฐกิจเป็นไปอย่างเชื่องช้า การส่งออกลดลง
  3. เศรษฐกิจไทยทรุดโทรมหนัก เพราะเก็บภาษีได้น้อยลง
  4. เศรษฐกิจไทยขยายตัว ผลผลิตทางการเกษตรมุ่งส่งเป็นสินค้าออก

9) ข้อใดแสดงให้เห็นว่าไทยเสียเปรียบในการทำสนธิสัญญาเบาริง

  1. เก็บภาษีได้ร้อยละ 3
  2. ไทยต้องยกปินังให้อังกฤษ
  3. เป็นสนธิสัญญาที่ไม่ได้กำหนดระยะเวลาแน่นอน
  4. ไทยไม่ต้องติดต่อการค้ากับชาติตะวันตกอื่นนอกจากอังกฤษ

10) ในสมัยรัชกาลที่ 5 ได้มีการจัดตั้งกระทรวงพระคลังมหาสมบัติ ปรับปรุงระบบเงินตรา และการจัดเก็บภาษีอากร เพื่อจุดมุ่งหมายใด?

  1. รักษาผลประโยชน์ของแผ่นดิน
  2. ป้องกันการฉ้อราษฏร์บังหลวง
  3. พัฒนาความเจริญก้าวหน้าของประเทศ
  4. ปรับตัวให้ก้าวทันการเปลี่ยนแปลงของโลก

11) พระคลังข้างที่ในสมัยรัชกาลที่ 5 เทียบได้กับหน่วยงานใดในปัจจุบัน?

  1. กระทรวงการคลัง
  2. สำนักงบประมาณ
  3. สำนักงานคณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน
  4. สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์

12) ข้อใดเป็นการปฏิรูประบบเงินตราในสมัยรัขกาลที่ 5?

  1. การพิมพ์ธนบัตรขึ้นใช้เอง
  2. การใช้ธนบัตรแทนเหรียญกษาปณ์
  3. ยกเลิกเงินพดด้วง และใช้หน่วยเงินบาท
  4. การจัดตั้งธนาคารพาณิชย์เพื่อให้สินเชื่อในการลงทุน

13) ข้อใดเป็นการพัฒนาเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 6

  1. กิจการรถไฟ และการประปา
  2. กิจการรถราง และการไปรษณียโทรเลข
  3. การจัดตั้งธนาคารออมสินและเขื่อนพระรามหก
  4. การขุดคลองรังสิตและตั้งแบงค์สยามกัมมาจลทุนจำกัด

14) สมุดปกเหลืองของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม เน้นให้รัฐเข้าดำเนินกิจการทางเศรษฐกิจเสียเองโดยวิธีใด?

  1. ระบบสหกรณ์
  2. ระบบคอมมูน
  3. รัฐวิสาหกิจ
  4. รัฐบริษัท

15) สิ่งที่หลวงประดิษฐ์มนูธรรมกำหนดไว้ในเค้าโครงเศรษฐกิจ ซึ่งกระทบกระเทือนต่อผลประโยชน์ของชนชั้นสูงมากที่สุด คือข้อใด?

  1. รัฐเป็นเจ้าของปัจจัยการผลิต ที่ดิน แรงงาน ทุน
  2. การเก็บภาษีมรดก และเพิ่มภาษีรายได้อื่นๆ
  3. การประกันรัฐสวัสดิการสังคมให้ราษฏร
  4. การให้ราษฏรทำงานกินเงินเดือนของรัฐ

16) นโยบายเศรษฐกิจแบบไทยทำ ไทยใช้ ไทยเจริญ เกิดขึ้นในสมัยใด?

  1. ม.ร.ว เสนีย์ ปราโมช
  2. จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์
  3. จอมพลถนอม กิตติขจร
  4. จอมพล ป.พิบูลสงคราม

17) เพราะเหตุใดในสมัยรัฐบาลจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์จึงจำเป็นต้องให้มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ?

  1. เพื่อให้รัฐบาลใช้เงินงบประมาณได้อย่างถูกต้อง
  2. เพื่อยกฐานะของประเทศให้สูงขึ้นในสังคมชาวโลก
  3. เพื่อสนองตอบความต้องการของธนาคารโลกในฐานะเจ้าหนี้เงินกู้
  4. เพื่อให้การพัฒนาประเทศมีเป้าหมายที่แน่นอนและประสบความสำเร็จ

18) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1 ส่งผลให้เห็นชัดเจนในข้อใด?

  1. ประเทศไทยพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจ
  2. สินค้าออกทางด้านอุตสาหกรรมมีปริมาณสูงขึ้น
  3. ประชาชนในเมืองและชนบทมีรายได้สูงใกล้เคียงกัน
  4. การสร้างสาธารณูปโภคและสาธารณูปการต่างๆ เกิดขึ้นมาก

19) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับปัจจุบันเน้นการพัฒนาอะไร ?

  1. มนุษย์
  2. สิ่งแวดล้อม
  3. การศึกษา
  4. วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

20) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับปัจจุบันคือฉบับที่เท่าใด?

  1. 8
  2. 9
  3. 10
  4. 11

Rate this:

Share this:

  • Twitter
  • Facebook

1) การที่รัฐบาลไทยกำหนดให้วันที่ 6 เมษายนของทุกปีเป็นวันจักรีเนื่องมาจากสาเหตุใด?

  1. เป็นวันสถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
  2. เป็นวันที่ย้ายราชธานีมาอยู่ที่กรุงเทพมหานคร
  3. เป็นวันคล้ายวันประสูติของรัชกาลที่ 1
  4. เป็นวันเสด็จขึ้นครองราชย์ของรัชกาลที่ 1

2) ที่ตั้งราชธานีใหม่ในสมัยรัชกาลที่ 1 มีความเหมาะสมอย่างไร

  1. มีป้อมปราการพร้อมอยู่แล้ว
  2. มีประชากรตั้งถิ่นฐานอยู่เป็นจำนวนมาก
  3. มีลักษณะเป็นที่ดอนน้ำท่วมไม่ถึง
  4. เป็นบริเวณท้องทุ่งโล่งสามารถขยายอาณาเขตไปได้กว้างขวาง

3)ข้อใดกล่าวถึงการสร้างราชธานีในสมัยรัตนโกสินทร์ได้ถูกต้องที่สุด

  1. สร้างเลียนแบบสมัยสุโขทัย
  2. สร้างเลียนแบบสมัยอยุธยา
  3. สร้างเสียนแบบสมัยธนบุรี
  4. เป็นการผสมผสานการก่อสร้างราชธานีเดิมของไทยทุกสมัย

4) ตำแหน่งสมุหนายกในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นมีอำนาจหน้าที่เทียบเท่ากระทรวงใดในปัจจุบัน

  1. กระทรวงกลาโหม
  2. กระทรวงการคลัง
  3. กระทรวงยุติธรรม
  4. กระทรวงมหาดไทย

5) ข้อใดไม่สัมพันธ์กัน ?

  1. กรมเวียง-ปราบปรามโจรผู้ร้าย
  2. กรมวัง-หารายได้ให้กับแผ่นดิน
  3. กรมนา-เก็บภาษีหางข้าว
  4. กรมคลัง-ติดต่อค้าขายกับต่างประเทศ

6) เพราะเหตุใดรัชกาลที่ 4 จึงทรงปรับเปลี่ยนนโยบายในการบริหารประเทศ?

  1. ไม่ต้องการตกเป็นอาณานิคม
  2. ต้องการให้เป็นที่ยอมรับของต่างชาติ
  3. ให้ประชาชนมีมาตรฐานการครองชีพที่ดี
  4. สนองความต้องการของชาติมหาอำนาจ

7) นโยบายสุดท้ายเพื่อรักษาความเป็นเอกราชของชาติคือข้อใด?

  1. ยอมเสียดินแดน
  2. การเจรจาทางการฑูต
  3. ยอมเสียสิทธิเรื่องภาษี
  4. ยอมเสียสิทธิสภาพนอกอาณาเขต

8) ในสมัยรัชกาลที่ 5 ทรงจัดตั้งสภาที่ปรึกษาเพื่อช่วยในการบริหารราชการแผ่นดินได้แก่สภาใด ?

  1. สภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์และสภาองคมนตรี
  2. สภาผู้แทนพระองค์และสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์
  3. สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดินและสภาผู้แทนพระองค์
  4. สภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดินและสภาที่ปรึกษาส่วนพระองค์

9) จุดประสงค์ในการรวมหัวเมืองเพื่อจัดตั้งเป็นมณฑลในสมัยรัชกาลที่ 5 คือข้อใด

  1. โยงอำนาจการปกครองเข้าสู่ราชธานี
  2. ทดลองการปกครองระบอบประชาธิปไตย
  3. กระจายอำนาจการปกครองไปยังส่วนภูมิภาค
  4. เปิดโอกาสให้คนในท้องถิ่นได้มีส่วนร่วมในการปกครอง

10) ในสมัยรัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงมีแนวคิดที่จะนำรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยมาใช้ในการปกครองประเทศแต่มีอุปสรรคที่สำคัญในการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวคือข้อใด?

  1. อิทธิพลของชาติตะวันตกที่แพร่เข้ามาในหมู่คนไทยมีน้อยมาก
  2. สังคมไทยยังนิยมการมีทาส จึงไม่นิยมการปกครองระบอบประชาธิปไตย
  3. ประชาชนส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ความเข้าใจและประสบการณ์เกี่ยวกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย
  4. ขุนนางและพระบรมวงศานุวงศ์ทำการต่อต้านเพราะเห็นว่าเป็นการปกครองที่ล้าสมัย

11) การจัดตั้งดุสิตธานีมีขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ในด้านใด?

  1. ต้องการเผยแพร่ประชาธิปไตยในหมู่ทหาร
  2. ต้องการเผยแพร่ประชาธิปไตยในหมู่ข้าราชการ
  3. ต้องการเผยแพร่ประชาธิปไตยในหมู่ประชาชน
  4. ต้องการเผยแพร่ประชาธิปไตยในหมู่กองเสือป่า

12) บุคคลกลุ่มใดที่มีบทบาทสำคัญในการปฏิวัติเปลี่ยนแปลงการปกครอง?

  1. คณะราษฏร
  2. ขบวนการเสรีไทย
  3. คณะรักษาความมั่นคงแห่งชาติ
  4. คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ

13) ข้อใดเป็นสาเหตุสำคัญที่สุดของการเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ.2475?

  1. กิจการทหารถูกละเลย
  2. ความขัดแย้งในหมู่ราชวงศ์
  3. อิทธิพลแนวคิดทางการเมืองจากตะวันตก
  4. ความล้มเหลวของการปฏิวัติ ร.ศ. 130

14) เหตุผลสำคัญที่ทำให้การเปลี่ยนแปลงการปกครองเป็นไปด้วยดีปราศจากการนองเลือดคือข้อใด

  1. เพราะรัชกาลที่ 7 เห็นแก่ความสงบสุขของราษฏร
  2. เพราะรัชกาลที่ 7 คิดว่าจะทำให้การจัดตั้งรัฐบาลเป็นไปโดยสะดวกรวดเร็ว
  3. เพราะรัชกาลที่ 7 คิดว่าจะได้ไม่มีปัญหาในการรับรองรัฐบาลใหม่จากนานาประเทศ
  4. เพราะรัชกาลที่ 7 มีความคิดที่จะเปลี่ยนแปลงเป็นระบอบประชาธิปไตยอยู่ก่อนแล้ว

15) เพราะเหตุใดรัชกาลที่ 7 จึงทรงสละราชสมบัติ?

  1. ราษฏรไม่ยอมรับ
  2. ทรงขัดแย้งกับคณะราษฏร
  3. ทรงสูญเสียอำนาจด้านการปกครอง
  4. ไม่เห็นด้วยกับการปกครองระบอบประชาธิปไตย

16) ข้อใดไม่ใช่นโยบายชาตินิยมในสมัยจอมพลแปลก พิบูลสงคราม?

  1. ขับไล่ชาวจีนและชาวตะวันตกออกนอกประเทศ
  2. ชักจูงโฆษณาให้คนไทยใช้สินค้าที่ผลิตในประเทศ
  3. ส่งเสริมการทำสวนครัว เลี้ยงสัตว์ ผลิตเครื่องใช้ด้วยตนเอง
  4. ส่งเสริมให้คนไทยประกอบอาชีพค้าขายและสงวนอาชีพบางอย่าง

17) กลุ่มใดที่มีบทบาทสำคัญที่ทำให้ฝ่ายสัมพันธมิตรยอมรับว่าการที่ไทยเข้าร่วมสงครามกับญี่ปุ่นเป็นโมฆะ ?