บทที่ 21 ระบบ สืบพันธุ์ และการเจริญ เติบโต

คีย์เวิร์ดยอดนิยมของ มัธยมปลาย

ค้นหาเนื้อหาที่ต้องการไม่เจอเหรอ? ลองค้นหาใน Q&A ดูสิ!

คำสำคัญ: ระบบสืบพันธุ์

・ตรวจสอบความถูกต้องของการสะกดคำ
・ลองใช้คีย์เวิร์ดอื่น
・ค้นหาจากประเภทของสมุดโน้ตที่เผยแพร่ในหน้าบนสุด หรือจากอันดับรายสัปดาห์

พบ - เนื้อหาที่ตรงกันบน Q&A

ชอื่ ตอ่ มไร้ทอ่ และเนอ้ื เยอ่ื ฮอรโ์ มน อวัยวะเปา้ หมาย หน้าทขี่ องฮอรโ์ มน ความผดิ ปกตหิ รือโรคทเ่ี กิดจากการ ที่สร้างฮอรโ์ มน ทห่ี ลัง่ ขาดฮอร์โมนหรอื มีมากเกินไป รก hCG คอรป์ ัสลูเทยี มในรงั ไข่ กระตุ้นใหค้ อร์ปัสลูเทยี มหลั่ง ถา้ ขาดจะไมม่ ีการหล่ัง โพรเจสเทอโรนต่อไป โพรเจสเทอโรนจากคอรป์ สั ลเู ทยี ม ชวี วทิ ยา เล่ม 5 ไทมัส ไทโมซนิ ไทมัส กระต้นุ การแบ่งเซลลแ์ ละ ถ้าขาดจะไม่มีการกระตุ้น พฒั นาการของลมิ โฟไซตช์ นิดที การเจริญของลิมโฟไซต์ชนดิ ที ทำ�ใหเ้ กิดความผิดปกตใิ นระบบ ภมู ิคมุ้ กนั กระเพาะอาหาร แกสทรนิ กระเพาะอาหาร กระตนุ้ การหล่งั เพปซโิ นเจนและ ถา้ ขาดจะท�ำ ใหใ้ นกระเพาะอาหาร กรดไฮโดรคลอรกิ มเี พปซนิ นอ้ ยลง การยอ่ ยโปรตนี ในกระเพาะอาหารนอ้ ยลงดว้ ย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ลำ�ไสเ้ ลก็ สว่ นดโู อดินมั ซคี รีทิน ตบั อ่อน กระต้นุ การหลัง่ โซเดียม ถา้ ขาดจะไม่มีการหล่ังโซเดยี ม ไฮโดรเจนคาร์บอเนต ไฮโดรเจนคาร์บอเนตท�ำ ให้ อาหารทอี่ ยใู่ นดูโอดนิ มั มคี วาม เป็นกรด บทท่ี 20 | ระบบต่อมไรท้ ่อ คอลซี ิสโทไค ถงุ นำ้�ดี และตบั อ่อน กระตนุ้ การบบี ตวั ของถุงนำ้�ดี ถ้าขาดจะท�ำ ให้ถุงนำ้�ดไี ม่บบี ตวั นนิ และ ตับอ่อนใหห้ ลง่ั เอนไซม์ และไม่มีการหล่ังเอนไซมจ์ าก ตบั ออ่ น ไต อีรีโทรโพอิ ไขกระดูก กระตนุ้ การสร้างเซลลเ์ มด็ เลือด ถา้ ขาดจะท�ำ ใหม้ ีการสรา้ ง ทนิ แดงจากไขกระดกู เซลล์เมด็ เลอื ดแดงน้อยลง หมายเหตุ *** ขาด หมายถงึ มฮี อร์โมนนอ้ ยหรอื ไมม่ ีฮอร์โมน 139

140 บทท่ี 20 | ระบบตอ่ มไร้ทอ่ ชวี วิทยา เลม่ 5 แนวการวดั และประเมินผล ดา้ นความรู้ - การท�ำ งานรว่ มกนั ของฮอรโ์ มนหลายชนดิ ในการรกั ษาดลุ ยภาพของรา่ งกาย และหนา้ ทขี่ อง ฮอรโ์ มน จากการเขยี นตารางหรอื แผนผงั สรปุ การตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น การท�ำ แบบ ฝึกหัดท้ายบทและแบบทดสอบ ดา้ นทกั ษะ - การสงั เกต และความร่วมมือ การทำ�งานเปน็ ทมี และภาวะผู้น�ำ จากการท�ำ กิจกรรมกล่มุ - การจ�ำ แนกประเภท การลงความเหน็ จากขอ้ มลู การตคี วามหมายขอ้ มลู และลงขอ้ สรปุ จาก การตอบค�ำ ถาม การอภิปรายรว่ มกนั และการนำ�เสนอข้อมลู - การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เทา่ ทนั ส่อื จากการสืบคน้ ขอ้ มูล ด้านจติ วิทยาศาสตร์ - ความอยากรอู้ ยากเหน็ และการใชว้ จิ ารณญาณ ความใจกวา้ ง ความมงุ่ มน่ั อดทน และความ ซอ่ื สัตย์ จากการอภิปรายรว่ มกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 20 | ระบบต่อมไรท้ อ่ 141 เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่ 20 1. จงเติมช่ือต่อมไร้ท่อและเน้ือเยื่อท่ีสร้างฮอร์โมนเป็นภาษาอังกฤษลงในรูปและเติมลง หน้าขอ้ ความทีม่ ีความสัมพันธ์กัน (ตอบได้มากกวา่ 1 ชือ่ และตอบซ�ำ้ ได)้ .....p..i..n..e...a..l...g..l..a..n...d..... ..h...y..p...o..t..h...a..l..a..m....u...s... pa...r..a..t..h...y..r..o..i..d....g..l..a..n...d ...t.h...y...r..o..i..d...g...l.a...n..d..... ..........t.h...y...m....u...s......... p..o....s....t....e....r....ig..o....l..ra......np....d..i..t....u......i..t....a....r.. y ...a..d...r.e...n...a..l...g..l.a...n...d.... a.n...t..e..r..i.o...r...p...i.t..u..i..t..a..r..y ........p..a...n...c..r.e...a..s......... ...........g...l.a...n..d............. ............t..e..s..t..i.s............ ...........o...v..a..r..y............. �������p��a��n���c��r�e���a��s���������� 1.1 อยบู่ รเิ วณชอ่ งทอ้ ง สรา้ งฮอรโ์ มนทท่ี �ำ หนา้ ทค่ี วบคมุ ระดบั น�ำ้ ตาลใน เลอื ดใหอ้ ย่ใู นระดบั ปกติ p�o��s�t�e��r�i�o�r��p��i�t�u��i�t�a�r�y���g�l�a��n��d� 1.2 เป็นต่อมที่ไม่ได้สร้างฮอร์โมน แต่รับฮอร์โมนจากไฮโพทาลามัส thyroid gland, ถ้าต่อมนถี้ ูกท�ำ ลาย จะท�ำ ใหม้ อี าการปัสสาวะมากและบ่อย �p��a��r�a��t��h��y��r�o��i��d���g��l�a��n��d��� 1.3 สรา้ งฮอรโ์ มนท่ที �ำ หน้าท่ีควบคมุ สมดลุ ของแคลเซยี มในเลอื ด �p��a��r�a��t��h��y��r�o��i��d���g��l�a��n��d��� 1.4 ถ้าหล่งั ฮอรโ์ มนมากเกนิ ไปจะมีโอกาสเป็นโรคกระดูกพรนุ ���������t�h���y��m����u��s����������� 1.5 สร้างฮอร์โมนที่เกี่ยวขอ้ งกบั การสรา้ งภูมิคุม้ กันของรา่ งกาย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

142 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไรท้ ่อ ชวี วทิ ยา เล่ม 5 thyroid gland, adrenal gland, ������o��v��a��r�y��,��t�e��s��t�i�s�������� 1.6 ควบคมุ โดยฮอร์โมนจากตอ่ มใต้สมองสว่ นหน้า ����p��i��n��e��a���l��g��l��a��n��d������� 1.7 ถ้าสร้างฮอร์โมนมากเกินไปในช่วงก่อนวัยเจริญพันธ์ุจะทำ�ให้เป็น หนุม่ สาวช้ากวา่ ปกติ ���t�h���y��r��o��i��d���g��l��a��n��d������ 1.8 ถา้ ขาดฮอรโ์ มนจากต่อมน้ีจะท�ำ ใหเ้ ปน็ โรคคอพอก a��n��t�e�r�i�o��r��p�i�t�u��i�t�a��r�y��g��l�a�n��d�� 1.9 ถา้ หลง่ั ฮอรโ์ มนมากเกนิ ไปในวยั เดก็ จะท�ำ ใหร้ า่ งกายสงู ใหญผ่ ดิ ปกติ �����������o��v��a��r��y������������� 1.10 สร้างฮอร์โมนเพ่ือเตรียมมดลูกให้พร้อมในการรับการฝังตัวของ เอม็ บริโอ ��h���y��p��o���t�h���a��l�a���m���u���s���� 1.11 สรา้ งฮอรโ์ มนที่ทำ�หนา้ ท่ขี บั นำ�้ นม 2. จงเตมิ ชอ่ื ฮอรโ์ มนเปน็ ภาษาองั กฤษลงหน้าขอ้ ความให้สัมพนั ธ์กัน ADH endorphin melatonin prolactin calcitonin GH oxytocin thyroxine cortisol insulin progesterone TSH ������e��n���d��o��r��p��h���i�n��������� 2.1 เมอื่ หลงั่ ออกมาท�ำ ให้ร้สู กึ มคี วามสุข หรอื ช่วยระงับความเจ็บปวด ��������o��x��y��t��o��c��i��n���������� 2.2 กระตนุ้ การบบี ตวั ของมดลกู และกระตนุ้ ตอ่ มน�ำ้ นมใหข้ บั น�ำ้ นมออกมา ��������t�h���y��r��o��x��i��n���������� 2.3 ในเดก็ หากรา่ งกายสรา้ งฮอรโ์ มนนไ้ี ดน้ อ้ ย จะท�ำ ใหร้ า่ งกายเตยี้ แคระ แขน ขาสั้น เจริญเติบโตช้ากว่าปกติ และปัญญาอ่อน ที่เรียกว่า เครทนิ ซิ มึ ������c��a���l�c��i�t��o��n���i�n��������� 2.4 กระตุ้นการสะสมแคลเซียมที่กระดูก ทำ�งานร่วมกับฮอร์โมนจาก ต่อมพาราไทรอยดแ์ ละวติ ามิน D ���������i�n���s��u��l��i�n������������ 2.5 ผู้ป่วยที่เป็นโรคเบาหวานโดยท่ีร่างกายมีการสร้างฮอร์โมนน้ีเป็น ปกติ แตต่ วั รบั ผดิ ปกติจะท�ำ ใหร้ ะดบั น�้ำ ตาลในเลือดสงู สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 20 | ระบบต่อมไร้ทอ่ 143 ���������c��o��r��t�i��s��o��l���������� 2.6 มีหน้าท่ีควบคุมเมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรต โดยการเปล่ียน โปรตีนกับลิพดิ เป็นกลโู คส ���p���r�o���g��e��s��t��e��r��o��n��e������ 2.7 ถา้ ไมม่ กี ารปฏสิ นธิ ฮอรโ์ มนนจี้ ะลดลงท�ำ ใหเ้ ยอ่ื บผุ นงั มดลกู สลายตวั �����������A���D���H��������������� 2.8 มีหน้าท่ีควบคุมการดูดกลับนำ้�ของท่อหน่วยไตและกระตุ้นให้ อาร์เทอรหี ดตัว ������������T��S���H��������������� 2.9 เมื่อร่างกายขาดไอโอดีนจะส่งผลให้ฮอร์โมนนี้เพ่ิมสูงข้ึนและมีผล ท�ำ ให้เป็นโรคคอพอก ������m����e��l�a��t��o��n���i�n��������� 2.10 ทำ�หน้าที่ยับย้ังการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์ุไม่ให้เติบโตเร็ว เกินไปก่อนถึงช่วงวัยเจริญพันธ์ุ และทำ�ให้ร่างกายรับรู้ว่าเป็นเวลา กลางวนั หรอื กลางคนื 3. จงใส่เครื่องหมายถูก (√) หน้าข้อความท่ีถูกต้อง ใส่เคร่ืองหมายผิด (×) หน้าข้อความที่ ไมถ่ กู ตอ้ ง และขดี เสน้ ใตเ้ ฉพาะค�ำ หรอื สว่ นของขอ้ ความทไี่ มถ่ กู ตอ้ ง และแกไ้ ขโดยตดั ออก หรือเตมิ ค�ำ หรอื ขอ้ ความทถี่ ูกตอ้ งลงในช่องว่าง ������ 3.1 ฮอร์โมนของร่างกายสรา้ งมาจากต่อมไรท้ ่อเทา่ นนั้ แกไ้ ขเปน็ และเนื้อเยอ่ื อธิบาย ตัวอย่างเนื้อเย่ือหรืออวัยวะอ่ืน ๆ ท่ีสร้างฮอร์โมน เช่น ไต รก กระเพาะอาหาร ������ 3.2 การขาดไอโอดีนในอาหาร จะทำ�ให้สูญเสียความสามารถของการควบคุม แบบป้อนกลับยับยั้งของฮอร์โมนระหว่างต่อมไทรอยด์ ต่อมใต้สมอง และ ไฮโพทาลามสั ������ 3.3 คนปกตทิ อ่ี ดอาหารนาน 24 ช่ัวโมง จะมรี ะดับน้ำ�ตาลในเลอื ดต�่ำ กว่าคนปกติที่ ไม่อดอาหาร แกไ้ ขเป็น ใกลเ้ คียง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

144 บทท่ี 20 | ระบบตอ่ มไร้ท่อ ชีววทิ ยา เลม่ 5 ������ 3.4 ในกรณีท่ีคนไข้มีภาวะขาดน้ำ�ตาล อวัยวะท่ีต้องทำ�งานมากขึ้นคือ ตับอ่อน ตอ่ มไทรอยด์ และตอ่ มหมวกไต แกไ้ ขเป็น ตดั ค�ำ วา่ ต่อมไทรอยด์ ������ 3.5 ถ้าเกิดล่ิมเลือดอุดกั้นการไหลของเลือดจากไฮโพทาลามัสมายังต่อมใต้สมอง สว่ นหลังอาจมผี ลท�ำ ให้ปสั สาวะมากและเจือจางได้ แกไ้ ขเปน็ ไมม่ ีผล อธิบาย เน่ืองจาก ADH ซ่ึงเป็นฮอร์โมนท่ีช่วยในการดูดกลับนำ้�ท่ีท่อหน่วยไต และท่อรวม ADH สร้างจากไฮโพทาลามัส และลำ�เลียงมายังต่อมใต้สมอง ส่วนหลังโดยตรง ไมไ่ ดม้ าตามเลอื ด ������ 3.6 แร่ธาตุที่จำ�เป็นท่ีสุดสำ�หรับการเปล่ียนสภาพจากลูกอ๊อดมาเป็นตัวกบคือ แคลเซียม แก้ไขเปน็ ไอโอดนี ������ 3.7 ในภาวะปกติ เพศหญิงไม่สามารถสร้างฮอร์โมนเพศชายได้ แก้ไขเป็น ตดั คำ�วา่ ไม่ อธิบาย เพศหญงิ สามารถสร้างฮอรโ์ มนเพศชายไดจ้ ากต่อมหมวกไตส่วนนอก ������ 3.8 ฮอร์โมนจากต่อมพาราไทรอยด์มีผลเพิ่มระดับแคลเซียมในเลือด ถ้าต่อมน้ีเกิด เนอื้ งอก นา่ จะมผี ลทำ�ใหเ้ กดิ โรคกระดกู พรนุ หรอื กระดูกบางได้ ������ 3.9 ฮอรโ์ มนจากไทมัสท�ำ หน้าทเ่ี กี่ยวข้องกับการสรา้ งภูมคิ ุ้มกันของรา่ งกาย ������ 3.10 ปริมาณการหลั่งเมลาโทนินจากต่อมไพเนียลจะแปรผกผันกับช่วงเวลาท่ีได้รับ แสง ดงั นน้ั ในฤดูร้อนจงึ หลงั่ เมลาโทนินมากกว่าฤดหู นาว แกไ้ ขเปน็ น้อยกว่า ������ 3.11 ต่อมไทรอยด์สร้างฮอร์โมนท่ีทำ�หน้าท่ีควบคุมสมดุลของแคลเซียมในเลือดและ อตั ราเมแทบอลซิ มึ ของรา่ งกาย ������ 3.12 ไฮโพทาลามัสเป็นแหล่งผลิตและหลั่งฮอร์โมนที่มากระตุ้นหรือยับย้ัง การสงั เคราะห์ฮอร์โมนของตอ่ มใต้สมองส่วนหลงั แกไ้ ขเป็น ต่อมใต้สมองส่วนหนา้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 5 บทท่ี 20 | ระบบตอ่ มไรท้ อ่ 145 ������ 3.13 การขาดโกรทฮอร์โมนตัง้ แต่วยั เด็กจะทำ�ใหเ้ ด็กมสี ภาพแคระ ������ 3.14 ผทู้ ก่ี นิ ยาทม่ี คี อรท์ โิ คสเตอรอยดเ์ ปน็ สว่ นผสมเพอ่ื ปอ้ งกนั อาการแพห้ รอื อกั เสบ ติดต่อกนั เป็นเวลานาน อาจทำ�ใหเ้ กิดกลุ่มอาการคูชิงได้ 4. ในการใชช้ ุดตรวจการต้งั ครรภโ์ ดยการทดสอบปัสสาวะ เพือ่ ตรวจหา hCG จงตอบคำ�ถาม ตอ่ ไปน้ี 4.1 เพราะเหตใุ ดจึงสามารถตรวจพบ hCG ในปสั สาวะ แนวการตอบ ในกระแสเลือดมีปริมาณ hCG สูง เม่ือเลือดผ่านการกรองท่ีไตฮอร์โมนน้ีจะปนออก ไปกบั ปัสสาวะชุดตรวจการตัง้ ครรภ์จงึ สามารถตรวจได้ 4.2 เพราะเหตใุ ดจึงสามารถตรวจ hCG ไดใ้ นช่วงแรกของการตง้ั ครรภ์ แนวการตอบ เพราะ hCG สร้างจากเซลล์ของรก เพื่อกระตุ้นคอร์ปัสลูเทียมในรังไข่ให้เจริญต่อไป และสร้าง โพรเจสเทอโรนเพมิ่ ขึ้นทำ�ให้คงภาวะการตงั้ ครรภ์ไว้ แตเ่ มอื่ ระยะเวลาผ่าน ไปโพรเจสเทอโรนจากคอร์ปัสลูเทียมจะลดลง และรกจะท�ำ หน้าที่สร้างโพรเจสเทอ โรนแทน 5. ลงุ สมจติ รและปา้ สมหวงั ถกู ตรวจพบวา่ เปน็ โรคเบาหวาน หลงั จากพบแพทย์ แพทยไ์ ดน้ ดั ให้ ลงุ สมจติ รมาฉดี อนิ ซลู นิ ทกุ วนั เพอ่ื ควบคมุ ปรมิ าณน�ำ้ ตาลในเลอื ด รวมทง้ั ควบคมุ อาหารและ ออกกำ�ลงั กายเพ่ิมข้นึ ขณะท่ีแพทยแ์ นะน�ำ ป้าสมหวังใหค้ วบคมุ อาหารและออกกำ�ลงั กาย เพ่ิมขึ้น ไม่ฉีดอินซูลิน เมื่อป้าสมหวังทราบจึงรู้สึกไม่พอใจที่ไม่ได้รับการรักษาโดยการฉีด อินซูลินเหมือนลุงสมจิตร นักเรียนจะใช้ความรู้เร่ืองฮอร์โมนอธิบายให้ป้าสมหวังเข้าใจได้ อยา่ งไร แนวการตอบ อธบิ ายใหป้ า้ สมหวงั ทราบวา่ ลงุ สมจติ รและปา้ สมหวงั ปว่ ยเปน็ โรคเบาหวานคนละแบบ โดย ลุงสมจิตรป่วยเป็นโรคเบาหวาน ซึ่งเกิดจากตับอ่อนไม่สามารถสร้างอินซูลินได้ แพทย์จึง ต้องรักษาโดยการฉีดอินซูลินเพื่อควบคุมระดับนำ้�ตาลในเลือด ขณะท่ีป้าสมหวังป่วยเป็น โรคเบาหวานท่ี ตบั ออ่ นสามารถสรา้ งอนิ ซลู นิ ไดเ้ ปน็ ปกติ แตเ่ กดิ จากตวั รบั อนิ ซลู นิ ผดิ ปกติ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

146 บทที่ 20 | ระบบต่อมไร้ทอ่ ชีววิทยา เล่ม 5 ทำ�ให้ไม่จำ�เป็นต้องฉีดอินซูลิน ดังน้ันจึงแนะนำ�ให้ป้าสมหวังควบคุมอาหารและออกกำ�ลัง กายเพิ่มขนึ้ เพ่ือควบคมุ ระดบั น้ำ�ตาลในเลอื ดให้อยูใ่ นระดับปกติ 6. ผู้ป่วยโรคเบาจืดมีอาการปัสสาวะปริมาณมากและเจือจาง แพทย์วินิจฉัยว่าเกิดจากความ ผดิ ปกตขิ องฮอรโ์ มน นกั เรยี นทราบหรอื ไมว่ า่ ผปู้ ว่ ยมคี วามผดิ ปกตขิ องฮอรโ์ มนชนดิ ใดและ ฮอรโ์ มนนี้สรา้ งและหลัง่ จากทใี่ ด แนวการตอบ ผปู้ ว่ ยปสั สาวะปรมิ าณมากและเจอื จาง เนอื่ งจากความผดิ ปกตขิ อง ADH ซงึ่ สรา้ งในปรมิ าณ นอ้ ยเกนิ ไปจากไฮโพทาลามสั ท�ำ ใหห้ ลงั่ จากตอ่ มใตส้ มองสว่ นหลงั ในปรมิ าณนอ้ ย น�ำ้ จงึ ถกู ดดู กลบั ทท่ี อ่ หนว่ ยไตและทอ่ รวมไดน้ อ้ ย อาจสง่ ผลใหผ้ ปู้ ว่ ยขาดน�ำ้ และเสยี ชวี ติ ในเวลาตอ่ มา 7. ผู้ท่มี ีรา่ งกายเตยี้ แคระซึ่งเป็นผลมาจากฮอร์โมนแสดงวา่ ขาดฮอรโ์ มนชนดิ ใด แนวการตอบ ขาดโกรทฮอร์โมน เนื่องจากโกรทฮอร์โมนมีหน้าที่สำ�คัญในการควบคุมการเจริญเติบโต ผลติ จากตอ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ ซง่ึ เปน็ ตอ่ มทอี่ ยตู่ ดิ กบั สว่ นลา่ งของสมองสว่ นไฮโพทาลามสั ขาดเทสโทสเทอโรน มผี ลตอ่ การสรา้ งกระดูกและกลา้ มเนอ้ื ขาดไทรอกซนิ มผี ลตอ่ การสร้างกระดูกและกลา้ มเน้อื 8. เม่ือทำ�การทดลองโดยการตัดตับอ่อนของหนูออกไป พบว่าหนูไม่สามารถควบคุมระดับ น�้ำ ตาลในเลอื ดได้ ทำ�ให้ระดับน�้ำ ตาลสงู ข้นึ จากนั้นนำ�ตับออ่ นของหนูอีกตัวมาปลูกถ่ายไว้ 8.1 นกั เรยี นคาดวา่ ระดบั น�้ำ ตาลในเลอื ดของหนทู ไ่ี ดร้ บั การปลกู ถา่ ยตบั ออ่ นจะเปน็ อยา่ งไร เพราะเหตใุ ด แนวการตอบ ระดับนำ้�ตาลในเลือดของหนูน่าจะลดลงเป็นปกติ เน่ืองจากระดับน้ำ�ตาลถูกควบคุม ด้วยอินซูลินที่ผลิตจากกลุ่มเซลล์ไอส์เลตออฟลังเกอร์ฮันส์ที่อยู่ในตับอ่อน ครั้งแรกท่ี ถูกตัดตับอ่อนออกไป ระดับน้ำ�ตาลในเลือดจึงสูงขึ้นเน่ืองจากไม่มีอินซูลินมาควบคุม ระดับนำ้�ตาล แต่เมื่อนำ�ตับอ่อนมาปลูกถ่าย ทำ�ให้ตับอ่อนใหม่สร้างอินซูลินเข้าสู่ กระแสเลอื ดไปกระตนุ้ เซลลต์ บั และเซลลก์ ลา้ มเนอื้ น�ำ กลโู คสไปเกบ็ สะสมไวใ้ นรปู ของ ไกลโคเจนมากข้ึน ระดับน�ำ้ ตาลจึงลดลง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไร้ทอ่ 147 8.2 ถ้าหนูตัวที่ปลูกถ่ายตับอ่อนมีระดับนำ้�ตาลในเลือดต่ำ� กลุ่มเซลล์ชนิดใดจากตับอ่อน จะสร้างฮอร์โมนอะไร และฮอร์โมนนนั้ ทำ�หนา้ ทีอ่ ะไร แนวการตอบ ตับอ่อนจะสร้างกลูคากอน จากเซลล์แอลฟาในไอส์เลตออฟลังเกอร์ฮันส์ ช่วยในการ กระตนุ้ การสลายไกลโคเจนจากตบั และกลา้ มเนอ้ื เพอ่ื ใหไ้ ดน้ �ำ้ ตาลกลโู คสกลบั สกู่ ระแส เลอื ด ระดบั น�ำ้ ตาลในเลือดจะกลบั สู่ภาวะปกติ 9. ถ้านักเรียนรู้สึกแสบท้อง และมีกรดมากเกินไปในกระเพาะอาหาร คาดว่านักเรียนอาจมี ฮอรโ์ มนชนดิ ใดในปริมาณมากกวา่ ปกติ แนวการตอบ แกสทรินจากกระเพาะอาหาร กระตุ้นการหล่ังเพปซิโนเจนและกรดไฮโดรคลอริกจาก กระเพาะอาหาร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

148 บทที่ 20 | ระบบตอ่ มไร้ท่อ ชีววทิ ยา เล่ม 5 10. จงเขียนแผนภาพและอธิบายการควบคุมการหล่ังคอร์ทิซอลแบบป้อนกลับยับยั้ง เมื่ออยู่ในภาวะท่ีมีความกดดันหรือการแข่งขัน เช่น การแข่งกีฬาท่ีทำ�ให้ระดับคอร์ทิซอล เพ่ิมสงู ขึน้ แนวการตอบ ความเครยี ด ไฮโพทาลามสั CRH ยับยง้ั ตอ่ มใตส้ มองส่วนหน้า ยับย้ัง ACTH ต่อมหมวกไต ส่วนนอก คอร์ทิซอล ในกรณีแข่งกีฬาจะเกิดความเครียดซ่ึงส่งผลให้ไฮโพทาลามัสหล่ัง CRH ไปกระตุ้นต่อม ใตส้ มองสว่ นหนา้ ใหห้ ลงั่ ACTH ไปกระตนุ้ ตอ่ มหมวกไตสว่ นนอกใหห้ ลง่ั คอรท์ ซิ อลเพมิ่ มาก ขึน้ ทำ�ให้ระดับคอร์ทซิ อลในเลอื ดสูงขึ้นซง่ึ มผี ลไปยับยง้ั ไฮโพทาลามสั ใหล้ ดการหลงั่ CRH หรือยับย้ังต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้ลดการหล่ัง ACTH ทำ�ให้ต่อมหมวกไตส่วนนอกหล่ัง คอร์ทิซอลน้อยลง แต่ถ้ายังคงมีความเครียดอยู่ ระดับคอร์ทิซอลก็ยังไม่ลดลงสู่ระดับปกติ จนกว่าความเครียดจะหายไป สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 5 บทที่ 21 | ระบบสืบพนั ธ์ุและการเจรญิ เติบโต 149 21บทที่ | ระบบสืบพนั ธ์แุ ละการเจริญเติบโต ipst.me/10786 ผลการเรียนรู้ 1. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ าย และยกตวั อยา่ งการสบื พนั ธแุ์ บบไมอ่ าศยั เพศและการสบื พนั ธแุ์ บบอาศยั เพศในสตั ว์ 2. สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ ายโครงสรา้ งและหนา้ ทขี่ องอวยั วะในระบบสบื พนั ธเุ์ พศชายและระบบสบื พนั ธเุ์ พศหญงิ 3. อธบิ ายกระบวนการสร้างสเปริ ์ม กระบวนการสร้างเซลลไ์ ข่ และการปฏสิ นธใิ นมนุษย์ 4. อธิบายการเจริญเตบิ โตระยะเอ็มบริโอและระยะหลงั เอม็ บริโอของกบ ไก่ และมนุษย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

150 บทท่ี 21 | ระบบสืบพนั ธุ์และการเจรญิ เตบิ โต ชวี วิทยา เลม่ 5 การวเิ คราะห์ผลการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบ อาศยั เพศในสัตว์ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบ อาศัยเพศในสัตว์ ทักษะกระบวนการ ทักษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จิตวทิ ยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ 1. ความเชอ่ื มัน่ ต่อหลักฐาน 1. การจ�ำ แนกประเภท 1. การส่อื สารสารสนเทศและ 2. การลงความเห็นจากข้อมูล การรู้เท่าทนั สอ่ื ผลการเรียนรู้ 2. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าท่ีของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์เพศชายและระบบ สืบพนั ธ์ุเพศหญิง จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล อธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธ์ุเพศชายและระบบ สืบพันธ์ุเพศหญิง ทกั ษะกระบวนการ ทกั ษะแห่งศตวรรษท่ี 21 จติ วิทยาศาสตร์ ทางวิทยาศาสตร์ 1. การจ�ำ แนกประเภท 1. การสื่อสารสารสนเทศและ 1. ความอยากรอู้ ยากเห็น การรเู้ ทา่ ทนั สือ่ 2. การใช้วจิ ารณญาณ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 5 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธุ์และการเจรญิ เตบิ โต 151 ผลการเรยี นรู้ 3. อธบิ ายกระบวนการสร้างสเปริ ์ม กระบวนการสร้างเซลลไ์ ข่ และการปฏสิ นธใิ นมนุษย์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธบิ ายกระบวนการสรา้ งสเปิร์ม กระบวนการสร้างเซลลไ์ ข่ และการปฏสิ นธใิ นมนษุ ย์ 2. อธบิ ายความสมั พนั ธข์ องการตกไขแ่ ละการมปี ระจ�ำ เดอื นกบั การเปลย่ี นแปลงระดบั ฮอรโ์ มน ในเพศหญงิ ทกั ษะกระบวนการ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จิตวทิ ยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การสงั เกต 1. การส่ือสารสารสนเทศและการรู้ 1. ความอยากรอู้ ยากเหน็ 2. การใชว้ ิจารณญาณ 2. การลงความเหน็ จากขอ้ มลู เทา่ ทนั สือ่ 3. ความเชอ่ื มั่นตอ่ หลักฐาน 4. ความมงุ่ มนั่ อดทน 3. การตคี วามหมายข้อมลู และ 2. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและ ลงข้อสรุป การแก้ปัญหา 3. ความร่วมมอื การทำ�งานเปน็ ทีม และภาวะผนู้ ำ� ผลการเรยี นรู้ 4. อธบิ ายการเจริญเตบิ โตระยะเอ็มบรโิ อและระยะหลงั เอม็ บรโิ อของกบ ไก่ และมนษุ ย์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายการเจรญิ เติบโตระยะเอ็มบริโอและระยะหลงั เอ็มบรโิ อของกบ ไก่ และมนษุ ย์ ทกั ษะกระบวนการ ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 จิตวิทยาศาสตร์ ทางวทิ ยาศาสตร์ 1. การใช้วจิ ารณญาณ 1. การลงความเหน็ จากข้อมลู 1. การคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณและ 2. ความเชือ่ ม่ันตอ่ หลักฐาน 2. การตคี วามหมายขอ้ มูลและ การแก้ปัญหา ลงขอ้ สรปุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

152 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธ์แุ ละการเจริญเตบิ โต ชีววทิ ยา เล่ม 5 ผังมโนทัศน์ บทท่ี 21 การสบื พนั ธ์ุของสัตว์ ระบบสืบพนั ธุ์และการเจริญเติบโต ศึกษาเก่ียวกบั ระบบสืบพันธ์มุ นุษย์ แบง่ เปน็ แบบไมอ่ าศยั เพศ แบง่ เป็น ไฮดรา ระบบสืบพนั ธุ์เพศชาย สร้าง การแตกหนอ่ พบใน ประกอบเปน็ เทสโทสเทอโรน ทำ�หน้าที่ การแบ่งแยกตวั พบใน ดอกไม้ทะเล อณั ฑะ สร้างสเปริ ์ม หลอดเกบ็ อสจุ ิ การงอกใหม่ พบใน พลานาเรีย หลอดนำ�อสจุ ิ เริม่ จาก ทอ่ ปสั สาวะ สเปอร์มาโทโกเนยี ม แบบอาศยั เพศ ตอ่ มสร้าง น้�ำ เล้ยี งอสุจิ แบง่ เซลลไ์ ด้ แบง่ เป็น ต่อมลูกหมาก สเปอร์มาโทไซต์ การปฏสิ นธิภายนอก ต่อมคาวเปอร์ พบใน ระยะแรก ปลาส่วนใหญ่ แบ่งเซลล์ได้ สัตว์สะเทนิ นำ้�สะเทินบก สเปอรม์ าโทไซต์ การปฏิสนธิภายใน ระยะสอง พบใน แบง่ เซลล์ได้ สเปอร์มาทิด ปลาบางชนิด สตั ว์เลือ้ ยคลาน เปล่ยี นสภาพเป็น สเปิรม์ สตั ว์ปีก สัตวเ์ ล้ยี งลูกดว้ ยนำ�้ นม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 5 บทที่ 21 | ระบบสบื พันธแ์ุ ละการเจริญเตบิ โต 153 ระบบสบื พันธ์ุเพศหญิง สรา้ งอีสโทรเจนและ การเจริญเตบิ โต โพรเจสเทอโรน ประกอบด้วย ศกึ ษาเก่ยี วกบั รังไข่ ท�ำ หน้าที่ กระบวนการในระยะเอม็ บรโิ อ แบง่ เป็น คลเี วจ สรา้ งเซลลไ์ ข่ แกสทรูเลชัน ท่อนำ�ไข่ เรมิ่ จาก ออร์แกโนเจเนซสิ มดลูก โอโอโกเนยี ม ของ แบง่ เซลล์ได้ สัตวบ์ างชนิด โอโอไซต์ระยะแรก ได้แก่ แบง่ เซลลไ์ ด้ กบ มี เมทามอรโ์ ฟซิส โอโอไซต์ระยะท่ีสอง ไก่ มี โครงสรา้ งท่ีอย่นู อกตวั แบง่ เซลล์ได้ เอ็มบรโิ อ เซลล์ไข่ (ถงุ นำ้�คร่ำ� ถงุ ไขแ่ ดง แอลแลนทอยส์ คอเรยี น) มนษุ ย์ มี โครงสร้างที่อยู่นอกตัว เอม็ บริโอ (ถงุ น้ำ�ครำ�่ ถุงไขแ่ ดง แอลแลนทอยส์ คอเรียน) ปฏสิ นธิได้เปน็ รกและสายสะดือ ไซโกต เจรญิ เติบโตเป็น เอม็ บริโอ เจริญเตบิ โตเปน็ ฟตี ัส เจริญเตบิ โตเปน็ ทารก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

154 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธ์ุและการเจรญิ เตบิ โต ชีววิทยา เลม่ 5 สาระสำ�คญั การสืบพันธ์ุเป็นลักษณะเฉพาะของส่ิงมีชีวิต เป็นความสามารถในการให้กำ�เนิดส่ิงมีชีวิตใหม่ จากส่ิงมีชีวิตเดิมเพื่อดำ�รงพันธุ์ไว้ การสืบพันธ์ุของสัตว์มีแบบไม่อาศัยเพศและแบบอาศัยเพศ การ สบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศเปน็ การสบื พนั ธทุ์ ไ่ี มม่ กี ารรวมของเซลลส์ บื พนั ธุ์ เชน่ การแตกหนอ่ การแบง่ แยกตัว และการงอกใหม่ ส่วนการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศเป็นการสืบพันธุ์ท่ีมีการรวมนิวเคลียสของ เซลลส์ บื พนั ธ์ุ ซงึ่ มที ง้ั การปฏสิ นธภิ ายนอกและการปฏสิ นธภิ ายใน สตั วบ์ างชนดิ มี 2 เพศในตวั เดยี วกนั แตก่ ารผสมพันธุส์ ่วนใหญ่จะผสมขา้ มตัว การสืบพันธุ์ของมนุษย์มีกระบวนการสร้างสเปิร์มจากเซลล์สเปอร์มาโทโกเนียมภายในอัณฑะ และกระบวนการสร้างเซลล์ไข่จากเซลล์โอโอโกเนียมภายในรังไข่ การปฏิสนธิเกิดขึ้นภายในท่อนำ�ไข่ ไดเ้ ป็นไซโกต แลว้ เจรญิ เตบิ โตเปน็ เอม็ บริโอ ไปฝังตัวทีผ่ นงั มดลูกจนกระทัง่ ครบก�ำ หนดคลอด อวยั วะสบื พนั ธข์ุ องเพศชายประกอบดว้ ยอณั ฑะท�ำ หนา้ ทส่ี รา้ งสเปริ ม์ และฮอรโ์ มนเพศชาย และ มโี ครงสรา้ งอื่น ๆ ทีท่ ำ�หน้าทลี่ ำ�เลียงสเปิร์ม สร้างนำ�้ เล้ยี งอสุจิ และสารหล่อลื่นทอ่ ปัสสาวะ โดยอัณฑะ ประกอบด้วยหลอดสร้างอสุจิที่ภายในมีสเปอร์มาโทโกเนียมที่เป็นเซลล์ต้ังต้นของกระบวนการสร้าง สเปิร์ม ซ่ึงจะมีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสได้สเปอร์มาโทโกเนียมจำ�นวนมาก แล้วมีส่วนหนึ่งพัฒนา เป็นสเปอร์มาโทไซต์ระยะแรก โดยสเปอร์มาโทไซต์ระยะแรกจะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส I ได้เป็น สเปอร์มาโทไซต์ระยะที่สองที่จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส II ได้สเปอร์มาทิดตามลำ�ดับ จากนั้นพัฒนา เปน็ สเปิร์ม อวัยวะสืบพันธุ์ของเพศหญิงประกอบด้วย รังไข่ ทอ่ นำ�ไข่ มดลูก และช่องคลอด รังไขท่ �ำ หน้าท่ี สร้างเซลล์ไข่และฮอร์โมนเพศหญิง กระบวนการสร้างเซลล์ไข่เริ่มจากโอโอโกเนียมแบ่งเซลล์แบบ ไมโทซิสและไมโอซิส I และจะหยุดอยู่ท่ีระยะโพรเฟส I ได้เป็นโอโอไซต์ระยะแรก เมื่อเข้าสู่วัย เจริญพนั ธุจ์ งึ แบง่ เซลลแ์ บบไมโอซิส I ตอ่ และตามด้วยไมโอซสิ II แลว้ หยุดทรี่ ะยะเมทาเฟส II ได้เปน็ โอโอไซต์ระยะท่ีสอง ซึ่งจะเกิดการตกไข่ต่อไป เมื่อได้รับการกระตุ้นจากสเปิร์ม โอโอไซต์ระยะที่สอง จะแบ่งเซลล์แบบไมโอซสิ II ต่อจนเสร็จ แล้วพัฒนาเป็นเซลลไ์ ข่ การเจริญเติบโตของสัตว์ เชน่ กบ ไก่ และมนุษย์ มแี บบแผนคลา้ ยกัน เร่มิ ต้นด้วยการแบ่งเซลล์ ของไซโกต การจัดเรียงตัวของกลุ่มเซลล์ของเอ็มบริโอเป็น 3 ชั้น คือ เอ็กโทเดิร์ม เมโซเดิร์ม และ เอนโดเดิร์ม การเกิดอวัยวะ โดยมีการเพิ่มจำ�นวน ขยายขนาด และการเปลี่ยนสภาพของเซลล์ พัฒนาการของอวัยวะต่าง ๆ จะทำ�ให้มีรูปร่างและโครงสร้างท่ีแน่นอนในสัตว์แต่ละสปีชีส์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 5 บทที่ 21 | ระบบสบื พนั ธุ์และการเจริญเติบโต 155 การเจรญิ เตบิ โตของเอม็ บรโิ อมนษุ ยจ์ ะมขี น้ั ตอนคลา้ ยกบั การเจรญิ เตบิ โตของสตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยน�้ำ นม อื่น ๆ โดยเอ็มบริโอจะฝังตัวที่ผนังมดลูกและมีการแลกเปล่ียนสารระหว่างแม่กับลูกผ่านทางรกและ สายสะดอื เมอื่ ครบก�ำ หนดจะคลอดเปน็ ทารก โดยสัตวจ์ ะมกี ารเตบิ โตของรา่ งกายจนเป็นตัวเตม็ วัยท่ี สมบูรณ์และมกี ารเติบโตข้ึนเรอ่ื ย ๆ จนถึงระยะหนึ่งจะชะลอการเติบโต เวลาทีใ่ ช้ 3 ชัว่ โมง บทน้คี วรใชเ้ วลาสอนประมาณ 18 ชว่ั โมง 8 ชวั่ โมง 21.1 การสบื พนั ธข์ุ องสตั ว ์ 7 ชวั่ โมง 21.2 การสบื พนั ธุข์ องมนษุ ย์ 18 ช่ัวโมง 21.3 การเจริญเตบิ โตของสัตว์ รวม สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

156 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธุ์และการเจรญิ เตบิ โต ชวี วทิ ยา เลม่ 5 เฉลยตรวจสอบความรูก้ อ่ นเรยี น ให้นกั เรยี นใสเ่ ครอ่ื งหมายถกู (√) หรอื ผิด (×) หนา้ ข้อความตามความเข้าใจของนกั เรยี น 1. สตั ว์สามารถสบื พันธ์แุ บบไม่อาศัยเพศได้ 2. การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสเพื่อเพ่ิมจำ�นวนเซลล์ร่างกายจะได้เซลล์ลูกที่มีข้อมูล ทางพันธุกรรมแตกต่างไปจากเซลลเ์ ดิม 3. การสร้างเซลล์สืบพันธ์ุของสัตว์เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส ซึ่งจะได้เซลล์ที่เป็น ดพิ ลอยด์ 4. การแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ สามารถเกิดขน้ึ ไดก้ ับทกุ เซลล์ในร่างกาย 5. สเปิรม์ ของมนุษย์มโี ครโมโซมจำ�นวน 23 แทง่ 6. เม่ือเซลล์ไขป่ ฏิสนธกิ บั สเปิรม์ จะได้ไซโกต 7. ในระบบสบื พนั ธขุ์ องมนษุ ย์ รงั ไขท่ �ำ หนา้ ทส่ี รา้ งเซลลไ์ ขแ่ ละองคชาตท�ำ หนา้ ทส่ี รา้ งสเปริ ม์ 8. ลูกที่เกิดจากพ่อแม่เดียวกันจะมีลักษณะทางพันธุกรรมที่แตกต่างกันเป็นผลเนื่องจาก การรวมของเซลล์ไข่และสเปิรม์ ในการปฏสิ นธเิ ปน็ ไปอย่างสมุ่ 9. FSH กระตนุ้ การเจรญิ ของรงั ไขแ่ ละอณั ฑะใหส้ รา้ งเซลลส์ บื พนั ธ์ุ 10. เอ็มบริโอจะฝังตัวในมดลูกของแม่และได้รับสารอาหาร แก๊สออกซิเจน และแอนติบอดี จากแม่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เลม่ 5 บทที่ 21 | ระบบสืบพันธแ์ุ ละการเจรญิ เตบิ โต 157 แนวการจัดการเรยี นรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นศกึ ษารปู น�ำ บทเกย่ี วกบั การอลั ตราซาวดเ์ พอ่ื ตดิ ตามการเจรญิ เตบิ โตของลกู ในครรภ์ จากนน้ั รว่ มกนั อภปิ รายเกย่ี วกบั ลกั ษณะส�ำ คญั ของสง่ิ มชี วี ติ ในการสบื พนั ธแ์ุ ละ การเจรญิ เตบิ โต ทง้ั นค้ี รอู าจใชร้ ปู การผสมพนั ธห์ุ รอื การเจรญิ เตบิ โตของสตั วช์ นดิ อน่ื  ๆ ในการน�ำ เขา้ สู่ บทเรียน เช่น การผสมพันธ์ุของแมลงปอ และเมทามอร์โฟซิสของผีเส้ือ โดยอาจใช้แนวคำ�ถามดังน้ี ถา้ สตั วไ์ มม่ กี ารสบื พนั ธจ์ุ ะเกดิ ผลอยา่ งไร สตั วม์ กี ารเจรญิ เตบิ โตเปน็ ตวั เตม็ วยั ทพ่ี รอ้ มจะสบื พนั ธ์ุ และใหล้ กู หลานตอ่ ไปไดอ้ ยา่ งไร จากการอภปิ รายนกั เรยี นอาจมคี �ำ ตอบไดห้ ลากหลาย โดยควรสรปุ ไดว้ า่ การสบื พนั ธแ์ุ ละการ เจริญเติบโตเป็นลักษณะเฉพาะของส่งิ มีชีวิต การสืบพันธ์เุ ป็นการเพ่มิ จำ�นวนส่งิ มีชีวิตสปีชีส์เดียวกัน ถา้ สตั วไ์ มม่ กี ารสบื พนั ธอ์ุ าจจะท�ำ ใหส้ ปชี สี น์ น้ั สญู พนั ธไ์ุ ด้ สตั วม์ กี ารเจรญิ เตบิ โตจนเกดิ เปน็ รปู รา่ งและ โครงสร้างท่มี ีลักษณะเหมือนตัวเต็มวัยท่พี ร้อมจะสืบพันธ์แุ ละให้ลูกหลานต่อไปได้ ครูอธิบายเพ่มิ เติม วา่ การเจรญิ เตบิ โตเปน็ การเพม่ิ จ�ำ นวนและขนาดของเซลล์ มกี ารเปลย่ี นสภาพของเซลลเ์ พอ่ื ท�ำ หนา้ ท่ี เฉพาะอยา่ ง มกี ารเจรญิ ของกลมุ่ เซลลจ์ นเปน็ เนอ้ื เยอ่ื และมกี ารพฒั นาของอวยั วะตา่ ง ๆ ทแ่ี นน่ อนใน สตั วแ์ ตล่ ะสปชี สี ์ จากนน้ั ครตู ง้ั ค�ำ ถามเพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารสบื คน้ ขอ้ มลู วา่ การสบื พนั ธแ์ุ ละการเจรญิ เตบิ โตของสตั ว์ มกี ระบวนการอยา่ งไร ซง่ึ นกั เรยี นอาจมคี �ำ ตอบไดห้ ลากหลายและจะไดศ้ กึ ษาตอ่ ไปในบทน้ี 21.1 การสืบพนั ธขุ์ องสัตว์ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ สบื คน้ ขอ้ มลู อธบิ าย และยกตวั อยา่ งการสบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศและการสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศในสตั ว์ แนวการจัดการเรยี นรู้ ครตู ง้ั ค�ำ ถามเพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารสบื คน้ และอภปิ รายเกย่ี วกบั การสบื พนั ธข์ุ องสตั ว์ โดยอาจใหน้ กั เรยี น ศกึ ษารปู หรอื วดี ทิ ศั นก์ ารสบื พนั ธข์ุ องสตั วห์ ลาย ๆ ชนดิ และใชค้ �ำ ถามดงั น้ี สตั ว์แต่ละชนดิ มกี ารสบื พันธเ์ุ หมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

158 บทท่ี 21 | ระบบสบื พันธุ์และการเจรญิ เติบโต ชวี วิทยา เล่ม 5 21.1.1 การสบื พันธ์แุ บบไม่อาศัยเพศ ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การสบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศของสตั วด์ ว้ ยการแตกหนอ่ การ แบง่ แยกตวั และการงอกใหม่ แลว้ รว่ มกนั อภปิ รายโดยใชร้ ปู 21.1-21.3 เพอ่ื เปรยี บเทยี บลกั ษณะของ สตั วต์ วั ใหมท่ ไ่ี ดจ้ ากการสบื พนั ธแ์ุ บบตา่ ง ๆ โดยครอู าจใหน้ กั เรยี นศกึ ษาการแตกหนอ่ ของไฮดราและการ งอกใหม่ของพลานาเรียจากตัวอย่างส่งิ มีชีวิตด้วยกล้องจุลทรรศน์ จากน้นั ตอบคำ�ถามในหนังสือเรียน ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี การสืบพันธด์ุ ้วยการแตกหน่อแตกตา่ งจากการแบ่งแยกตัวอยา่ งไร ในการสบื พันธ์ดุ ้วยการแตกหนอ่ น้นั สัตวต์ ัวใหมท่ ่เี กิดขนึ้ จะมีขนาดเล็กกว่าตัวเดมิ ส่วนการ แบ่งแยกตัว สัตวต์ วั เดิมจะแบง่ เซลลแ์ ละได้เปน็ ตัวใหม่ 2 ตัวทมี่ ขี นาดใกล้เคยี งกัน สตั วท์ ่ีมกี ารสบื พันธแ์ุ บบไมอ่ าศัยเพศมีชนิดใดอีกบา้ ง จงยกตวั อย่าง ฟองน�้ำ หนอนตวั แบน และดาวทะเล ครอู าจถามค�ำ ถามเพม่ิ เตมิ ดงั น้ี เพราะเหตุใดสัตว์ตัวใหม่ท่ีเกิดจากการสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศจึงมีลักษณะรูปร่างและ ข้อมูลทางพันธุกรรมเหมือนกับสัตว์ตัวเดิมทุกประการ สัตว์ตัวใหม่เกิดจากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส ทำ�ให้เซลล์ทุกเซลล์ของสัตว์ตัวใหม่มี ลักษณะรูปรา่ งและขอ้ มูลทางพันธกุ รรมเหมอื นกับสัตว์ตวั เดิมทุกประการ จากนน้ั ครอู าจใหน้ กั เรยี นศกึ ษาความรเู้ พม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั การสบื พนั ธข์ุ องสง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วเพอ่ื เปรยี บเทยี บกบั การสบื พนั ธข์ุ องสตั ว์ ซง่ึ โดยทว่ั ไปสง่ิ มชี วี ติ เซลลเ์ ดยี วมกี ารสบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศ ครใู หน้ กั เรยี นอภปิ รายและสรปุ รว่ มกนั เกย่ี วกบั ความหมายและหลกั การของการสบื พนั ธแ์ุ บบ ไมอ่ าศยั เพศ ซง่ึ นกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ การสบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศเปน็ การสบื พนั ธท์ุ ไ่ี มม่ กี ารรวมกนั ของ เซลลส์ บื พนั ธ์ุ สตั วจ์ ะมกี ารแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ รนุ่ ลกู จะมลี กั ษณะและขอ้ มลู ทางพนั ธกุ รรมทเ่ี หมอื นกบั สตั วท์ ใ่ี หก้ �ำ เนดิ โดยสตั วแ์ ตล่ ะชนดิ มรี ปู แบบการสบื พนั ธท์ุ แ่ี ตกตา่ งกนั ไดแ้ ก่ การแตกหนอ่ การแบง่ แยกตวั และการงอกใหม่ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 5 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธุแ์ ละการเจริญเตบิ โต 159 ครูให้ความร้เู พ่มิ เติมว่าโดยท่วั ไปสัตว์ท่สี ามารถสืบพันธ์แุ บบไม่อาศัยเพศได้จะสืบพันธ์แุ บบ อาศยั เพศไดด้ ว้ ย เชน่ ไฮดราสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศโดยสรา้ งอณั ฑะและรงั ไขซ่ ง่ึ สรา้ งเซลลส์ บื พนั ธ์ุ และ สว่ นใหญจ่ ะเกดิ ในภาวะทแ่ี หง้ แลง้ หรอื อากาศเยน็ จดั ซง่ึ ไมเ่ หมาะสมตอ่ การด�ำ รงชวี ติ สว่ นพลานาเรยี มี อวัยวะสืบพันธ์ทุ ้งั สองเพศอย่ใู นตัวเดียวกัน มีการปฏิสนธิข้ามตัว โดยพลานาเรียจะจับค่แู ลกเปล่ยี น สเปริ ม์ กนั สเปริ ม์ จะเคลอ่ื นไปตามทอ่ น�ำ ไขแ่ ลว้ เกดิ การปฏสิ นธกิ บั เซลลไ์ ขใ่ นทอ่ น�ำ ไข่ ความรูเ้ พมิ่ เติมส�ำ หรบั ครู พารามเี ซยี มมคี อนจเู กชนั (conjugation) โดยจะมกี ารจบั คกู่ นั และแลกเปลย่ี นไมโครนวิ เคลยี สท่ี เปน็ แฮพลอยด์ จากนน้ั จะมกี ารสบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศดว้ ยการแบง่ แยกตวั มี กระบวนการดงั รปู 1 2 3 4 5 พารามีเซยี ม 2 เซลล์ แตล่ ะเซลล์เกิด ไมโครนิวเคลยี ส เกดิ การแลกเปลย่ี น เซลลแ์ ยกจากกัน มาจับคกู่ นั ไมโอซิสแบง่ บางสว่ นจะสลายไป ไมโครนวิ เคลยี ส ไมโครนวิ เคลียสได้ ส่วนที่เหลอื จะแบ่ง 4 ไมโครนิวเคลียส แบบไมโทซิสได้ เกดิ เปน็ แฮพลอยด์ 2 ไมโครนวิ คลยี ส meiosis micro nucleus fusion มกี ารสบื พันธ์ุแบบ ไมโครนิวเคลยี ส เกิดไมโทซสิ แบ่ง ไมโครนวิ เคลยี สทง้ั 2 ไม่อาศยั เพศโดยการ 4 นิวเคลียส ไมโครนิวเคลยี สได้ ของแตล่ ะเซลลจ์ ะ แบ่งแยกตัว 2 ครง้ั กลายเปน็ 8 นวิ เคลยี ส รวมกนั เกิดเป็น เกดิ เปน็ เซลลล์ กู แมโครนวิ เคลยี ส สว่ น ดพิ ลอยด์ 4 เซลล์ แมโครนวิ เคลยี สเดมิ จะสลายไป 6 9 87 คอนจูเกชนั การสืบพนั ธุแ์ บบไม่อาศยั เพศ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

160 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธุ์และการเจรญิ เติบโต ชีววิทยา เล่ม 5 21.1.2 การสืบพันธ์ุแบบอาศยั เพศ ครนู �ำ เขา้ สหู่ วั ขอ้ โดยการทบทวนความรเู้ รอ่ื งการสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศทม่ี กี ารปฏสิ นธริ ะหวา่ ง เซลลส์ บื พนั ธเ์ุ พศผแู้ ละเซลลส์ บื พนั ธเ์ุ พศเมยี จนไดเ้ ปน็ ไซโกต เอม็ บรโิ อ และเปน็ ตวั เตม็ วยั โดยอาจใช้ รปู 21.4 ประกอบ จากนน้ั ครเู ชอ่ื มโยงความรเู้ กย่ี วกบั การถา่ ยทอดลกั ษณะทางพนั ธกุ รรมโดยใหน้ กั เรยี น อภปิ รายค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี นตอ่ ไปน้ี เพราะเหตุใดในการสบื พันธแุ์ บบอาศยั เพศจึงได้ลูกทีม่ ลี ักษณะหลากหลายและแตกต่างจาก พ่อและแม่ ความหลากหลายทีเ่ กดิ ขึ้นน้ีสง่ ผลต่อการอยู่รอดของสัตว์ชนิดนน้ั อย่างไร ในการสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศ ลกู เกดิ จากการปฏสิ นธขิ องเซลลส์ บื พนั ธจุ์ ากพอ่ และแม่ ซงึ่ ใน การสร้างเซลล์สืบพันธุ์มีการรวมกลุ่มอย่างอิสระของโครโมโซม รวมทั้งการปฏิสนธิเป็นไป อย่างสุ่ม ทำ�ให้ลูกที่เกิดมีความหลากหลายทางพันธุกรรมและแปรผันไปจากพ่อและแม่ ลักษณะทางพันธุกรรมท่หี ลากหลายส่งผลให้สมาชิกของสัตว์ชนิดน้มี ีโอกาสอย่รู อดมากข้นึ เม่อื มกี ารคัดเลือกโดยธรรมชาติ จากนน้ั ครอู าจใหน้ กั เรยี นศกึ ษาจากกรณศี กึ ษาเพม่ิ เตมิ เพอ่ื เปรยี บเทยี บลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม ของรนุ่ ลกู ทไ่ี ดจ้ ากการสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศและแบบไมอ่ าศยั เพศ ดงั น้ี ถา้ สตั วช์ นดิ หนง่ึ โดยปกตอิ าศยั ในสภาพแวดลอ้ มทอ่ี ณุ หภมู ปิ ระมาณ 20 องศาเซลเซยี ส ก�ำ หนดให้ ลกั ษณะการทนตอ่ อณุ หภมู สิ งู เปน็ ลกั ษณะทางพนั ธกุ รรม โดย T แทนความสามารถในการทนตอ่ อณุ หภมู ิ 30 องศาเซลเซยี ส ไดน้ อ้ ยกวา่ 15 วนั และ t แทนความสามารถในการทนตอ่ อณุ หภมู ิ 30 องศาเซลเซยี ส ไดม้ ากกวา่ 15 วนั ถ้าสัตว์มีจีโนไทป์ Tt และมีการสืบพันธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ จะได้รุ่นลูกที่มีจีโนไทป์และ ฟโี นไทปเ์ ปน็ อย่างไร เม่ือมีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศมีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสจะได้รุ่นลูกท่ีมีจีโนไทป์ เป็น Tt ทง้ั หมด และสามารถทนต่ออุณหภูมิสงู ไดน้ อ้ ยกว่า 15 วนั ดังรูปกรณีท่ี 1 ถ้าสัตว์มีการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศกับอีกตัวท่ีมีจีโนไทป์ Tt จะได้รุ่นลูกมีจีโนไทป์และ ฟีโนไทป์เปน็ อยา่ งไร เม่ือมีการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศจะได้รุ่นลูกท่ีมีจีโนไทป์เป็น TT : Tt : tt ในอัตราส่วน 1 : 2 : 1 และสามารถทนตอ่ อณุ หภมู สิ งู ไดน้ อ้ ยกวา่ 15 วนั และสามารถทนตอ่ อณุ หภมู สิ งู ไดม้ ากกวา่ 15 วัน ในอตั ราส่วน 3 : 1 ดังรูปกรณีท่ี 2 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 21 | ระบบสืบพนั ธ์ุและการเจริญเตบิ โต 161 รุ่น P Tt ร่นุ P Tt Tt ไมโอซสิ ไมโอซิส ไมโทซิส เซลล์สบื พันธ์ุ T t T t รุ่น F1 Tt Tt รุ่น F1 TT Tt Tt tt กรณที ี่ 1 กรณีที่ 2 ถา้ สภาพแวดลอ้ มมีอณุ หภมู ิ 30 องศาเซลเซียส ตอ่ เนื่องนานมากกวา่ 15 วัน รนุ่ ลกู จาก กรณีใดมีโอกาสรอดชีวิตมากกวา่ กัน เพราะเหตใุ ด ในสภาพแวดลอ้ มทมี่ อี ณุ หภมู ิ 30 องศาเซลเซยี ส ตอ่ เนอ่ื งนานมากกวา่ 15 วนั รนุ่ ลกู จาก กรณที ่ี 2 มโี อกาสรอดชีวิตมากกว่า เน่ืองจากมีการสบื พันธุ์แบบอาศยั เพศท�ำ ให้รุน่ F1 มี โอกาสมีจีโนไทป์ tt ท�ำ ใหม้ ฟี ีโนไทปท์ ส่ี ามารถทนต่ออณุ หภมู ิสงู ไดม้ ากกว่า 15 วัน และ หากมีการผสมพันธุ์แบบสุ่มไปเร่ือย ๆ หลาย ๆ รุ่นก็จะมีสมาชิกของประชากรท่ีสามารถ ทนต่ออุณหภูมิสูงได้มากกว่า 15 วัน ในร้อยละที่สูงข้ึน ในขณะท่ีการสืบพันธ์ุแบบ ไมอ่ าศัยเพศให้รนุ่ ลูกทม่ี ีจีโนไทปเ์ หมือนรุ่นพอ่ แม่จึงไม่สามารถทนตอ่ อุณหภูมสิ งู ได้และ มโี อกาสที่จะสูญพันธ์ุ จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู และเปรยี บเทยี บการปฏสิ นธภิ ายนอกกบั การปฏสิ นธภิ ายใน โดยใชร้ ปู 21.5-21.6 ประกอบ ซง่ึ นกั เรยี นควรไดข้ อ้ สรปุ วา่ การปฏสิ นธภิ ายนอก สเปริ ม์ จะถกู ปลอ่ ยออก ภายนอกและเกดิ การปฏสิ นธภิ ายนอกรา่ งกายของสตั วเ์ พศเมยี มกั พบในปลาสว่ นใหญแ่ ละสตั วส์ ะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บก สว่ นการปฏสิ นธภิ ายในสเปริ ม์ จะถกู ปลอ่ ยภายในรา่ งกายของสตั วเ์ พศเมยี และเกดิ การปฏสิ นธิ ภายในรา่ งกาย พบในสตั วเ์ ลอ้ื ยคลาน สตั วป์ กี และสตั วเ์ ลย้ี งลกู ดว้ ยน�ำ้ นม ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การสบื พนั ธข์ุ องสตั วท์ เ่ี ปน็ กะเทย เชน่ พลานาเรยี หอยทาก และไสเ้ ดอื นดนิ โดยใชร้ ปู 21.7 ประกอบ และเปรยี บเทยี บกบั สตั วแ์ ยกเพศ จากนน้ั รว่ มกนั อภปิ รายโดย ใชต้ วั อยา่ งค�ำ ถามดงั น้ี สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

162 บทท่ี 21 | ระบบสืบพันธแ์ุ ละการเจริญเติบโต ชวี วทิ ยา เลม่ 5 เพราะเหตุใดสัตว์ท่ีเป็นกะเทยส่วนใหญ่จึงไม่สามารถผสมพันธุ์ในตัวเองได้ แต่จะมีการ จบั คแู่ ละแลกเปลี่ยนเซลลส์ บื พนั ธซ์ุ ง่ึ กันและกัน มผี ลดตี ่อสัตว์อยา่ งไร เซลลส์ บื พนั ธท์ุ ง้ั 2 เพศทอี่ ยใู่ นสตั วต์ วั เดยี วกนั สว่ นใหญจ่ ะเจรญิ ไมพ่ รอ้ มกนั จงึ ไมส่ ามารถ ผสมพนั ธใุ์ นตวั เองได้ ตอ้ งจบั คกู่ นั เพอื่ แลกเปลยี่ นเซลลส์ บื พนั ธ์ุ เกดิ ผลดคี อื ท�ำ ใหล้ กั ษณะ ของลกู มคี วามหลากหลาย ถา้ มลี กั ษณะทเี่ หมาะสมกบั สง่ิ แวดลอ้ มกจ็ ะมโี อกาสด�ำ รงชวี ติ อยูร่ อดและด�ำ รงเผา่ พนั ธ์ตุ ่อไปได้ จากนน้ั ครตู ง้ั ค�ำ ถามเพอ่ื น�ำ เขา้ สกู่ จิ กรรม 21.1 โดยใชค้ �ำ ถามดงั น้ี สตั วต์ า่ ง ๆ มกี ระบวนการ สบื พนั ธเ์ุ หมอื นหรอื แตกตา่ งกนั อยา่ งไร และกระบวนการสบื พนั ธน์ุ น้ั มคี วามเหมาะสมกบั การด�ำ รง ชวี ติ ของสตั วอ์ ยา่ งไร นกั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 21.1 เพอ่ื ศกึ ษาการสบื พนั ธข์ุ องสตั ว์ กิจกรรม 21.1 การสบื พันธขุ์ องสัตว์ จดุ ประสงค์ สืบค้นข้อมูล อธิบาย และยกตัวอย่างการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบ อาศยั เพศในสตั ว์ เวลาท่ีใช้ (โดยประมาณ) 1 ชั่วโมง แนวการจัดกิจกรรม ในการทำ�กิจกรรม ครูควรให้นักเรียนแบ่งกลุ่มและเลือกชนิดของสัตว์ที่สนใจอย่าง หลากหลายโดยไมซ่ �ำ้ กบั กลมุ่ อนื่ ครอู าจแนะน�ำ ใหส้ บื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั สตั วใ์ นทอ้ งถน่ิ หรอื สตั ว์ ทม่ี ผี ลตอ่ เศรษฐกจิ ในชมุ ชน ในการสบื คน้ ขอ้ มลู ควรแนะน�ำ ใหน้ กั เรยี นหาขอ้ มลู จากแหลง่ ขอ้ มลู ที่น่าเชื่อถือ และรวบรวมข้อมูลจากหลาย ๆ แหล่ง การนำ�เสนอควรมีข้อมูลที่ครบถ้วนและมี รปู แบบท่ีสอื่ สารไดช้ ดั เจนเขา้ ใจง่าย ตัวอย่างผลการท�ำ กิจกรรม ตัวอย่างการรวบรวมข้อมลู การสืบพันธุข์ องสัตว์ทนี่ กั เรียนสนใจ เช่น กบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เลม่ 5 บทท่ี 21 | ระบบสืบพันธ์ุและการเจริญเติบโต 163 - โครงสร้างของระบบสืบพันธุ์ การสืบพันธ์ุของกบเป็นแบบอาศัยเพศและมีการปฏิสนธิ ภายนอก โดยส่วนใหญ่กบเพศผู้จะมีขนาดเล็กกว่ากบเพศเมีย กบเพศผู้มีอัณฑะและมี โครงสรา้ งต่าง ๆ ทน่ี ำ�สเปริ ม์ ออกนอกร่างกาย กบเพศเมยี มรี ังไข่ ทอ่ น�ำ ไข่ ดังรูป อณั ฑะ ท่อนำ�ไข่ ไต ไต รงั ไข่ กระเพาะปัสสาวะ ovisac - พฤตกิ รรมการจบั คูผ่ สมพันธุ์ กบจะเริม่ ผสมพนั ธุใ์ นช่วงต้นฤดฝู น กบมีพฤติกรรมกอดรดั กนั ระหวา่ งผสมพันธุ์ กบเพศผจู้ ะเกาะบนหลังกบเพศเมีย กบสว่ นมากจะวางไข่ในนำ้� บาง ชนดิ ป้องกนั ดูแลไข่โดยเกบ็ ไขไ่ ว้บนหลงั หรอื บางชนดิ วางไขไ่ วก้ บั พชื นำ้� - วฏั จกั รชวี ติ กบวางไขใ่ นน�้ำ โดยเฉพาะในแหลง่ น�้ำ นงิ่ เมอื่ มกี ารปฏสิ นธจิ ะไดเ้ ปน็ ไซโกตแลว้ เป็นเอม็ บริโอ เม่อื ฟักออกมาจะเปน็ ลกู ออ๊ ดทม่ี หี างยาว ส่วนหวั โต แลกเปลีย่ นแกส๊ โดยใช้ เหงือก และดำ�รงชีวิตในน้ำ� จากนั้นมีเมทามอร์โฟซิสเป็นลูกกบซึ่งจะเริ่มมีขางอกออกมา หางจะค่อย ๆ เล็กและส้ันลง เริ่มมีการเจริญของปอด จากนั้นเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัย สว่ นหางจะหดสน้ั และหายไป แลกเปลย่ี นแกส๊ โดยใชป้ อด และด�ำ รงชวี ติ ทง้ั บนบกและในน�้ำ - จำ�นวนลูกที่เกิดในแต่ละรุ่น กบวางไข่จำ�นวนประมาณ 2,500-3,000 ฟองต่อคร้ัง อาจ แตกต่างกันข้ึนกับสปชี สี ์ - อายขุ ยั มอี ายุขยั ประมาณ 10-12 ปี อาจแตกตา่ งกนั ขนึ้ กบั สปีชสี ์ หลงั จากการน�ำ เสนอการสบื พนั ธข์ุ องสตั วแ์ ตล่ ะชนดิ ตามประเดน็ ตา่ ง ๆ แลว้ ครใู หน้ กั เรยี น รว่ มกนั อภปิ รายเพอื่ เปรยี บเทยี บการสบื พนั ธขุ์ องสตั วท์ น่ี กั เรยี นสบื คน้ มา โดยครอู าจระบหุ วั ขอ้ ในการอภิปราย เช่น การสบื พันธุ์ การปฏสิ นธิ ลักษณะของลูกที่ออก จำ�นวนไขห่ รอื จ�ำ นวนตัว ดงั ตัวอย่างในตาราง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

164 บทที่ 21 | ระบบสบื พนั ธุแ์ ละการเจรญิ เติบโต ชีววิทยา เล่ม 5 การสืบพนั ธุ์ การปฏสิ นธิ ลกั ษณะของลูก จ�ำ นวนไขห่ รือ ภายนอก ภายใน ไข่ ตัว จำ�นวนตวั ชนิดสตั ว์ มาก น้อย ไมอ่ าศัยเพศ อาศัยเพศ ไฮดรา - -- ผีเสื้อ - - -- กบ - เต่า - --- เป็ด - - -- แมว - -- - -- จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการอภิปรายว่าสัตว์ต่าง ๆ มีการสืบพันธ์ุเหมือนหรือ แตกตา่ งกันอย่างไร และเหมาะสมกับการดำ�รงชวี ติ ของสตั วน์ ้ันอยา่ งไร เฉลยค�ำ ถามทา้ ยกิจกรรม สัตว์ท่ีมีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศมีข้อได้เปรียบและ ขอ้ เสียเปรยี บกันอย่างไร สัตว์ที่มีการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศส่วนใหญ่เพิ่มจำ�นวนได้อย่างรวดเร็ว สืบพันธ์ุได้โดย ไมต่ อ้ งมีการจับค่เู พ่อื ผสมพันธ์ุ ไม่ตอ้ งรอฤดูผสมพนั ธุ์ แตป่ ระชากรไม่มคี วามหลากหลาย ทางพันธุกรรมซึ่งอาจส่งผลต่อความอยู่รอดของประชากรเม่ือสิ่งแวดล้อมเปล่ียนแปลงไป ส่วนสัตว์ที่มีการสืบพันธ์ุแบบอาศัยเพศส่วนใหญ่จะมีประชากรท่ีมีความหลากหลายทาง พันธุกรรมส่งผลให้มีโอกาสอยู่รอดตามการคัดเลือกโดยธรรมชาติ แต่การให้กำ�เนิดลูกใช้ เวลานานและขึ้นกับโอกาสในการปฏิสนธิ โดยทั่วไปมีการจับคู่เพื่อผสมพันธ์ุซ่ึงต้องมี ส่ิงแวดล้อมและเวลาท่ีเหมาะสม เอ็มบริโอต้องการสารอาหารที่สะสมในไข่แดงหรือจาก แม่ผรา่ ู้หนรทอื าไงมร่ ก มกี ารเลย้ี งดูจากแมแ่ ละพ่อ ท�ำ ใหม้ ีโอกาสอยรู่ อดได้มากขนึ้ ท่อปัสสาวะในเพศชายเป็นทางผ่านของปัสสาวะและน�้ำ อสุจิ แต่การขับปัสสาวะและการหลั่ง น้ำ�อสุจิจะไม่เกิดในเวลาเดียวกัน เนื่องจากกล้ามเน้ือหูรูด (sphincter muscle) ในกระเพาะ ปสั สาวะจะชว่ ยควบคมุ ไมใ่ หป้ สั สาวะออกจากกระเพาะปสั สาวะในระหวา่ งทมี่ กี ารหลง่ั น�้ำ อสจุ ิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 5 บทที่ 21 | ระบบสบื พันธ์แุ ละการเจริญเตบิ โต 165 สัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายนอกและการปฏิสนธิภายในมีการดำ�รงชีวิตในสิ่งแวดล้อมเหมือน หรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร สัตว์ทม่ี กี ารปฏสิ นธภิ ายนอก สเปริ ม์ จำ�เปน็ ต้องอาศัยนำ�้ ในการเคล่ือนทไ่ี ปผสมกับเซลลไ์ ข่ จึงพบสัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายนอกอาศัยอยู่ในนำ้�หรือมีการผสมพันธุ์ในน้ำ�หรือท่ีช้ืน ส่วน สัตว์ที่มีการปฏิสนธิภายใน สเปิร์มไม่จำ�เป็นต้องอาศัยนำ้�จากสิ่งแวดล้อม ดังนั้นจะพบว่า สตั วท์ ่มี ีการปฏสิ นธภิ ายในสามารถอาศยั อยไู่ ด้ในนำ้�หรอื บนบก เมอื่ เปรยี บเทยี บสตั วท์ มี่ กี ารปฏสิ นธภิ ายนอกกบั สตั วท์ มี่ กี ารปฏสิ นธภิ ายใน จ�ำ นวนไข่ และ การอย่รู อดของลูกแตกตา่ งกนั อย่างไร เพราะเหตุใด ในการปฏสิ นธภิ ายนอก สเปริ ม์ จะเคลอ่ื นทไี่ ปหาเซลลไ์ ข่ ซงึ่ ในระหวา่ งนน้ั อาจมปี จั จยั หลาย ประการที่ทำ�ให้สเปิร์มไม่มีโอกาสไปผสมกับเซลล์ไข่ท่ีเพศเมียปล่อยออกมาได้ เซลล์ไข่จึง ไมไ่ ดร้ บั การปฏสิ นธิ และแมว้ า่ เซลลไ์ ขไ่ ดร้ บั การปฏสิ นธแิ ลว้ เจรญิ เปน็ ตวั ออ่ นกอ็ าจจะเปน็ อาหารของสัตว์อ่ืน ๆ ได้ สัตว์เหล่าน้ีจึงต้องวางไข่จำ�นวนมาก ๆ เพ่ือให้มีโอกาสได้รับ การผสมและเพื่อการอยู่รอดของเผ่าพันธ์ุ ส่วนกลุ่มที่มีการปฏิสนธิภายในและออกลูก เปน็ ตวั มขี อ้ จ�ำ กดั ในการตงั้ ครรภ์ ลกู วยั ออ่ นเจรญิ อยใู่ นตวั แมจ่ งึ จ�ำ เปน็ ตอ้ งมลี กู จ�ำ นวนนอ้ ย และแมม่ กั จะเปน็ ผคู้ มุ้ ภยั ใหก้ บั ลกู วยั ออ่ นดว้ ย จงึ ท�ำ ใหล้ กู วยั ออ่ นสามารถมชี วี ติ อยรู่ อดได้ มากกว่าพวกที่ปฏิสนธิภายนอก ส่วนสัตว์ท่ีปฏิสนธิภายในและออกลูกเป็นไข่ เช่น เต่า จะมกี ารวางไขจ่ �ำ นวนมากในแตล่ ะครง้ั แตเ่ มอ่ื เปรยี บเทยี บกบั สตั วท์ ปี่ ฏสิ นธภิ ายนอกแลว้ จำ�นวนไขก่ ย็ งั มีนอ้ ยกว่า ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเก่ยี วกับการสืบพันธ์ขุ องสัตว์ ซ่งึ สามารถสรุปได้ว่า การสบื พนั ธข์ุ องสตั วม์ ที ง้ั การสบื พนั ธแ์ุ บบไมอ่ าศยั เพศและการสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศ การสบื พนั ธแ์ุ บบ อาศยั เพศอาจมกี ารปฏสิ นธภิ ายนอกหรอื การปฏสิ นธภิ ายใน สตั วบ์ างชนดิ มี 2 เพศในตวั เดยี วกนั แต่ การผสมพนั ธส์ุ ว่ นใหญจ่ ะผสมขา้ มตวั ทง้ั นส้ี ตั วต์ า่ ง ๆ มกี ารสบื พนั ธท์ุ แ่ี ตกตา่ งกนั โดยสตั วก์ ลมุ่ เดยี วกนั มกี ารสบื พนั ธใ์ุ นรปู แบบทค่ี ลา้ ยกนั และการสบื พนั ธข์ุ องสตั วช์ นดิ ตา่ ง ๆ มคี วามเหมาะสมกบั การด�ำ รง ชวี ติ ของสตั วช์ นดิ นน้ั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

166 บทท่ี 21 | ระบบสืบพันธุ์และการเจรญิ เตบิ โต ชีววิทยา เลม่ 5 ตรวจสอบความเขา้ ใจ จงสรุปและเปรียบเทียบการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ ของสัตวล์ งในแผนภาพ การสบื พนั ธ์ุแบบไม่อาศัยเพศ การสบื พนั ธแ์ุ บบอาศยั เพศ • ไม่มีการสรา้ งเซลล์สบื พันธ์ุ • มปี ระชากรเพิ่มข้นึ • มีการสร้างเซลลส์ บื พันธ์ุ • มีการถ่ายทอด • มีการปฏสิ นธิ • ไม่มกี ารปฏิสนธิ • มที ง้ั พอ่ และแม่ • มีแมเ่ พียงตัวเดียว ลกั ษณะทาง • เซลลส์ บื พันธุ์ได้จากการแบ่งเซลล์ • ตัวใหม่ได้จากการแบง่ เซลล์ พนั ธกุ รรม แบบไมโอซสิ แบบไมโทซิส • มพี นั ธุกรรมแตกต่างจากรุ่นพ่อแม่ • มีพันธกุ รรมเหมือนกบั แม่ • จำ�นวนประชากรเพ่มิ ชา้ • จำ�นวนประชากรเพม่ิ เร็ว แนวการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ - การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศและการสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ จากการสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การท�ำ กิจกรรม การท�ำ แบบฝึกหัด และการท�ำ แบบทดสอบ ด้านทกั ษะ - การจ�ำ แนกประเภทและการลงความเหน็ จากขอ้ มลู จากการสบื คน้ ขอ้ มลู การอภปิ ราย และ การทำ�กจิ กรรม - การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันส่ือ จากการสืบค้นข้อมูล การนำ�เสนอ และการทำ� กจิ กรรม ด้านจิตวทิ ยาศาสตร/์ เจตคติ - ความเชอ่ื มน่ั ตอ่ หลกั ฐาน จากการสงั เกตพฤตกิ รรมในการท�ำ กจิ กรรมและการอภปิ รายรว่ มกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เลม่ 5 บทท่ี 21 | ระบบสืบพนั ธ์แุ ละการเจริญเตบิ โต 167 21.2 การสบื พันธ์ุของมนษุ ย์ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. สืบค้นข้อมูล และอธิบายโครงสร้างและหน้าที่ของอวัยวะในระบบสืบพันธุ์เพศชายและ ระบบสืบพนั ธุ์เพศหญงิ 2. อธิบายกระบวนการสร้างสเปิรม์ กระบวนการสร้างเซลลไ์ ข่ และการปฏิสนธใิ นมนษุ ย์ 3. อธิบายความสัมพันธ์ของการตกไข่และการมีประจำ�เดือนกับการเปลี่ยนแปลงระดับ ฮอร์โมนในเพศหญงิ แนวการจัดการเรยี นรู้ ครูนำ�เข้าส่บู ทเรียนด้วยการทบทวนความร้เู ดิมของนักเรียนเก่ยี วกับการสืบพันธ์ขุ องมนุษย์ โดยใชต้ วั อยา่ งค�ำ ถามดงั น้ี การสบื พนั ธ์ขุ องมนษุ ย์เหมอื นกบั สัตว์มกี ระดูกสนั หลังชนิดอืน่ อย่างไร เหมอื นกนั คอื มกี ารสบื พนั ธเุ์ ปน็ แบบอาศยั เพศมกี ารสรา้ งเซลลส์ บื พนั ธเุ์ พศชายและเซลล์ สบื พนั ธุเ์ พศหญิง มีการปฏสิ นธภิ ายใน และออกลกู เปน็ ตวั อวัยวะที่ท�ำ หน้าทส่ี รา้ งสเปริ ม์ และเซลลไ์ ข่คืออะไร อวัยวะท่ีทำ�หนา้ ที่สร้างสเปิรม์ คืออณั ฑะ และอวัยวะท่ีทำ�หน้าที่สร้างเซลลไ์ ขค่ ือรงั ไข่ กระบวนการสรา้ งสเปริ ์มและกระบวนการสรา้ งเซลลไ์ ข่เหมอื นหรอื แตกต่างกนั อย่างไร คำ�ตอบของนักเรียนอาจมีได้หลากหลาย ซ่ึงนักเรียนใช้ความรู้พ้ืนฐานเชื่อมโยงกับเรื่อง การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม และระบบสืบพันธุ์ท่ี นักเรียนได้ศึกษามาแล้ว ครูอาจยังไม่เฉลยคำ�ตอบ ซึ่งนักเรียนจะได้ศึกษาในเรื่องการ สบื พันธุ์ของมนุษย์ แลว้ ให้นกั เรยี นตรวจสอบความเขา้ ใจอีกครง้ั ทา้ ยเร่อื ง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

168 บทที่ 21 | ระบบสืบพันธ์แุ ละการเจริญเติบโต ชีววทิ ยา เล่ม 5 21.2.1 ระบบสบื พนั ธุเ์ พศชาย ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบสืบพันธ์ุเพศชาย โดยใช้ รูป 21.8 ในหนังสือเรียน ซ่ึงนักเรียนควรสรุปได้ว่าอวัยวะสืบพันธ์ุของเพศชายประกอบด้วยอัณฑะ ท�ำ หนา้ ทส่ี รา้ งสเปริ ม์ และฮอรโ์ มนเพศชาย และมโี ครงสรา้ งอน่ื  ๆ ทท่ี �ำ หนา้ ทล่ี �ำ เลยี งสเปริ ม์ สรา้ งน�ำ้ เลย้ี ง อสจุ ิ และสารหลอ่ ลน่ื ทอ่ ปสั สาวะ และใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี สเปิร์มที่สรา้ งจากหลอดสรา้ งอสุจเิ คล่ือนออกนอกรา่ งกายโดยผ่านโครงสรา้ งใดบ้าง หลอดสรา้ งอสจุ ิ หลอดเกบ็ อสจุ ิ หลอดนำ�อสุจิ ท่อปัสสาวะ ออกนอกรา่ งกาย อัณฑะเจริญภายในช่องท้องและกอ่ นคลอดจะเคลื่อนมาอยู่ในถงุ อณั ฑะ ถ้าอณั ฑะไมเ่ คล่ือน มาอย่ใู นถงุ อัณฑะจะมผี ลอย่างไร โดยปกติอุณหภูมิในถุงอัณฑะจะตำ่�กว่าอุณหภูมิในช่องท้องประมาณ 2-3 องศาเซลเซียส ถ้าอัณฑะไม่เคลื่อนมาอยู่ในถุงอัณฑะ อุณหภูมิในช่องท้องจะสูงเกินไปจึงไม่เหมาะสมกับ การสร้างสเปิร์ม และผู้ที่มีอัณฑะเคล่ือนมาอยู่ในถุงอัณฑะเพียงข้างเดียวจะสร้างสเปิร์มได้ จำ�นวนน้อยกวา่ ปกติ ของเหลวทห่ี ลงั่ จากตอ่ มตา่ ง ๆ ในระบบสบื พนั ธเุ์ พศชายชว่ ยในการล�ำ เลยี งสเปริ ม์ เขา้ สรู่ ะบบ สบื พนั ธเ์ุ พศหญิงอย่างไร ของเหลวจากตอ่ มคาวเปอรช์ ว่ ยหลอ่ ลนื่ และลดความเปน็ กรดภายในทอ่ ปสั สาวะของเพศชาย ของเหลวจากต่อมสร้างน้ำ�เล้ียงอสุจิเป็นแหล่งพลังงานของสเปิร์ม และของเหลวจากต่อม ลูกหมากมีสมบัติเป็นเบสช่วยให้สเปิร์มสามารถเคล่ือนที่และอยู่รอดได้เมื่อเข้าสู่ช่องคลอด ทีม่ ีสภาพเปน็ กรด จากนน้ั ครอู าจอธบิ ายเพม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั โครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องระบบสบื พนั ธเ์ุ พศชาย รวมทง้ั เส้นทางลำ�เลียงสเปิร์มในระบบสืบพันธ์เุ พศชาย โดยอาจใช้แอนิเมชันหรือแบบจำ�ลองระบบสืบพันธ์ุ เพศชายประกอบ แลว้ ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู และอภปิ รายค�ำ ถามเพม่ิ เตมิ ดงั น้ี กอ่ นทสี่ เปริ ม์ จะออกนอกรา่ งกาย จะไปรวมกบั ของเหลวเปน็ น�ำ้ อสจุ ิ ของเหลวนส้ี รา้ งจาก ต่อมใดบ้าง ต่อมสรา้ งน้ำ�เลี้ยงอสุจิ ตอ่ มลกู หมาก และตอ่ มคาวเปอร์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 5 บทท่ี 21 | ระบบสืบพันธุแ์ ละการเจรญิ เตบิ โต 169 ถ้าต่อมลกู หมากโตผิดปกติจะเกดิ อะไรข้ึน ตอ่ มลกู หมากอาจจะไปเบียดท่อปสั สาวะ ส่งผลให้เกิดอาการปสั สาวะขัด ถ้าการท�ำ งานของตอ่ มคาวเปอร์ผดิ ปกติจะเกดิ อะไรข้ึน ท่อปัสสาวะของเพศชายจะมีความเปน็ กรด ท�ำ ใหไ้ มเ่ หมาะสมกับการอยู่รอดของสเปริ ์ม การท�ำ หมันในเพศชายโดยการตัดและผกู ทอ่ น�ำ อสจุ ิทงั้ สองขา้ งจะส่งผลอยา่ งไร สง่ ผลใหส้ เปริ ม์ ทส่ี รา้ งจากหลอดสรา้ งอสจุ ไิ มส่ ามารถเคลอื่ นทไ่ี ปยงั ทอ่ ปสั สาวะได้ น�ำ้ อสจุ ิ จะไมม่ ีสเปริ ม์ ท�ำ ให้เป็นหมนั ถ้าผู้ชายคนหน่ึงป่วยเป็นไข้มีอุณหภูมิของร่างกายสูงกว่าปกติหลายวันจะมีผลต่อ การสร้างสเปริ ์มหรือไม่ อยา่ งไร อุณหภูมิของร่างกายสูงกว่าปกติหลายวันไม่มีผลต่อการสร้างสเปิร์มเพราะอัณฑะอยู่ใน ถุงอัณฑะ ซ่ึงมีอุณหภูมิต่ำ�กว่าภายในร่างกาย และเมื่อระดับอุณหภูมิเปล่ียนแปลง ถงุ อณั ฑะจะมกี ารหดตวั หรอื คลายตวั เพอ่ื ใหอ้ ณั ฑะเขา้ ใกลล้ �ำ ตวั หรอื หา่ งจากล�ำ ตวั มากขนึ้ เป็นการชว่ ยรกั ษาอุณหภูมขิ องอัณฑะใหพ้ อเหมาะได้ ถา้ ผ้ชู ายมจี �ำ นวนสเปริ ม์ ในน�้ำ อสุจินอ้ ยกวา่ ปกตมิ ผี ลตอ่ การสบื พันธ์ุอย่างไร อาจส่งผลให้เกิดภาวะการมีบุตรยากในเพศชาย โดยค่ามาตรฐานในการตรวจภาวะ การมีบุตรยากในเพศชายคือผู้ชายปกติจะมีสเปิร์มมากกว่า 15 ล้านเซลล์ต่อมิลลิลิตร* ส่วนผู้ชายท่มี สี เปิรม์ น้อยกวา่ 15 ล้านเซลล์ตอ่ มลิ ลิลติ รจะมบี ุตรยาก * ทมี่ า: Cooper, T.G., Noonan, E., von Eckardstein, S., Auger, J., Baker, H. W., Behre, H.M., Haugen, T. B., Kruger, T., Wang, C., Mbizvo, M. T., Vogelsong, K. M., (2010). World Health Organization reference values for human semen characteristics. Human Reproduction Update, 16 (3), 231–245. ครใู หน้ กั เรยี นอภปิ รายรว่ มกนั เพอ่ื สรปุ เกย่ี วกบั โครงสรา้ งและหนา้ ทข่ี องระบบสบื พนั ธเ์ุ พศชาย นกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ อวยั วะสบื พนั ธข์ุ องเพศชายประกอบดว้ ย อณั ฑะท�ำ หนา้ ทส่ี รา้ งสเปริ ม์ และฮอรโ์ มน เพศชาย และมโี ครงสรา้ งอน่ื  ๆ ทท่ี �ำ หนา้ ทล่ี �ำ เลยี งสเปริ ม์ สรา้ งน�ำ้ เลย้ี งสเปริ ม์ ของเหลวหลอ่ ลน่ื ทอ่ ปสั สาวะ และลดความเปน็ กรดภายในทอ่ ปสั สาวะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

170 บทที่ 21 | ระบบสบื พันธแ์ุ ละการเจริญเติบโต ชีววทิ ยา เล่ม 5 กระบวนการสร้างสเปริ ม์ กอ่ นเขา้ สหู่ วั ขอ้ กระบวนการสรา้ งสเปริ ม์ ครคู วรทบทวนความรเู้ กย่ี วกบั ขน้ั ตอนในการแบง่ เซลล์ แบบไมโอซิสโดยใช้แผนภาพท่ีแสดงข้ันตอนและจำ�นวนโครโมโซม โดยครูอาจใช้คำ�ถามตรวจสอบ ความรกู้ อ่ นเรยี นของนกั เรยี นดงั น้ี เพราะเหตใุ ดในกระบวนการสร้างสเปริ ม์ จงึ ต้องมีการแบ่งเซลลแ์ บบไมโอซิส เซลล์ที่ได้จากการแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสจะมีโครโมโซมลดลงคร่ึงหน่ึงของเซลล์เริ่มต้น เมอื่ สเปิรม์ รวมกับเซลลไ์ ข่จะได้ไซโกตที่มโี ครโมโซมเทา่ กับเซลลร์ ่างกาย ครตู ง้ั ค�ำ ถามเพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั กระบวนการสรา้ งสเปริ ม์ โดยอาจใชค้ �ำ ถาม ดงั น้ี การสรา้ งสเปิรม์ มีกระบวนการอย่างไร เกิดขึ้นท่ใี ด ผูช้ ายเริ่มมกี ารสร้างสเปริ ์มเมื่อใด และสามารถสร้างไดต้ ลอดอายขุ ยั หรือไม่ สเปริ ์มมีรูปร่างอย่างไร สรา้ งได้จ�ำ นวนเทา่ ใด รูปร่างและจำ�นวนของสเปิร์มมีผลต่อการเคลื่อนท่ีในระบบสืบพันธ์ุเพศหญิงและการ ปฏิสนธอิ ย่างไร ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ข้อมลู และอภปิ รายเกย่ี วกบั โครงสรา้ งของสเปิร์มและกระบวนการสร้าง สเปริ ม์ จากรปู 21.9 และ 21.10 ในหนงั สอื เรยี น หรอื แอนเิ มชนั แสดงกระบวนการสรา้ งสเปริ ม์ จากนน้ั ตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี สเปอร์มาโทไซต์ระยะแรกและสเปอร์มาโทไซต์ระยะที่สองมีจำ�นวนโครโมโซมแตกต่างกัน หรอื ไม่ อย่างไร แตกต่างกัน โดยสเปอร์มาโทไซต์ระยะแรกเป็นดิพลอยด์มีจำ�นวนโครโมโซมเท่ากับเซลล์ รา่ งกาย สว่ นสเปอรม์ าโทไซตร์ ะยะทส่ี องเกดิ จากการแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ I เปน็ แฮพลอยด์ มจี ำ�นวนโครโมโซมเปน็ ครง่ึ หนึ่งของเซลล์รา่ งกาย ถ้ามสี เปอร์มาโทไซตร์ ะยะแรกจ�ำ นวน 400 เซลลจ์ ะสร้างสเปิรม์ ได้ก่ีเซลล์ สรา้ งสเปริ ์มได้ 1,600 เซลล์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธแุ์ ละการเจรญิ เตบิ โต 171 การแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสในกระบวนการสร้างสเปิร์มส่งผลให้เกิดความหลากหลายทาง พนั ธุกรรมในร่นุ ลูกอยา่ งไร การแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ ในกระบวนการสรา้ งสเปริ ม์ เกดิ ครอสซงิ โอเวอรใ์ นระยะโพรเฟส I และมกี ารแยกออกจากกนั ของฮอมอโลกสั โครโมโซมและมกี ารรวมกลมุ่ อยา่ งอสิ ระ ซงึ่ สง่ ผล ใหเ้ กดิ ความหลากหลายทางพันธกุ รรมในรุ่นลูก สเปิร์มมโี ครงสรา้ งท่ีเหมาะสมตอ่ การทำ�หน้าท่ีอย่างไร สเปิร์มมีส่วนหัวท่ีมีนิวเคลียสนำ�สารพันธุกรรม ปลายของส่วนหัวมีอะโครโซมซ่ึงมีเอนไซม์ สำ�หรับย่อยเย่ือหุ้มเซลล์ไข่ ลำ�ตัวมีไมโทคอนเดรียจำ�นวนมากสำ�หรับสร้างพลังงานที่ใช้ใน การเคลื่อนที่ และสว่ นหางคอื แฟลเจลลัมทีม่ ไี มโครทิวบูลช่วยในการเคลอื่ นท่ี ครใู หน้ กั เรยี นอภปิ รายรว่ มกนั เพอ่ื สรปุ วา่ กระบวนการสรา้ งสเปริ ม์ เกดิ ภายในหลอดสรา้ งอสจุ ิ ของอณั ฑะ เรม่ิ ตน้ จากสเปอรม์ าโทโกเนยี มแบง่ เซลลแ์ บบไมโทซสิ ไดส้ เปอรม์ าโทโกเนยี มจ�ำ นวนมาก แลว้ พฒั นาเปน็ สเปอรม์ าโทไซตร์ ะยะแรก โดยสเปอรม์ าโทไซตร์ ะยะแรกจะแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ I ไดเ้ ปน็ สเปอร์มาโทไซต์ระยะท่ีสองซ่ึงจะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิส II ได้สเปอร์มาทิดตามลำ�ดับ จากน้ัน เปลย่ี นสภาพเปน็ สเปริ ม์ 21.2.2 ระบบสืบพนั ธ์ุเพศหญงิ ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลเก่ียวกับโครงสร้างและหน้าท่ีของระบบสืบพันธ์ุเพศหญิงโดยใช้ รูป 21.11 ในหนังสือเรียน ซ่งึ นักเรียนควรสรุปได้ว่าอวัยวะสืบพันธ์ขุ องเพศหญิงประกอบด้วย รังไข่ ท่อนำ�ไข่ มดลูก และช่องคลอด โดยรังไข่ทำ�หน้าท่ีสร้างเซลล์ไข่และฮอร์โมนเพศหญิง ผนังมดลูกมี เอนโดมเี ทรยี มทเ่ี ปน็ บรเิ วณทม่ี กี ารฝงั ตวั ของเอม็ บรโิ อ ครอู าจใชว้ ดี ทิ ศั นห์ รอื แบบจ�ำ ลองระบบสบื พนั ธ์ุ เพศหญงิ ประกอบการอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ครตู ง้ั ค�ำ ถามเพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั กระบวนการสรา้ งเซลลไ์ ข่ โดยอาจใชค้ �ำ ถามดงั น้ี กระบวนการสรา้ งเซลลไ์ ข่เรมิ่ เกิดขึน้ เมือ่ ใด เกดิ ข้นึ ทีอ่ วยั วะใด ในชว่ งท่มี กี ารตกไข่ โอโอไซต์ระยะท่สี องอยูใ่ นระยะใดของการแบ่งเซลล์ การเปล่ียนแปลงของโอโอไซต์ระยะท่ีสองเม่ือมีการปฏิสนธิและไม่มีการปฏิสนธิ แตกต่างกนั อย่างไร ในแต่ละรอบประจำ�เดือน ฟอลลิเคลิ มกี ารเจริญอยา่ งไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

172 บทที่ 21 | ระบบสบื พันธ์ุและการเจรญิ เตบิ โต ชีววิทยา เล่ม 5 กระบวนการสร้างเซลลไ์ ข่ ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลและอภิปรายเก่ียวกับกระบวนการสร้างเซลล์ไข่จากรูป 21.12 ในหนงั สอื เรยี น หรอื แอนเิ มชนั แสดงกระบวนการสรา้ งเซลลไ์ ข่ จากนน้ั ตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มี แนวค�ำ ตอบดงั น้ี แตล่ ะเซลลข์ องโอโอไซตร์ ะยะแรกมขี อ้ มลู ทางพนั ธกุ รรมเหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั เพราะเหตใุ ด แต่ละเซลล์ของโอโอไซต์ระยะแรกมีข้อมูลทางพันธุกรรมเหมือนกัน เพราะเป็นเซลล์ที่เกิด จากการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสของโอโอโกเนียม จากนั้นจะแบ่งเซลล์แบบไมโอซิสและจะ หยุดอยทู่ รี่ ะยะโพรเฟส I โดยแต่ละเซลล์ยังคงเปน็ ดิพลอยด์ โดยปกตเิ พศหญงิ ในช่วงวยั เจริญพนั ธุจ์ ะมีการตกไข่ครง้ั ละ 1 เซลล์ต่อรอบประจำ�เดอื น ถ้า ผู้หญงิ คนหนงึ่ เร่ิมมปี ระจำ�เดอื นครง้ั แรกเมื่ออายุ 12 ปแี ละประจ�ำ เดือนหมดเมอ่ื อายุ 50 ปี ผหู้ ญิงคนน้ีจะมกี ารตกไขท่ ง้ั หมดประมาณกีเ่ ซลล์ มีการตกไขท่ ง้ั หมดประมาณ 456 เซลล์ สเปิร์มและเซลล์ไข่เหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร และจำ�นวนเซลล์ท่ีสร้างในแต่ละครั้งมี จำ�นวนแตกต่างกันอย่างไร ข้อเปรยี บเทยี บระหว่างสเปิร์มและเซลล์ไข่สรุปไดด้ ังน้ี สเปิร์ม เซลลไ์ ข่ 1. มีขนาดเล็ก 1.มีขนาดใหญ่ 2. รูปร่างมสี ว่ นหวั ล�ำ ตวั และหาง 2. รปู ร่างกลม 3. สร้างได้ตลอดเวลาและหล่ังออกมา 3. ใ นแต่ละรอบประจำ�เดือน สร้างได้ ครง้ั ละประมาณ 300-500 ลา้ นเซลล์ 1 เซลล์ 4. เคล่ือนท่ไี ด้ 4. เคล่ือนทเ่ี องไม่ได้ 5. สเปอร์มาโทไซต์ระยะแรก 1 เซลล์ 5. โอโอไซต์ระยะแรก 1 เซลล์ จะได้ จะไดส้ เปิร์ม 4 เซลล์ เซลลไ์ ข่ 1 เซลล์ 6. มีจำ�นวนโครโมโซม 1 ชดุ 6. มีจ�ำ นวนโครโมโซม 1 ชดุ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทท่ี 21 | ระบบสืบพนั ธุ์และการเจรญิ เตบิ โต 173 ครูให้นักเรียนอภิปรายร่วมกันเพ่อื สรุปเก่ยี วกับกระบวนการสร้างเซลล์ไข่และการเจริญของ ฟอลลเิ คลิ ในรงั ไข่ จากการสบื คน้ ขอ้ มลู และรว่ มกนั อภปิ รายนกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ กระบวนการสรา้ งเซลลไ์ ข่ เร่ิมจากโอโอโกเนียมแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสและไมโอซิส I และจะหยุดอยู่ท่ีระยะโพรเฟส I ได้เป็น โอโอไซตร์ ะยะแรก เมอ่ื เขา้ สวู่ ยั เจรญิ พนั ธจ์ุ งึ แบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ I ตอ่ และตามดว้ ยไมโอซสิ II แลว้ หยดุ ทร่ี ะยะเมทาเฟส II ไดเ้ ปน็ โอโอไซตร์ ะยะทส่ี อง ซง่ึ จะเกดิ การตกไขต่ อ่ ไป เมอ่ื ไดร้ บั การกระตนุ้ จากสเปริ ม์ โอโอไซตร์ ะยะทส่ี องจะแบง่ เซลลแ์ บบไมโอซสิ II ตอ่ จนเสรจ็ แลว้ พฒั นาเปน็ เซลลไ์ ข่ โดยฟอลลเิ คลิ จะ คอ่ ย ๆ เจรญิ จนมกี ารตกไขแ่ ลว้ จะกลายเปน็ คอรป์ สั ลเู ทยี ม ทง้ั นก้ี ระบวนการสรา้ งเซลลไ์ ขแ่ ละการเจรญิ ของฟอลลเิ คลิ ในรงั ไขเ่ กดิ ขน้ึ อยา่ งตอ่ เนอ่ื งเปน็ วงจร ตรวจสอบความเขา้ ใจ เขียนแผนภาพเพื่อแสดงกระบวนการสร้างสเปิร์มและกระบวนการสร้างเซลล์ไข่ จากน้ัน เปรยี บเทียบและสรปุ วา่ กระบวนการทง้ั สองมคี วามแตกต่างกันอยา่ งไร นกั เรยี นอาจเขยี นแผนภาพได้หลากหลาย ดงั ตวั อย่างแนวคำ�ตอบต่อไปนี้ Spermatogenesis Oogenesis Spermatogonium Oogonium Mitosis Mitosis Primary spermatocyte Primary oocyte Meiosis I Meiosis I & Meiosis II Secondary spermatocyte Meiosis II Polar body Secondary oocyte Meiosis II Spermatid Differentiation Polar body Egg cell Sperm Fertilization ในรปู ให้ 2n = 4 ทง้ั นใี้ นมนษุ ย์ 2n = 46 สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

174 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธ์ุและการเจริญเตบิ โต ชีววทิ ยา เล่ม 5 ผลการเปรียบเทียบและสรุปความแตกต่างของกระบวนการสร้างสเปิร์มและกระบวนการ สรา้ งเซลล์ไข่มีดงั น้ี - ในการสรา้ งสเปริ ม์ สเปอร์มาโทไซต์ระยะแรก 1 เซลล์ จะได้สเปิร์ม 4 เซลล์ แต่ในการสรา้ ง เซลล์ไข่มีการแบ่งไซโทพลาซึมไม่เท่ากัน โดยโอโอไซต์ระยะแรก 1 เซลล์จะได้เซลล์ไข่ 1 เซลล์ สว่ นโพลารบ์ อดีจะสลายไป - ขั้นตอนในการแบ่งเซลล์สร้างสเปิร์มเกิดอย่างต่อเนื่อง แต่ในการสร้างเซลล์ไข่จะหยุดเป็น ช่วง คอื โอโอไซตร์ ะยะแรกหยดุ อยูท่ ่โี พรเพส I และโอโอไซตร์ ะยะทส่ี องหยุดที่เมทาเฟส II และจะสรา้ งเซลล์ไขไ่ ด้เมือ่ สเปิรม์ เจาะโอโอไซตร์ ะยะที่สอง - ในการสรา้ งสเปริ ม์ จะเกดิ ขนึ้ ตง้ั แตช่ ว่ งวยั รนุ่ จนตลอดชวี ติ ไดส้ เปริ ม์ จ�ำ นวนมาก แตก่ ารสรา้ ง เซลล์ไข่มีการแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสสิ้นสุดต้ังแต่ก่อนเกิด และจะสร้างเซลล์ไข่ในระยะ โอโอไซต์ระยะท่สี องรอบประจำ�เดอื นละ 1 เซลล์ ตงั้ แตว่ ยั รนุ่ จนถงึ อายุประมาณ 50 ปี ฮอรโ์ มนกับระบบสืบพนั ธเ์ุ พศหญิง ครทู บทวนความรเู้ กย่ี วกบั การท�ำ งานของฮอรโ์ มนทม่ี ผี ลตอ่ ระบบสบื พนั ธเ์ุ พศหญงิ โดยอาจใช้ ค�ำ ถามเพอ่ื น�ำ การอภปิ รายดงั น้ี FSH และ LH หล่ังจากท่ีใด และควบคมุ การท�ำ งานของอวัยวะเพศอย่างไร ไฮโพทาลามัสมกี ารควบคุมการหล่งั FSH และ LH จากตอ่ มใต้สมองส่วนหน้าอย่างไร ฮอรโ์ มนเพศหญงิ มชี อื่ วา่ อะไร หลงั่ จากทใ่ี ด และควบคมุ การทำ�งานของอวยั วะในระบบ สืบพันธ์อุ ย่างไร จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษาเกย่ี วกบั ฮอรโ์ มนกบั ระบบสบื พนั ธเ์ุ พศหญงิ โดยใชร้ ปู 21.13 ใน หนงั สอื เรยี น และใชแ้ อนเิ มชนั แสดงการเปลย่ี นแปลงของฮอรโ์ มนกบั การตกไขป่ ระกอบการอธบิ ายเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจกระบวนการมากขน้ึ แลว้ รว่ มกนั อภปิ รายค�ำ ถามตอ่ ไปน้ี การเปล่ียนแปลงในรงั ไข่และมดลูกสมั พันธก์ ันอยา่ งไร ipst.me/10800 ฮอร์โมนสง่ ผลต่อการตกไข่และการมปี ระจ�ำ เดือนอยา่ งไร สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 5 บทที่ 21 | ระบบสืบพนั ธแุ์ ละการเจริญเติบโต 175 ครใู หค้ วามรเู้ กย่ี วกบั การท�ำ งานของ FSH LH อสี โทรเจน และโพรเจสเทอโรนทม่ี ผี ลตอ่ การ เจรญิ ของฟอลลเิ คลิ ในรงั ไขแ่ ละการเปลย่ี นแปลงของผนงั มดลกู ซง่ึ เกดิ ขน้ึ เปน็ วงจรทกุ รอบประจ�ำ เดอื น แลว้ ใหน้ กั เรยี นตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี จากรปู 21.13 ในชว่ งที่มีปรมิ าณอสี โทรเจนสูงทส่ี ดุ กระบวนการสรา้ งเซลลไ์ ขใ่ นรังไขอ่ ยูใ่ น ระยะใด และเอนโดมีเทรยี มมีลกั ษณะอยา่ งไร อยใู่ นระยะทเี่ ปน็ โอโอไซตร์ ะยะทส่ี องพรอ้ มทจ่ี ะตกไข่ และเอนโดมเี ทรยี มมลี กั ษณะหนากวา่ ช่วงหลงั การมปี ระจำ�เดือน แต่ไม่หนาท่สี ุด จากรูป 21.13 ในระยะหลังการตกไข่ รังไข่จะผลิตฮอร์โมนชนิดใดในปริมาณสูงท่ีสุด และ เอนโดมีเทรียมมลี กั ษณะอยา่ งไร ฮอร์โมนที่รังไข่ผลิตได้สูงสุดในระยะหลังการตกไข่คือโพรเจสเทอโรน และเอนโดมีเทรียมมี ลักษณะหนาขึน้ เพอ่ื เตรียมพรอ้ มรบั การฝงั ตัวของเอม็ บริโอ LH มีผลต่อการเปล่ยี นแปลงของรังไขอ่ ยา่ งไร LH กระตุ้นฟอลลิเคิลที่เจริญเต็มท่ีให้เกิดการตกไข่ และกระตุ้นคอร์ปัสลูเทียมให้หลั่ง โพรเจสเทอโรนและอีสโทรเจน จากนน้ั ครอู าจตง้ั ค�ำ ถามเพม่ิ เตมิ ใหน้ กั เรยี นวเิ คราะหเ์ กย่ี วกบั สง่ิ ทเ่ี กดิ ขน้ึ ในรอบประจ�ำ เดอื น การเจรญิ ของฟอลลเิ คลิ ในรงั ไข่ การเปลย่ี นแปลงของผนงั มดลกู และการควบคมุ โดยฮอรโ์ มนในวนั ทม่ี ี การตกไข่ วนั ทม่ี โี อกาสเกดิ การปฏสิ นธิ วนั ทไ่ี มม่ โี อกาสเกดิ การปฏสิ นธิ และวนั ทม่ี ปี ระจ�ำ เดอื น ครใู หน้ กั เรยี นอภปิ รายรว่ มกนั เพอ่ื สรปุ เกย่ี วกบั ฮอรโ์ มนกบั ระบบสบื พนั ธเ์ุ พศหญงิ ซง่ึ นกั เรยี น ควรสรปุ ไดว้ า่ การสรา้ งเซลลส์ บื พนั ธเ์ุ พศหญงิ ในรงั ไขเ่ กดิ ขน้ึ เปน็ วงจรทกุ รอบประจ�ำ เดอื น เกดิ ขน้ึ พรอ้ ม กบั การเปลย่ี นแปลงของผนงั มดลกู เพอ่ื พรอ้ มทจ่ี ะรบั การฝงั ตวั ของเอม็ บรโิ อ โดยควบคมุ ดว้ ยฮอรโ์ มน และระบบประสาท เร่ิมจาก FSH และ LH กระตุ้นให้มีการเจริญของฟอลลิเคิล อีสโทรเจนท่ีสร้าง จากฟอลลเิ คลิ สง่ ผลใหม้ กี ารหลง่ั LH ในระดบั สงู ซง่ึ ไปกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การตกไข่ พรอ้ มทจ่ี ะเกดิ การปฏสิ นธิ จากนน้ั คอรป์ สั ลเู ทยี มจะสรา้ งโพรเจสเทอโรนไปกระตนุ้ ใหเ้ อนโดมเี ทรยี มหนาขน้ึ หากไมม่ กี ารปฏสิ นธิ เอนโดมเี ทรยี มจะสลายและหลดุ ลอกเกดิ เปน็ ประจ�ำ เดอื น โดยครอู าจใหค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ วา่ จ�ำ นวนวนั รอบ ประจำ�เดือนของแต่ละคนจะแตกต่างกันไปอย่ใู นช่วง 20-40 วัน อาจไม่ใช่ 28 วัน ท้งั น้ใี นแต่ละรอบ ประจ�ำ เดอื นกอ็ าจเปลย่ี นแปลงไปขน้ึ กบั สภาพรา่ งกายในระยะเวลานน้ั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

176 บทที่ 21 | ระบบสืบพนั ธุ์และการเจริญเตบิ โต ชวี วิทยา เล่ม 5 ครอู าจใหค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ เกย่ี วกบั ฮอรโ์ มนในระหวา่ งการตง้ั ครรภว์ า่ รกเปน็ แหลง่ ส�ำ คญั ในการ หลง่ั hCG โพรเจสเทอโรน และอสี โทรเจน โดย hCG จะไปกระตนุ้ ใหค้ อรป์ สั ลเู ทยี มหลง่ั โพรเจสเทอโรน และอสี โทรเจนในชว่ งแรกของการตง้ั ครรภ์ ในระหวา่ งสปั ดาหท์ ่ี 7-17 ของการตง้ั ครรภค์ อรป์ สั ลเู ทยี ม จะสลายและรกจะท�ำ หนา้ ทส่ี รา้ งฮอรโ์ มนเปน็ หลกั จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นท�ำ กจิ กรรม 21.2 เพอ่ื สงั เกตลกั ษณะของเซลลใ์ นระยะตา่ ง ๆ จากอณั ฑะ และรงั ไขข่ องหนู พรอ้ มทง้ั สงั เกตโครงสรา้ งมดลกู และรงั ไขข่ องหมู กิจกรรม 21.2 โครงสร้างของอวยั วะในระบบสบื พันธุ์ของสัตว์ จุดประสงค์ 1. สงั เกตและระบชุ ่ือของเซลลใ์ นระยะต่าง ๆ ในกระบวนการสรา้ งเซลล์สืบพนั ธุ่์ 2. เปรียบเทยี บรูปรา่ งลักษณะของสเปิรม์ และเซลลไ์ ข่ 3. สงั เกตและระบโุ ครงสร้างในมดลูกและรังไขข่ องหมู เวลาทีใ่ ช้ (โดยประมาณ) 1 ชว่ั โมง วสั ดุและอุปกรณ์ ปริมาณต่อกลุ่ม รายการ 1 ชดุ 1 กล้อง 1. สไลดถ์ าวรตัดตามขวางของอัณฑะและรงั ไข่ของหนู* 1 อัน 2. กล้องจลุ ทรรศนแ์ บบใช้แสง 1 ชุด 3. มดลูกและรงั ไข่ของหมู 1 ถาด 4. เครอ่ื งมือผ่าตัด ตามจ�ำ นวนนักเรยี น 5. ถาดผ่าตดั 6. ถงุ มือยาง * สไลด์ถาวรตัดตามขวางของอัณฑะและรังไข่ของหนูมีจำ�หน่ายท่ีสถาบันส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วิทยา เล่ม 5 บทที่ 21 | ระบบสบื พนั ธุ์และการเจรญิ เติบโต 177 การเตรียมลว่ งหน้า ครูเตรียมซื้อมดลูกของหมูที่ตลาดหรือร้านค้าไว้ล่วงหน้า ซึ่งท่ัวไปนิยมเรียกว่าไส้ตัน ทั้งนี้ การจดั กิจกรรมควรคำ�นึงว่าไม่ขดั ตอ่ ศาสนาของนักเรียน แนวการจัดกจิ กรรม ในตอนท่ี 1 ครใู หน้ กั เรยี นสงั เกตรปู รา่ งและระบชุ อื่ ของเซลลใ์ นระยะตา่ ง ๆ จากสไลดถ์ าวร ตดั ตามขวางของอณั ฑะและรงั ไขข่ องหนภู ายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ โดยใหเ้ ปรยี บเทยี บกบั รปู 21.10 และ 21.12 ในหนังสือเรียน ครูอาจให้นักเรียนทำ�กิจกรรมในระหว่างที่ศึกษาเรื่องกระบวน การสร้างสเปิรม์ และเซลลไ์ ข่ ในตอนท่ี 2 ครูให้นักเรียนสังเกตลักษณะลักษณะภายนอกเพื่อระบุรังไข่ ท่อนำ�ไข่ มดลูก และช่องคลอด จากนัน้ ให้สงั เกตจ�ำ นวนและลกั ษณะของฟอลลิเคลิ ท่บี รเิ วณรงั ไข่ของหมู ซ่ึงจะ พบวา่ ฟอลลเิ คลิ มลี กั ษณะกลมเตง่ มขี นาดตา่ ง ๆ โดยฟอลลเิ คลิ ทเี่ จรญิ จะมขี นาดประมาณ 5-10 มิลลิเมตร โดยหมูจะมีการตกไข่คร้ังละประมาณ 10-20 เซลล์ ในช่วงที่มีการเป็นสัด (estrus) เม่ือมีการตกไข่และปฏิสนธิแต่ละเอ็มบริโอจะฝังตัวตามผนังของมดลูกท่ีมีลักษณะเป็นท่อยาว ซึ่งหมูจะมีลูกแต่ละครอกประมาณ 8-12 ตัว แตกต่างจากมนุษย์ท่ีมีการตกไข่เพียง 1 เซลล์ ในแตล่ ะครง้ั และมลี กู เพียง 1 คน ตวั อย่างผลการทำ�กิจกรรม ตอนท่ี 1 สเปอรม์ าโทโกเนียม สเปอรม์ าโทไซต์ คอรป์ ัสลูเทียม สเปอร์มาทดิ สเปิร์ม โอโอไซต์ระยะแรก ฟอลลิเคิลทีก่ �ำ ลังเจรญิ อัณฑะของหนตู ดั ตามขวาง รังไข่ของหนตู ัดตามขวาง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

178 บทที่ 21 | ระบบสบื พันธ์ุและการเจรญิ เติบโต ชีววทิ ยา เล่ม 5 Oocyte ก. (100X) ข. (100X) ค. (100X) คอร์ปัสลูเทยี ม ง. (100X) จ. (50X) ฉ. (20X) ฟอลลิเคิลทีก่ �ำ ลังเจรญิ ในระยะตา่ ง ๆ ตามล�ำ ดบั และคอรป์ สั ลูเทยี ม ในรังไขห่ นู ที่มารปู : เอื้อเฟ้ือโดย ศ.ดร.ไพศาล สิทธกิ รกุล คณะวทิ ยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวิโรฒ ตอนที่ 2 มดลกู ช่องคลอด รังไข่ ทอ่ น�ำ ไข่ มดลกู และรงั ไข่ของหมู ฟอลลเิ คลิ รงั ไขข่ องหมู ที่มารูป: เออ้ื เฟ้อื โดย ศ.น.สพ.ดร.เผด็จ ธรรมรกั ษ์ คณะสตั วแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลัย สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 21 | ระบบสบื พนั ธุ์และการเจริญเติบโต 179 เฉลยคำ�ถามทา้ ยกจิ กรรม บรเิ วณทีพ่ บสเปอรม์ าโทโกเนยี มและสเปิรม์ ในอัณฑะต่างกนั หรอื ไม่ อย่างไร สเปอรม์ าโทโกเนยี มจะพบบรเิ วณผนงั ดา้ นในของหลอดสรา้ งอสจุ ิ สว่ นสเปริ ม์ จะพบบรเิ วณ ตรงกลางของหลอดสร้างอสุจิ โอโอไซต์ระยะใดทพี่ ร้อมจะตกไข่ และจะสังเกตได้อยา่ งไรวา่ เปน็ เซลลใ์ ดในสไลด์ โอโอไซตร์ ะยะทส่ี องพรอ้ มจะตกไข่ โดยสงั เกตไดจ้ ากฟอลลเิ คลิ มขี นาดใหญท่ สี่ ดุ และมชี อ่ ง ขนาดใหญบ่ รรจุของเหลวล้อมรอบโอโอไซต์ระยะทส่ี อง รปู รา่ งลกั ษณะของสเปิร์มและเซลล์ไขเ่ หมือนหรือแตกตา่ งกันอย่างไร แตกต่างกนั สเปิร์มมสี ว่ นหัว ล�ำ ตัวและหาง และมขี นาดเลก็ ส่วนเซลลไ์ ข่มีรปู ร่างกลมและ มขี นาดใหญ่กวา่ รปู รา่ งของมดลกู หมมู ลี ักษณะอย่างไร มดลกู ของหมูมลี ักษณะเป็นทอ่ ขดไปมาคล้ายล�ำ ไส้ ซงึ่ ท่ัวไปนยิ มเรยี กว่าไส้ตัน ครูอาจอธิบายเพิ่มเติมให้นักเรียนทราบว่ามดลูกของสัตว์เล้ียงลูกด้วยนำ้�นมมีรูปร่าง แตกต่างกัน มดลูกของมนุษย์มีรูปร่างคล้ายลูกแพร (pear shaped uterus) ส่วนมดลูกหมูมี รปู ร่างคลา้ ยเขา (horn shaped uterus) 21.2.3 การปฏสิ นธแิ ละการต้ังครรภ์ ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การปฏสิ นธิ โดยใชร้ ปู 21.14 ในหนงั สอื เรยี นประกอบ หรอื แอนเิ มชนั เกย่ี วกบั การปฏสิ นธิ ซง่ึ นกั เรยี นควรสรปุ ไดว้ า่ เมอ่ื มกี ารตกไข่ โอโอไซตร์ ะยะทส่ี องจากรงั ไขจ่ ะ เคลอ่ื นไปตามทอ่ น�ำ ไข่ เมอ่ื มกี ารรวมกนั ของนวิ เคลยี สของสเปริ ม์ และเซลลไ์ ขจ่ ะเกดิ การปฏสิ นธไิ ดเ้ ปน็ ไซโกต แลว้ เจรญิ เปน็ เอม็ บรโิ อไปฝงั ตวั ทเ่ี อนโดมเี ทรยี ม จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ เกย่ี ว กับเทคโนโลยีกับการปฏิสนธิและการต้งั ครรภ์ จากหนังสือเรียนและแหล่งเรียนร้อู ่นื  ๆ ดังในกิจกรรม เสนอแนะ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

180 บทที่ 21 | ระบบสบื พนั ธ์แุ ละการเจรญิ เตบิ โต ชีววิทยา เล่ม 5 กิจกรรมเสนอแนะ : เทคโนโลยีกบั การปฏิสนธแิ ละการตั้งครรภ์ จดุ ประสงค์ สืบค้นข้อมลู และอภปิ รายเก่ยี วกับเทคโนโลยีกับการปฏิสนธิและการต้งั ครรภ์ เวลาที่ใช้ (โดยประมาณ) 30 นาที แนวการจัดการเรียนรู้ ครใู หน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ ท�ำ กจิ กรรมและเลอื กเทคโนโลยเี กยี่ วกบั การปฏสิ นธแิ ละการตงั้ ครรภ์ ทแี่ ตกตา่ งกัน ครอู าจแนะนำ�ให้นกั เรียนสบื ค้นและรวบรวมข้อมลู เทคโนโลยีที่เกีย่ วขอ้ งกบั การ ปฏสิ นธแิ ละการตงั้ ครรภ์ เชน่ ICSI  IUI  GIFT การแชแ่ ขง็ เกบ็ รกั ษาเซลลไ์ ข่ (oocyte freezing, oocyte cryopreservation) อัลตราซาวด์ และแอพพลเิ คชนั ตดิ ตามการตกไข่ ตัวอยา่ งผลการทำ�กจิ กรรม ICSI (intracytoplasmic sperm injection) หรอื อกิ ซี่ เปน็ อีกหนึง่ เทคโนโลยที ช่ี ่วยใหผ้ ูม้ ี บุตรยากสามารถมีบตุ รได้ หลกั การ เปน็ การปฏสิ นธภิ ายนอกรา่ งกายทเ่ี กดิ ขน้ึ ในหอ้ งปฏบิ ตั กิ าร โดยน�ำ โอโอไซตร์ ะยะ ทสี่ องมาผสมกบั สเปริ ม์ 1 เซลล์ เปน็ วธิ ที ใ่ี ชเ้ มอื่ เพศชายมสี เปริ ม์ จ�ำ นวนนอ้ ย ไมส่ มบรู ณท์ ง้ั ทาง ดา้ นรปู รา่ งหรอื ความสามารถในการเคล่ือนท่ขี องสเปิร์ม เพศชายทท่ี �ำ หมันแลว้ หรือกรณที ่ีชนั้ หอ่ หมุ้ เซลลไ์ ขห่ นาและสเปริ ม์ ไมส่ ามารถเจาะเขา้ ได้ ขนั้ ตอนการท�ำ มดี งั น้ี กระตนุ้ โอโอไซตร์ ะยะ ที่สองในเพศหญิงให้พร้อมตกไข่มากกว่า 1 เซลล์ แล้วดูดออกมา ในเพศชายเก็บน้ำ�อสุจิ จากน้ันใช้เข็มแก้วขนาดเล็กเลือกดูดสเปิร์มที่แข็งแรง ใช้เข็มเจาะและฉีดสเปิร์มเข้าไปใน โอโอไซตร์ ะยะทสี่ องโดยท�ำ ภายใตก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ น�ำ ไปเลยี้ งในน�ำ้ ยาทเ่ี หมาะสมจนไดเ้ อม็ บรโิ อ ที่เป็นบลาสโทซสิ ต์ แล้วนำ�กลับไปใสใ่ นโพรงมดลกู เพ่อื ให้เจรญิ เป็นทารกตอ่ ไป ข้อดี ชว่ ยใหผ้ ู้ทีม่ ภี าวะมีบตุ รยากสามารถมีบตุ รได้ โอกาสการปฏสิ นธคิ ่อนขา้ งสูง และลด ปัญหาการเกดิ ปฏสิ นธิจากสเปริ ม์ หลายตัวทีเ่ กดิ ใน IVF ข้อจ�ำ กดั ค่าใช้จ่ายสูง อาจเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นกบั แมแ่ ละลูก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 5 บทที่ 21 | ระบบสืบพนั ธุ์และการเจริญเตบิ โต 181 ชวี จริยธรรมที่ควรคำ�นึงถงึ ในระหวา่ งการทำ�มีการใสเ่ อ็มบรโิ อมากกวา่ หนึ่ง เพอ่ื ป้องกัน โอกาสทจ่ี ะไมต่ ดิ หรอื แทง้ สง่ ผลใหม้ โี อกาสเกดิ การตง้ั ครรภล์ กู แฝดมากขนึ้ กวา่ ในธรรมชาติ หรอื บางคร้ังอาจมีการท�ำ ลายเอ็มบรโิ อทไี่ ม่ได้ใช้ การเลือกสเปิร์มที่แขง็ แรงไม่เปน็ ไปตามธรรมชาติ หรืออาจเลือกเพศของบุตรได้ซ่ึงการเลือกเพศของเอ็มบริโอในประเทศไทยผิดกฎหมาย นอกจากนีม้ ีคา่ ใชจ้ ่ายสูงท�ำ ให้การเข้าถงึ เทคโนโลยมี ีความไมเ่ ทา่ เทยี ม แนวการวัดและประเมินผล ด้านความรู้ - โครงสรา้ งและหน้าท่ขี องอวยั วะในระบบสืบพันธ์เุ พศชายและระบบสืบพนั ธเุ์ พศหญิง จาก การสืบคน้ ข้อมลู การอภปิ ราย การท�ำ แบบฝึกหัด และการทำ�แบบทดสอบ - กระบวนการสรา้ งสเปริ ม์ กระบวนการสรา้ งเซลลไ์ ข่ การปฏสิ นธแิ ละการตงั้ ครรภใ์ นมนษุ ย์ จากการสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การทำ�กิจกรรม การทำ�แบบฝึกหัด และการทำ�แบบ ทดสอบ - ความสมั พนั ธข์ องการเปลยี่ นแปลงระดบั ฮอรโ์ มนในเพศหญงิ กบั การตกไขแ่ ละการมปี ระจ�ำ เดือน จากการสืบค้นข้อมูล การอภิปราย การทำ�กิจกรรม การทำ�แบบฝึกหัด และการทำ� แบบทดสอบ ดา้ นทักษะ - การสงั เกต การลงความเหน็ จากขอ้ มลู การจ�ำ แนกประเภท และการตคี วามหมายขอ้ มลู และ ลงข้อสรปุ จากการสบื คน้ ขอ้ มลู การอภิปราย และการทำ�กิจกรรม - การสื่อสารสารสนเทศและการรู้เท่าทันส่ือ การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา ความรว่ มมอื การท�ำ งานเปน็ ทมี และภาวะผนู้ �ำ จากการสบื คน้ ขอ้ มลู การน�ำ เสนอ และการ ท�ำ กจิ กรรม ดา้ นจติ วิทยาศาสตร/์ เจตคติ - ความอยากรอู้ ยากเหน็ การใชว้ จิ ารณญาณ ความเชอ่ื มน่ั ตอ่ หลกั ฐาน ความมงุ่ มน่ั อดทน จาก การสงั เกตพฤตกิ รรมในการท�ำ กจิ กรรมและการอภปิ รายรว่ มกนั สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

182 บทที่ 21 | ระบบสบื พนั ธแ์ุ ละการเจริญเตบิ โต ชีววิทยา เลม่ 5 21.3 การเจริญเตบิ โตของสตั ว์ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ อธบิ ายการเจรญิ เตบิ โตระยะเอม็ บรโิ อและระยะหลงั เอม็ บรโิ อของกบ ไก่ และมนษุ ย์ แนวการจดั การเรยี นรู้ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยอาจใหน้ กั เรยี นศกึ ษาแผนภาพหรอื วดี ทิ ศั นแ์ สดงวฏั จกั รชวี ติ ของสตั ว์ ในระยะต่าง ๆ เช่น ผีเส้ือ และกบ จากน้ันร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับการเจริญเติบโตของสัตว์ว่ามี กระบวนการอย่างไร แล้วร่วมกันอภิปรายถึงการเจริญเติบโตของมนุษย์ต้ังแต่เป็นไซโกตจนเป็น ตวั เตม็ วยั เกย่ี วกบั จ�ำ นวนเซลล์ รปู รา่ งเซลล์ และขนาดของรา่ งกาย โดยใชต้ วั อยา่ งค�ำ ถามดงั น้ี เซลล์เริ่มต้นทีจ่ ะเจริญเป็นร่างกายของนกั เรียนคอื อะไร มีกเ่ี ซลล์ มีขนาดเทา่ ไร เซลล์เร่ิมต้นคอื ไซโกต มี 1 เซลล์ มขี นาดเลก็ มาก ประมาณ 0.2 มิลลเิ มตร เม่ือเปรยี บเทยี บไซโกตกบั ร่างกายของนกั เรยี น แตกต่างกันอยา่ งไร ไซโกตมี 1 เซลล์ แตร่ า่ งกายของนกั เรยี นประกอบดว้ ยเซลลจ์ �ำ นวนมาก ไซโกตยงั ไมม่ กี าร พัฒนาของอวยั วะ แตร่ า่ งกายมีอวัยวะและระบบอวยั วะสมบรู ณ์ ครตู ง้ั ค�ำ ถามวา่ ไซโกตมกี ระบวนการในการเจรญิ เตบิ โตจนเปน็ ตวั เตม็ วยั อยา่ งไร และสตั ว์ แต่ละชนิดมีการเจริญเติบโตเหมือนกันหรือแตกต่างกันอย่างไร ซ่ึงคำ�ตอบของนักเรียนอาจมีได้ หลากหลายขน้ึ กบั ประสบการณ์ จากนน้ั ครใู หค้ วามรเู้ พอ่ื น�ำ เขา้ สกู่ ารเจรญิ เตบิ โตของสตั วว์ า่ การเจรญิ ของสตั วเ์ กย่ี วขอ้ งกบั การแบง่ เซลล์ การเปลย่ี นสภาพ การเจรญิ ของเซลลเ์ ปน็ เนอ้ื เยอ่ื และอวยั วะ และ การเตบิ โต จนเกดิ เปน็ รปู รา่ งและโครงสรา้ งทแ่ี นน่ อนของสตั วแ์ ตล่ ะสปชี สี ์ โดยสตั วแ์ ตล่ ะกลมุ่ มขี น้ั ตอน และแบบแผนการเจรญิ เตบิ โตทค่ี ลา้ ยกนั ดงั ทจ่ี ะไดศ้ กึ ษาจากการเจรญิ เตบิ โตของกบ ไก่ และมนษุ ย์ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เล่ม 5 บทที่ 21 | ระบบสืบพันธแ์ุ ละการเจริญเตบิ โต 183 21.3.1 การเจรญิ เตบิ โตของกบ ครใู หน้ กั เรยี นศกึ ษารปู 21.15 ในหนงั สอื เรยี น และสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตของกบ ครอู าจใชค้ �ำ ถามเพอ่ื ใหน้ กั เรยี นอภปิ รายเกย่ี วกบั กระบวนการเจรญิ เตบิ โตของกบ ดงั น้ี กบมีการปฏสิ นธแิ บบใด มีการวางไขใ่ นน�้ำ หรอื บนบก กบมกี ารปฏิสนธิภายนอก โดยมกี ารวางไข่และผสมพันธ์ใุ นน้�ำ เซลลไ์ ขข่ องกบมลี ักษณะอย่างไร เซลล์ไข่มีรูปทรงกลม มีวุ้นห่อหุ้ม มีไข่แดงปานกลาง โดยไข่แดงจะอยู่ที่บริเวณด้านล่าง ของเซลล์ไขม่ ากกว่าดา้ นบน การเจรญิ เตบิ โตของกบในระยะเอ็มบริโอประกอบดว้ ยกระบวนการอะไรบ้าง คลีเวจ แกสทรูเลชัน และออรแ์ กโนเจเนซิส ตัวอ่อนของกบมีรูปร่างเหมือนหรือแตกต่างจากตัวเต็มวัย กบมีกระบวนการในการ เจริญเติบโตอย่างไร ตวั ออ่ นของกบมรี ปู รา่ งแตกตา่ งจากตวั เตม็ วยั โดยตวั ออ่ นมหี างและเรมิ่ มกี ารพฒั นาของ รยางค์ สว่ นตวั เต็มวัยมี 4 ขา โดยมีเมทามอรโ์ ฟซิสและเตบิ โตจนเปน็ ตัวเตม็ วัย จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื ตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี ในออรแ์ กโนเจเนซิสมีการสร้างนวิ รลั ทวิ บ์โดยอาศยั การเคลือ่ นที่ของไมโครฟิลาเมนท์ ถา้ ให้ สารทีย่ ับยั้งการท�ำ งานของไมโครฟลิ าเมนทจ์ ะสง่ ผลอยา่ งไร ท�ำ ใหไ้ มม่ ีการจดั เรยี งของกลุม่ เซลล์เปน็ นวิ รัลทวิ บ์ สง่ ผลใหร้ ะบบประสาทไมเ่ จรญิ ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ เกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตของกบ เรม่ิ จากไซโกตเกดิ คลเี วจจนไดเ้ อม็ บรโิ อทม่ี จี �ำ นวนเซลลเ์ พม่ิ ขน้ึ และมกี ารเรยี งตวั ของเซลลเ์ ปน็ ชน้ั รอบบลาสโทซลี เรยี ก เอม็ บรโิ อระยะนว้ี า่ บลาสทลู า จากนน้ั เกดิ แกสทรเู ลชนั โดยมกี ารเคลอ่ื นทแ่ี ละจดั เรยี งตวั ของกลมุ่ เซลล์ ของเอม็ บรโิ อเปน็ ชน้ั ไดแ้ ก่ เอก็ โทเดริ ม์ เมโซเดริ ม์ และเอนโดเดริ ม์ ตอ่ มาเกดิ ออรแ์ กโนเจเนซสิ ซง่ึ มกี าร พัฒนาของกลุ่มเซลล์ช้ันต่าง ๆ เป็นอวัยวะอย่างเฉพาะเจาะจง จนเกิดเป็นลูกอ๊อด จากน้ันเกิด เมทามอร์โฟซิสและเติบโตจนเป็นตัวเต็มวัย ซ่ึงครูอาจอธิบายเพ่ิมเติมโดยใช้รูปถ่าย แบบจำ�ลอง หรอื วดี ทิ ศั นแ์ สดงการเจรญิ เตบิ โตของกบ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

184 บทท่ี 21 | ระบบสืบพนั ธ์แุ ละการเจริญเติบโต ชวี วทิ ยา เลม่ 5 21.3.2 การเจรญิ เตบิ โตของไก่ ครูนำ�เข้าสู่บทเรียนโดยให้นักเรียนสังเกตโครงสร้างของไข่ไก่ เปรียบเทียบโครงสร้างกับ รปู 21.16 ในหนงั สอื เรยี น และอภปิ รายเกย่ี วกบั หนา้ ทข่ี องโครงสรา้ งตา่ ง ๆ โดยอาจใชค้ �ำ ถามตอ่ ไปน้ี ไกม่ ีการปฏสิ นธิแบบใด มกี ารวางไข่ในน�ำ้ หรือบนบก ไกม่ กี ารปฏิสนธิภายใน ผสมพันธบ์ุ นบก โดยออกลูกเป็นไข่และวางไข่บนบก เซลล์ไขข่ องไกม่ ีลกั ษณะอยา่ งไร เซลล์ไขข่ องไกม่ ีขนาดใหญ่ มลี กั ษณะค่อนข้างกลม มีไขแ่ ดงปรมิ าณมาก ไข่แดงมหี นา้ ทอ่ี ะไร เป็นอาหารสะสมส�ำ หรับเอม็ บริโอ บรเิ วณใดของไขไ่ ก่ทมี่ กี ารเจริญเป็นเอม็ บริโอ บรเิ วณทเี่ ปน็ วงสขี าวขนาดเลก็ ใกลผ้ วิ ดา้ นบนของไขแ่ ดง (หรอื ทเ่ี รยี กวา่ germinal disc) การสาธติ นค้ี รคู วรใชไ้ ขไ่ กเ่ ทา่ นน้ั เพราะสามารถมองเหน็ สายของไขข่ าวไดช้ ดั เจน กอ่ นตอกไข่ ลงในจานเพาะเชอ้ื อาจใสน่ �ำ้ ลงในจานเพาะเชอ้ื กอ่ นเลก็ นอ้ ย เพอ่ื ใหส้ ามารถพลกิ ไขไ่ ดส้ ะดวก โดยปกติ ต�ำ แหนง่ ของบรเิ วณทจ่ี ะเจรญิ เปน็ เอม็ บรโิ อจะอยดู่ า้ นบน บางครง้ั อาจมองไมเ่ หน็ ควรใชช้ อ้ นตกั พลกิ ขน้ึ ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ ใหน้ กั เรยี นทราบวา่ สว่ นเซลลไ์ ขค่ อื สง่ิ ทอ่ี ยภู่ ายในเยอ่ื หมุ้ เซลลไ์ ขร่ วมทง้ั เยอ่ื หมุ้ เซลลไ์ ข่ สว่ นไขข่ าวนน้ั ไมใ่ ชโ่ ครงสรา้ งของเซลลไ์ ข่ ไขข่ าวชว่ ยรองรบั แรงกระแทกตอ่ เซลลไ์ ขแ่ ละเปน็ อาหารให้ เอม็ บรโิ อ จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตของไก่ โดยอาจใชร้ ปู 21.17 และ 21.18 ประกอบ และตอบค�ำ ถามในหนงั สอื เรยี น ซง่ึ มแี นวค�ำ ตอบดงั น้ี กระบวนการเจริญเติบโตในระยะเอ็มบริโอของไก่เหมือนหรือแตกต่างจากเอ็มบริโอของกบ อย่างไร การเจริญเติบโตในระยะเอ็มบริโอของไก่มีกระบวนการเหมือนกบ คือ คลีเวจ แกสทรูเลชัน และออร์แกโนเจเนซิส แต่รายละเอียดในแต่ละกระบวนการจะแตกต่างกัน เนื่องจากเซลล์ ไขไ่ กม่ ปี รมิ าณไขแ่ ดงมากกวา่ เซลลไ์ ขก่ บ และเอม็ บรโิ อไกอ่ ยใู่ นสภาพแวดลอ้ มทแี่ ตกตา่ งจาก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชีววิทยา เล่ม 5 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธุ์และการเจริญเตบิ โต 185 เอ็มบริโอกบ โดยระยะเวลาในการเจริญเติบโตของเอ็มบริโอไก่คือประมาณ 21 วัน ส่วน เอ็มบริโอกบใช้เวลาประมาณ 3.5 วัน จึงเป็นลูกอ๊อด และต้องมีเมทามอร์โฟซิสจึงจะเป็น ตัวเต็มวยั ได้ การเจรญิ เติบโตของสตั ว์ท่มี ีเมทามอรโ์ ฟซสิ แตกตา่ งจากสตั วท์ ่ีไม่มเี มทามอรโ์ ฟซิสอย่างไร การเจริญเติบโตของสัตว์ท่ีมีเมทามอร์โฟซิสจะมีการเปล่ียนแปลงของโครงสร้าง รูปร่าง รวมถึงการดำ�รงชีวิตท่ีเด่นชัดแตกต่างกันในแต่ละช่วงของการเจริญเติบโต ส่วนสัตว์ที่ไม่มี เมทามอร์โฟซสิ จะไม่มกี ารเปลย่ี นแปลงที่เดน่ ชัดเหมือนสตั ว์ทมี่ เี มทามอรโ์ ฟซิส ครใู หน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู และสรปุ เกย่ี วกบั หนา้ ทข่ี องโครงสรา้ งทอ่ี ยนู่ อกตวั เอม็ บรโิ อของไก่ ในการเปน็ แหลง่ สะสมอาหาร การแลกเปลย่ี นแกส๊ การก�ำ จดั ของเสยี และการปอ้ งกนั ภยั ซง่ึ เปน็ สง่ิ จ�ำ เปน็ ตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของเอม็ บรโิ อของไก่ อาจสรปุ ไดด้ งั น้ี สะสมอาหาร ได้จาก ไขแ่ ดง ส่งิ จำ�เปน็ ต่อการ แลกเปล่ียนแกส๊ แพร่ผ่าน แอลแลนทอยส์ คอเรียน และเปลือกไข่ เจริญเติบโตของ เอม็ บรโิ อของไก่ ก�ำ จัดของเสยี โดย เก็บสะสมกรดยูริกในแอลแลนทอยส์ การป้องกนั ภัย โดย ใชถ้ งุ น้ำ�คร�ำ่ เพ่อื ป้องกันการ กระทบกระเทอื น สร้างเปลือกไข่ เพือ่ ปอ้ งกนั การสญู เสียน�้ำ ป้องกนั ภัยจากภายนอก เอม็ บริโอของไก่มโี ครงสร้างอะไรที่ท�ำ ให้สามารถอยู่รอดบนบกได้ เอ็มบริโอของไก่ซ่ึงเป็นสัตว์บกอาจมีการสูญเสียน้ำ�และเป็นอันตรายจากแรงกระแทก จึงมี โครงสรา้ งเปลอื กไขป่ อ้ งกนั อนั ตรายและการสญู เสยี น�ำ้ ถงุ น�ำ้ คร�่ำ ปอ้ งกนั การกระทบกระเทอื น และปอ้ งกนั ไม่ให้เอ็มบรโิ อแหง้ คอเรียนช่วยแลกเปลี่ยนแก๊ส ถุงไขแ่ ดงเพ่ือให้มอี าหารสะสม เพียงพอ และแอลแลนทอยสเ์ ก็บสะสมของเสียในรูปกรดยูริกและแลกเปลย่ี นแกส๊ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

186 บทท่ี 21 | ระบบสบื พนั ธแุ์ ละการเจริญเติบโต ชีววิทยา เล่ม 5 จากนน้ั ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายและสรปุ เกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตของไก่ เอม็ บรโิ อมกี าร เจรญิ เตบิ โตโดยเกดิ คลเี วจ แกสทรเู ลชนั และออรแ์ กโนเจเนซสิ เมอ่ื เอม็ บรโิ อเจรญิ เตบิ โตเตม็ ทจ่ี ะฟกั ออกจากไข่ แลว้ เจรญิ เตบิ โตเปน็ ตวั เตม็ วยั ตอ่ ไป โดยไมม่ เี มทามอรโ์ ฟซสิ ซง่ึ ครอู าจอธบิ ายเพม่ิ เตมิ โดย ใชร้ ปู ถา่ ย แบบจ�ำ ลอง หรอื วดี ทิ ศั นแ์ สดงการเจรญิ เตบิ โตของไก่ ครอู าจให้นกั เรียนท�ำ กิจกรรมเพ่มิ เติมเกย่ี วกบั การเจริญเตบิ โตของสตั วช์ นดิ ตา่ ง ๆ โดยนำ�ไข่ ของสตั วส์ ะเทนิ น�ำ้ สะเทนิ บก เชน่ กบ เขยี ด คางคก ทว่ี างไขต่ ามแหลง่ น�ำ้ ตา่ ง ๆ มาศกึ ษาการเจรญิ เตบิ โต โดยใช้แว่นขยายหรือกล้องสเตอริโอ และถ่ายภาพหรือวาดภาพท่สี ังเกตได้ นอกจากน้อี าจให้นักเรียน สบื คน้ และน�ำ เสนอขอ้ มลู เกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตของสตั วท์ ส่ี นใจหรอื สตั วเ์ ศรษฐกจิ ในทอ้ งถน่ิ เชน่ แมลง กงุ้ ปลา ไก่ และววั โดยอาจเชญิ วทิ ยากรในทอ้ งถน่ิ มาบรรยายเกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตของสตั วด์ งั กลา่ ว 21.3.3 การเจริญเติบโตของมนุษย์ ครนู �ำ เขา้ สบู่ ทเรยี นโดยทบทวนความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นเกย่ี วกบั การเกดิ ไซโกตและการเคลอ่ื นท่ี มาฝงั ตวั ทผ่ี นงั มดลกู ของเอม็ บรโิ อ แลว้ ใหน้ กั เรยี นอภปิ รายรว่ มกนั โดยใชค้ �ำ ถามเพม่ิ เตมิ ดงั น้ี มนุษย์มกี ารปฏิสนธแิ บบใด ออกลูกเป็นตัวหรือเปน็ ไข่ มนุษย์มีการปฏสิ นธภิ ายใน โดยออกลกู เป็นตวั เซลล์ไข่ของมนุษยม์ ลี ักษณะอย่างไร เซลลไ์ ข่มีลักษณะกลม ขนาดเลก็ และมไี ข่แดงปริมาณน้อย กระบวนการเจรญิ เตบิ โตในระยะเอม็ บรโิ อของมนษุ ยเ์ หมอื นหรอื แตกตา่ งจากกบและไกอ่ ยา่ งไร เอม็ บรโิ อของมนษุ ยม์ กี ระบวนการเจรญิ เตบิ โตเหมอื นกบและไก่ คอื คลเี วจ แกสทรเู ลชนั และออรแ์ กโนเจเนซสิ แตแ่ ตกตา่ งกนั ในรายละเอยี ดของแตล่ ะกระบวนการ เซลลไ์ ขข่ อง มนุษย์มีไข่แดงสะสมน้อย โดยเอ็มบริโอจะฝังตัวที่ผนังมดลูกและมีการแลกเปลี่ยนสาร ระหวา่ งแมก่ บั ลูกผ่านทางรก จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นสบื คน้ ขอ้ มลู เกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตในระยะเอม็ บรโิ อและฟตี สั ของมนษุ ย์ โดยศกึ ษาเกย่ี วกบั กระบวนการคลเี วจ แกสทรเู ลชนั และออรแ์ กโนเจเนซสิ รวมทง้ั การพฒั นาอวยั วะของ ลกู ในครรภใ์ นชว่ ง 3 เดอื นแรก ชว่ ง 6 เดอื นแรก และชว่ ง 3 เดอื นสดุ ทา้ ย โดยอาจใชร้ ปู 21.19 และ 21.20 ในหนงั สอื เรยี นประกอบการศกึ ษา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชวี วทิ ยา เลม่ 5 บทที่ 21 | ระบบสืบพันธุแ์ ละการเจริญเตบิ โต 187 ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั อภปิ รายเพอ่ื สรปุ เกย่ี วกบั การเจรญิ เตบิ โตของมนษุ ย์ โดยไซโกตจะเกดิ คลเี วจเพอ่ื เพม่ิ จ�ำ นวนเซลล์ จากนน้ั เจรญิ เปน็ บลาสโทซสิ ต์ แลว้ เคลอ่ื นทม่ี าฝงั ตวั ทเ่ี อนโดมเี ทรยี ม ตอ่ มา มกี ารจดั เรยี งตวั ของกลมุ่ เซลลข์ องเอม็ บรโิ อเปน็ เอก็ โทเดริ ม์ เมโซเดริ ม์ และเอนโดเดริ ม์ ซง่ึ จะเจรญิ เปน็ อวยั วะตา่ ง ๆ ตอ่ ไป จากนน้ั เกดิ ออรแ์ กโนเจเนซสิ โดยเรม่ิ มกี ารเจรญิ ของนวิ รลั ทวิ บแ์ ละอวยั วะตา่ ง ๆ ตอ่ ไปจนเปน็ ฟตี สั ในสปั ดาหท์ ่ี 8 ซง่ึ ในชว่ งแรกนจ้ี ะเปน็ การเจรญิ เตบิ โตเพอ่ื สรา้ งอวยั วะและรปู รา่ ง มกี าร เพม่ิ ขนาดของรา่ งกายนอ้ ย แตเ่ มอ่ื เปน็ ฟตี สั มอี วยั วะครบแลว้ จะมกี ารเพม่ิ ขนาดของรา่ งกายมากขน้ึ โดย ในช่วง 3 เดอื นสดุ ท้ายจะมกี ารเตบิ โตอยา่ งรวดเร็ว หลังจากคลอดเปน็ ทารกจะมกี ารเจรญิ เตบิ โตเปน็ ตวั เตม็ วยั ตอ่ ไป ซง่ึ ครสู ามารถอธบิ ายเพม่ิ เตมิ โดยใชร้ ปู ถา่ ย แบบจ�ำ ลอง หรอื วดี ทิ ศั นแ์ สดงการเจรญิ เตบิ โต ของมนษุ ย์ ความรูเ้ พิม่ เตมิ ส�ำ หรับครู เอ็มบริโอของกบและไก่ในระยะท่ีเป็นบลาสทูลามีการจัดเรียงตัวของกลุ่มเซลล์เป็นชั้น อยรู่ อบนอกสว่ นตรงกลางภายในมชี อ่ งบลาสโทซลี สว่ นเอม็ บรโิ อของสตั วเ์ ลยี้ งลกู ดว้ ยน�้ำ นม มีความแตกตา่ งไป โดยหลังจากทเ่ี อ็มบรโิ อมกี ารแบ่งเซลลจ์ �ำ นวนมาก จะมกี ารจดั เรยี งตวั ของกลมุ่ เซลลเ์ ปน็ ชน้ั ภายในมชี อ่ งบลาสโทซลี และมกี ารเปลย่ี นสภาพของเซลลเ์ ปน็ inner cell mass ทีจ่ ะเจริญเป็นฟีตสั และเป็น trophoblast ท่ีจะเจรญิ เปน็ รก เรียกเอม็ บรโิ อนี้ ว่าบลาสโทซสิ ต์ blastocoel trophoblast inner cell mass บลาสทลู า บลาสโทซสิ ต์ อายุของลูกในครรภ์นับจากวันที่มีการปฏิสนธิ (ประมาณ 38 สัปดาห์) ส่วนอายุครรภ์ของ แม่จะนับจากวันแรกของการมีประจำ�เดือนครั้งสุดท้าย (ประมาณ 40 สัปดาห์) น่ันคือ ประมาณ 2 สัปดาห์ก่อนการปฏสิ นธิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

188 บทท่ี 21 | ระบบสบื พันธแ์ุ ละการเจรญิ เติบโต ชีววิทยา เล่ม 5 ตรวจสอบความเขา้ ใจ จงเขยี นข้ันตอนการเจริญเตบิ โตของเอม็ บริโอมนษุ ยต์ ้ังแต่เป็นไซโกตจนถงึ ก�ำ หนดคลอด ค�ำ ตอบของนกั เรยี นอาจมไี ดห้ ลากหลาย ทงั้ นคี้ รอู าจแนะน�ำ ใหน้ กั เรยี นน�ำ เสนอเปน็ ตาราง หรอื อนิ โฟกราฟกิ ในรูปแบบตา่ ง ๆ รายละเอยี ดลำ�ดับขัน้ ตอนการเจรญิ เตบิ โตดังนี้ อายุ ข้นั ตอนการเจรญิ เติบโต 1 สปั ดาห์ เอ็มบริโอแบง่ เซลล์เพิม่ จ�ำ นวนเซลล์ 2 สัปดาห์ บลาสโทซสิ ต์ฝังตัวท่ผี นงั มดลูก กลุ่มเซลล์ของเอม็ บรโิ อจัดเรียงเป็น 3 ชนั้ 3 สัปดาห์ เอม็ บริโอเริ่มมีระบบประสาทและหัวใจ 4 สัปดาห์ เอ็มบริโอมตี ุม่ สรา้ งแขนขา ระบบหมนุ เวยี นเลือดท�ำ งาน 5 สปั ดาห์ เอ็มบรโิ อมศี รี ษะมีขนาดใหญ่ข้นึ เรม่ิ สรา้ งอวยั วะรับความรู้สกึ 6 สัปดาห์ เอ็มบริโอมนี วิ้ มือนวิ้ เทา้ 7 สปั ดาห์ เอม็ บรโิ อมีเปลอื กตา นิว้ จมูก 8 สัปดาห์ เอม็ บริโอมีอวัยวะครบเรียกว่าฟีตัส 3 เดอื น ฟีตัสมใี บหนา้ นวิ้ มือ และน้วิ เทา้ เจริญ มอี วัยวะสืบพนั ธ์เุ จรญิ 6 เดอื น ฟีตสั มีขนาดโตขึ้นเรื่อย ๆ และมกี ารเคลือ่ นไหวมากขน้ึ มกี ระดูก ผม และขน 9 เดอื น ฟตี สั มขี นาดโตมากขน้ึ มกี ารพฒั นาของอวยั วะตา่ ง ๆ และมรี ะบบประสาทเจรญิ ครูอธิบายเพ่ิมเติมว่ามนุษย์มีการพัฒนาโครงสร้างท่ีอยู่นอกตัวเอ็มบริโอ น่ันคือ ถุงนำ้�ครำ่� คอเรยี น ถงุ ไขแ่ ดง และแอลแลนทอยส์ เชน่ เดยี วกบั ไก่ จากนน้ั ใหน้ กั เรยี นอภปิ รายเกย่ี วกบั โครงสรา้ งและ หน้าท่ขี องรกและสายสะดือ รวมท้ังทิศทางในการแลกเปล่ยี นสารระหว่างแม่และลูก ครูอาจอธิบาย เพ่ิมเติมว่ารกเจริญมาจากส่วนนอกสุดของเน้ือเย่ือของเอ็มบริโอและเอนโดมีเทรียมของแม่ โดยมี หลอดเลอื ดทเ่ี ชอ่ื มระหวา่ งแมแ่ ละลกู ผา่ นทางสายสะดอื สว่ นของถงุ ไขแ่ ดงและแอลแลนทอยสไ์ มท่ �ำ หนา้ ท่ี เหมอื นในเอม็ บรโิ อของไก่ แตไ่ ปรวมเปน็ สว่ นของสายสะดอื สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี