ใบงานวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย ม. 1

งานนำเสนอเรื่อง: "วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้"— ใบสำเนางานนำเสนอ:

1 วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

2 วัฒนธรรมไทย ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรม
วัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมของประเทศ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ความคล้ายคลึง และความแตกต่าง ของวัฒนธรรม ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ วัฒนธรรมกับปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์อันดี

3 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวัฒนธรรม

4 ความหมายของวัฒนธรรม วัฒนธรรม หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อนำไปใช้ในชีวิตประจำวัน เป็นภูมิปัญญาที่ผู้คนในแต่ละสังคมสร้างสรรค์ขึ้น วัฒนธรรมจึงเป็นภูมิปัญญาทางสังคมอย่างหนึ่ง

5 วัฒนธรรมไทย

6 วัฒนธรรมของภาคเหนือ

7 บ้าน การแต่งกาย ประดับด้วยกาแล ใช้ดินขอในการมุงหลังคา ผู้ชาย นุ่งกางเกงที่เรียกว่า “เตี่ยว” สวมเสื้อม่อฮ่อม ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่นยาวเกือบถึงตาตุ่ม ใส่เสื้อคอกลมแขนยาว

8 อาหาร ศิลปะการแสดง แกงฮังเล น้ำพริกหนุ่ม ไส้อั่ว ข้าวซอย ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเงี้ยว ตีกลองสะบัดชัย

9 วัฒนธรรมของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

10 บ้าน การแต่งกาย ใต้ถุนสูง ทำหน้าต่างเป็นช่องแคบๆ ผู้ชายจะใส่เสื้อคอกลม ใช้ผ้าขาวม้าคาดเอว ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่น ใส่เสื้อคอกลมแขนยาว

11 อาหาร ศิลปะการแสดง ปลาร้า ส้มตำ ลาบก้อย เซิ้ง หมอลำ การแสดงโปงลาง

12 วัฒนธรรมของภาคกลาง

13 บ้าน การแต่งกาย มีใต้ถุนสูง หลังคาหน้าจั่ว หน้าต่างกว้าง ผู้ชายใส่เสื้อคอกลม มีผ้าขาวม้าพาดบ่า ผู้หญิงนุ่งโจงกระเบน สวมเสื้อคอกลม

14 อาหาร ศิลปะการแสดง ต้มยำ แกงส้ม น้ำพริกปลาทู แกงกะทิ รำกลองยาว รำโทน ละครชาตรี หนังใหญ่

15 วัฒนธรรมของภาคใต้

16 บ้าน การแต่งกาย บ้านจะยกพื้นสูง เสาจะวางอยู่บนตอ หลังคาทรงสูงลาดเอียง ผู้ชายนุ่งผ้าโสร่ง ใส่เสื้อคอตั้ง สวมกางเกงขายาว ผู้หญิงนุ่งผ้าซิ่นหรือผ้าปาเต๊ะ ใส่เสื้อคอกลม

17 อาหาร ศิลปะการแสดง แกงเหลือง แกงไตปลา ข้าวยำ น้ำบูดู โนราห์ หนังตะลุง ลิเกฮูลู เต้นรองเง็ง

18 ที่มาของวัฒนธรรมไทย สภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ พระพุทธศาสนา
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู ภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ การรับเอาวัฒนธรรมอื่นมาปรับใช้

19 ลักษณะของวัฒนธรรมไทย
เกษตรกรรม คนไทยมีวิถีชีวิตที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม ยึดถือพิธีกรรม คนไทยมีความเชื่อเรื่องประเพณีและพิธีกรรมต่างๆ ยึดถือการกุศล คนไทยนิยมทำบุญในเทศกาลต่างๆ เพื่อความเป็น สิริมงคล

20 ยึดถือระบบอาวุโส คนที่มีอายุน้อยกว่าจะให้ความเคารพผู้ที่มี อายุสูงกว่า
การผสมผสาน มีการรับเอาลัทธิและความเชื่อต่างๆ เข้ามา นิยมความสนุกสนาน กิจกรรมส่วนใหญ่มีการสอดแทรกความสนุกสนานเข้าไปด้วย

21 ความคล้ายคลึงและความแตกต่าง ของวัฒนธรรมในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

22 วัฒนธรรมด้านที่อยู่อาศัย
ความคล้ายคลึง ใช้ไม้สร้างบ้าน ยกพื้นสูงจากพื้นดิน มีช่องลมระบายอากาศ ความแตกต่าง รูปแบบสถาปัตยกรรม

23 วัฒนธรรมด้านการนับถือศาสนา
พระพุทธศาสนา ไทย ลาว กัมพูชา เมียนมาร์ ศาสนาอิสลาม อินโดนีเซีย มาเลเซีย บรูไน เน้นลัทธิธรรม-เนียมจีนเป็นหลัก เวียดนาม สิงคโปร์ ศาสนาคริสต์ ฟิลิปปินส์ ติมอร์ - เลสเต

24 วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย
ความคล้ายคลึง สวมเสื้อกับกางเกง สวมเสื้อกับกระโปรง ความแตกต่าง สวมชุดประจำชาติ

25 วัฒนธรรมด้านอาหาร ความแตกต่าง ความคล้ายคลึง รสชาติอาหาร
ข้าวเป็นอาหารหลัก ใช้วัตถุดิบในท้องถิ่น ความแตกต่าง รสชาติอาหาร การประกอบอาหาร

26 ในการสร้างความสัมพันธ์อันดี
วัฒนธรรมกับปัจจัย ในการสร้างความสัมพันธ์อันดี

27 ด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี
วัฒนธรรมที่ช่วยสร้างความสัมพันธ์อันดี ด้านศาสนา ทุกศาสนาสอนให้คนทำความดี ละเว้นความชั่ว ส่งเสริมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านภาษาระหว่างกัน ด้านภาษา ด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี เผยแพร่ขนบธรรมเนียม ประเพณีต่างๆ ปัจจัยในการสร้างความสัมพันธ์อันดี เปิดโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนนักเรียนนักศึกษาระหว่างกัน ด้านการศึกษา เป็นวัฒนธรรมด้านกฎหมาย ที่ช่วยให้สังคมเกิดความสงบสุข ด้านเนติธรรม

28 การปลุกกระแส ชาตินิยม
วัฒนธรรมที่อาจนำไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน ด้านภาษา ไม่ควรนำภาษา เพื่อนบ้านมาล้อเลียน การปลุกกระแส ชาตินิยม ไม่ควรกล่าวอ้างถึงเรื่องในอดีต ปัจจัยที่อาจนำไปสู่ ความเข้าใจผิดต่อกัน ด้านศาสนา ไม่ควรพาดพิงศาสนาอื่น ไม่ควรดูหมิ่นการแสดงออกของประเทศเพื่อนบ้าน ด้านความเชื่อและ ทัศนคติเชิงลบ ไม่ควรวิพากษ์วิจารณ์ขนบธรรมเนียมประเพณี ด้านขนบธรรมเนียม ประเพณี