เฉลยใบงานที่ 1 ยีนและโครโมโซม

เฉลยใบงานที่ 1 ยีนและโครโมโซม

1. จงใส่เครื่องหมายถูก (√) หน้าข้อความที่ถูกต้อง ใส่เครื่องหมายผิด (×) หน้าข้อความที่ไม่

ถูกต้อง และขีดเส้นใต้เฉพาะคำ�หรือส่วนของข้อความที่ไม่ถูกต้อง และแก้ไขโดยตัดออกหรือ

เติมคำ�หรือข้อความที่ถูกต้องลงในช่องว่าง

........ 1.1 เมื่อนำ�สารที่สกัดจากแบคทีเรีย

Streptococcus pneumoniae

สายพันธุ์ก่อโรคที่

ทำ�ให้ตายด้วยความร้อนมาเติมเอนไซม์ DNase และ RNase นำ�สารที่ได้ไปใส่ใน

อาหารที่เลี้ยงแบคทีเรียสายพันธุ์ไม่ก่อโรค แบคทีเรียจะไม่สามารถก่อโรคได้

........ 1.2 โปรตีนฮิสโทนในโครโมโซมประกอบด้วยกรดแอมิโนซึ่งส่วนใหญ่เป็นประจุลบทำ�ให้

สามารถเกาะจับกับสาย DNA ได้ดี

แก้ไขเป็น

บวก

........ 1.3 จำ�นวนยีน ขนาดเซลล์ และขนาดของสิ่งมีชีวิตไม่จำ�เป็นต้องสัมพันธ์กับขนาดของ

จีโนมของสิ่งมีชีวิตนั้น

........ 1.4 DNA เป็นสายพอลินิวคลีโอไทด์ที่มีปลาย 2 ด้าน ด้านหนึ่งเรียกว่าปลาย 5′ และ

อีกด้านหนึ่งเรียกว่าปลาย 3′ โดยที่ปลายด้าน 3′ นี้จะมีหมู่ฟอสเฟตเชื่อมอยู่กับ

น้ำ�ตาลดีออกซีไรโบสที่คาร์บอนตำ�แหน่งที่ 3

แก้ไขเป็น

หมู่ไฮดรอกซิล

........ 1.5 ปริมาณเบสในโมเลกุล DNA สายคู่สายหนึ่ง จะมีอัตราส่วนของ A + G ต่อ T + C

มีค่าเท่ากับ 1 เสมอ

........ 1.6 สิ่งมีชีวิตแต่ละสปีชีส์จะมีจำ�นวนนิวคลีโอไทด์และการจัดเรียงลำ�ดับของ

นิวคลีโอไทด์ในโมเลกุล DNA แตกต่างกัน

........ 1.7 สิ่งมีชีวิตสามารถถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมจากรุ่นพ่อแม่ไปยังรุ่นลูกได้สาเหตุ

หนึ่งมาจากการที่สารพันธุกรรมมีสมบัติในการเพิ่มจำ�นวนตัวเองได้โดยมีลักษณะ

เหมือนเดิม

........ 1.8 ในการจำ�ลองดีเอ็นเอ โดยเริ่มต้นจาก DNA 1 โมเลกุล เมื่อผ่านการจำ�ลองไป 3 รอบ

จะได้ DNA ใหม่ 7 โมเลกุล และเป็น DNA ตั้งต้น 1 โมเลกุล

แก้ไขเป็น

DNA ใหม่ 8 โมเลกุล

เฉลยแบบฝึกหัดท้ายบทที่

4

×

×

×

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

บทที่ 4 | โครโมโซมและสารพันธุกรรม

ชีววิทยา เล่ม 2

38

สาระสำคัญ/ความคิดรวมยอด

ภายในเซลล์ของปลายรากหอมจะมีโครงสร้างที่มีลักษณะเป็นท่อน ๆ คือ โครโมโซม ซึ่งจะเห็นชัดเจนอยู่ในเซลล์บางเซลล์เท่านั้น แต่บางเซลล์เห็นเฉพาะนิวเคลียสที่ติดสี

ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้

ด้านความรู้

- บรรยายลักษณะของโครโมโซมภายในเซลล์ของปลายรากหอม

ด้านทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

- การสังเกต โดยสังเกตลักษณะของโครโมโซมผ่านกล้องจุลทรรศน์

การวัดผลและประเมินผล

 วิธีการ

          1. การบันทึกผลการทำกิจกรรม การตอบคำถามท้ายกิจกรรมเกี่ยวกับลักษณะของโครโมโซมในใบงานที่ 1

          2. การสังเกต จากภาพวาดหรือภาพถ่ายที่สังเกตจริงภายใต้กล้องจุลทรรศน์ และบรรยายรายละเอียดลักษณะโครโมโซมที่เห็นตามความเป็นจริงโดยไม่เพิ่มความคิดเห็นส่วนตัว

          3. ความมุ่งมั่นอดทน จากการสังเกตพฤติกรรมระหว่างการทำกิจกรรม โดยมุ่งมั่นและไม่ย่อท้อในการตรวจหาและระบุตำแหน่งของโครโมโซมโดยใช้กล้องจุลทรรศน์

เครื่องมือ

          1. ใบกิจกรรมที่ 1 โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมคืออะไร
          2. ใบงานที่ 1 โครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมคืออะไร

ใบงานกิจกรรมที่  1

เรื่อง ลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส

ใช้ประกอบแผนการสอนที่  1    รายวิชาวิทยาศาสตร์    ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3

-------------------------------------------------

ตัวชี้วัด  อธิบายลักษณะโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส

คำชี้แจง    1.  ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม  กลุ่มละ  6  คน 

2.     โดยให้ตัวแทนของแต่ละกลุ่มรับคุณใบงานพนักงาน  เรื่องลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในห้างหุ้นส่วนจำกัดนิวเคลียส

3.       ให้นักเรียนเป็นจับฉลากเลือกคุณหัวห้อที่ต้องการศึกษาเป็น  จากเนชั่นั้นสืบค้นประเทศไทยข้อมูลเกี่ยวกับองค์ความสามารถรู้เรื่องและออกมาอภิปรายหน้า: ภาพประกอบชั้นเรียน  พร้อมกับตั้งคำถาม  เรื่องคุณละ  3   ข้อ

q  หัวข้อที่  1     ศึกษาเรื่อง     โครโมโซม ( Chromosome )และลักษณะของโครโมโซม

q  หัวข้อที่  2     ศึกษาเรื่อง     จำนวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต

q  หัวข้อที่     ศึกษาเรื่อง     การกำหนดเพศในมนุษย์

q  หัวข้อที่  4     ศึกษาเรื่อง     การกำหนดเพศหญิงเพศชาย

q  หัวข้อที่  5     ศึกษาเรื่อง     ยีน

q  หัวข้อที่  6     ศึกษาเรื่อง     คู่ของยีน

กลุ่มที่…………ชั้น  ม.  3/………กลุ่มที่………….

ผู้ร่วมงาน  1)………...................................................2)…………................................…………..3)………….................................................………4)……….......................................…………….

              5)……………......................................…….6)……………................................………..7)………………...........................................………8)……….......................................…………….

·       หัวข้อที่ศึกษา……………………………………………………………………………………….....................................................................................................…………………………………………

.......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

                                                                                                                              ลงชื่อ…………………………….ตัวแทนกลุ่มที่…….

เฉลยใบงานกิจกรรมที่  1

เรื่อง  ลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส

ใช้ประกอบแผนการสอนที่  1     รายวิชาวิทยาศาสตร์      ชั้นมัธยมศึกษาปีที่  3

-------------------------------------------------

ตัวชี้วัด  สังเกตและอธิบายลักษณะของโครโมโซมที่มีหน่วยพันธุกรรมหรือยีนในนิวเคลียส

 Q   หัวข้อที่  1 ศึกษาเป็นเรื่องโครโมโซม(โครโมโซม) และลักษณะของโครโมโซม           

โครโมโซม ( Chromosome )

          คือ  เป็นที่อยู่ของหน่วยทางพันธุกรรมซึ่งทำหน้าที่ควบคุมการถ่ายทอดข้อมูลที่เกี่ยวกับลักษณะทางพันธุกรรมต่าง  ๆ  ของสิ่งมีชีวิต  เช่น  ลักษณะของเส้นผม  ลักษณะของดวงตา  เพศ  สีผิว  การศึกษาโครโมโซมจะต้องอาศัยการดูจากกล้องจุลทรรศน์ ที่มีกำลังขยายสูง  จึงจะสามารถมองเห็นรายละเอียดของโครโมโซมได้

ลักษณะของโครโมโซม

ในภาวะปกติเมื่อมองผ่านกล้องจุลทรรศน์จะเห็นโครโมโซมมีลักษณะเป็นเส้นใยเล็ก  ๆ  ประกอบด้วยโปรตีน  คล้ายเส้นด้ายบาง ๆ ยาว  ๆ  เรียกว่า  โครมาทิน ( Chromatin)  ขดอยู่ในนิวเคลียส  เมื่อเซลล์เริ่มแบ่งตัว  เส้นโครมาทินจะหดสั้นเข้ามีลักษณะเป็นแท่ง  จึงเรียกว่าโครโมโซม  แต่ละโครโมโซมประกอบด้วยแขน  ข้าง  เรียกว่า  โครมาทิด  (Chromatid)  จะสังเกตพบว่า  โครโมโซม  ประกอบด้วยโครมาทิน  คู่  ซึ่งตรงกลางติดกันเรียกว่า  เซนโตรเมียร์  (Centromere)  ซึ่งมีลักษณะดังรูป

****************************

q  หัวข้อที่  2     ศึกษาเรื่อง     จำนวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต

จำนวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต

จำนวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดจะมีจำนวนคงที่และเท่ากันเสมอ  แต่สิ่งมีชีวิตต่างชนิดก็จะมีจำนวนโครโมโซมต่าง  ๆ  กัน  ด้วยเหตุนี้  นักวิทยาศาสตร์จึงใช้จำนวนโครโมโซมของสิ่งมีชีวิต  มาจำแนกความแตกต่างระหว่างสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิด  ดังตาราง

สิ่งมีชีวิต

จำนวนโครโมโซมในแต่ละเซลล์

สิ่งมีชีวิต

จำนวนโครโมโซมในแต่ละเซลล์
แมลงหวี่

8

วัว

60

กบ

26

แกะ

54

แมว

38

ถั่วลันเตา

14

หมู

40

หัวหอม

16

คน

46

ข้าวโพด

20

ลิงชิมแพนซี

48

ข้าวเจ้า

24

สุนัข

78

ถั่วลิสง

40

 Q   หัวข้อที่  3 ศึกษาเป็นเรื่องหัวเรื่อง: การกำหนดเพศในห้างหุ้นส่วนจำกัดมนุษย์         

การกำหนดเพศในมนุษย์

การกำหนดเพศของสิ่งมีชีวิตโดยทั่วไปจะพิจารณาลักษณะของโครโมโซม  สำหรับมนุษย์โครโมโซมของมนุษย์  มี  46  แท่ง  หรือ  23  คู่  แบ่งเป็น

1.      โครโมโซมร่างกายเนื้อกล้าม  เซลล์ผิวหนัง     มี  44   แท่ง  หรือ  22   คู่

2.      โครโมโซมเพศ  (Sex  chromotosome)  โดยโครโมโซมเพศจะเป็นการจับคู่กันของโครโมโซม  ตัว  มีลักษณะต่างกันคือ  โครโมโซม  ในเพศหญิงมีโครโมโซม  XX   ที่มีค่ากำหนดเพศหญิง  และโครโมโซม  เป็นตัวกำหนดเพศชาย  เรียกว่า  XY   โครโมโซมที่จัดเรียงตามแบบแผนที่กำหนด  เรียกว่า  คาริโอไทน์  เป็นเซลล์ที่พบในอวัยวะสืบพันธุ์ มีโครโมโซมเป็นครึ่งหนึ่งของเซลล์ร่างกาย (n)  เช่นเซลล์ไข่  และเซลล์อสุจิ ส่งมีชีวิตหลายเซลล์เริ่มต้นจากเซลล์เดียว  คือไข่ที่ได้รับการปฏิสนธิ  และมีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจำนวนให้ได้มาก

************************

Q   หัวข้อที่  4 ศึกษาเป็นเรื่องหัวเรื่อง: การกำหนดเพศหญิงเพศคุณชาย         

การกำหนดเพศหญิงเพศชาย

          เซลล์เพศที่ถูกสร้างขึ้นมาแต่ละเซลล์จะมีโครโมโซมเพียงชุดเดียว  โดยเซลล์ที่สืบพันธุ์เพศชาย ( สเปิร์ม ) จะมีเซลล์สืบพันธุ์ซึ่งมีโครโมโซม 2 ชนิดคือ 22 + X และ 22 + Y เซลล์สืบพันธุ์เพศหญิงจะมีโครโมโซมชนิด เดียวคือ 22 + X ดังนั้นในโอกาสในการเกิดทารกเพศ หญิงหรือทารกเพศชายจึง กันเท่าขึ้นขณะนี้กับสเปิร์มที่เข้าผสมกับไข่จะเป็นสเปิร์มชนิดใด                           

วิธีการศึกษาโครโมโซม  คือ  การนำเอาเซลล์ร่างกาย  เช่น  เม็ดเลือดขาวชนิดหนึ่งมาเพาะในน้ำเลี้ยงแล้วกระตุ้นให้เซลล์แบ่งตัว  แล้วนำมาส่องด้วยกล้องจุลทรรศน์  แล้วถ่ายภาพผ่านกล้องจุลทรรศน์นำมาขยายใหญ่  หลังจากนั้นจึงตัดภาพโครโมโซมแต่ละอันออก  นำมาเรียงคู่โดยอาศัยความยาวและลักษณะรูปร่างของโครโมโซมดังนี้ความสามารถยาวลำดับของโครโมโซม โครโมโซมดูลักษณะความสามารถยาวของขา  โดยพิจารณาตำแหน่งสมัครของเซนโตรเมียร์

 ***************************

q  หัวข้อที่  5     ศึกษาเรื่อง        ยีน

         ยีน (gene)

ยีน(gene)  คือ  ภายในนิวเคลียสของเซลล์   จากเนชั่พ่อคุณแม่ทางทหารผ่านทางเซลล์สืบพันธุ์ไปยังที่คุณลูกหลาน  มีลักษณะเรียงกันเหมือนสร้อยลูกปัด  ทำหน้าที่ควบคุมลักษณะต่าง  ๆ  ทางพันธุกรรมจากพ่อแม่โดยทางผ่านเซลล์สืบพันธุ์ไปยังที่คุณลูกหลาน  ในคนมียีนประมาณ  50,000 ยีนซึ่งยีนแต่ละ จะควบคุมคุณตัวลักษณะต่างทางพันธุกรรมเพียงลักษณะเดียวยีนมี  องค์ประกอบที่สำคัญเป็นกรดนิวคลีอิก  ชนิดที่เรียกว่า  ดีเอ็นเอ (Deoxyribonucleic  acid : DNA )  อันเกิดจากการต่อกันเป็นเส้นของโมเลกุลย่อยที่เรียกว่า  นิวคลีโอไทด์  (Nucleotide)  ส่วนเส้นโมเลกุลจะสั้นหรือยาวเท่าใด  ขึ้นอยู่กับปริมาณของโมเลกุลย่อยดีเอ็นเอในเซลล์จะประกอบด้วยสายนิวคลีโอไทน์สองสายที่บิดตัวร่วมกันเป็นเกลียวคู่(Double helix)  โดยมีสารเคมีที่เรียกว่า  เบส  เป็นตัวยึดสายทั้งสองไว้  เบสที่ทำหน้าที่ยึดสายนิวคลีโอไทน์นี้เปรียบเสมือนตัวอักษรที่เรียงต่อกันเป็นข้อมูลทางพันธุกรรม  และจะแปรผันไปตามชนิดของสิ่งมีชีวิต  เบสในสาย  ดีเอ็นเอจะมีทั้งหมด  ชนิด  ซึ่งจะมีการจับคู่กันอย่างจำเพาะเจาะจง  ดังนั้นถ้าเราทราบถึงการเรียงลำดับเบสบนดีเอ็นเอเส้นหนึ่ง  ก็จะสามารถบอกการลำเรียงลำดับของเบสบนดีเอ็นเออีกเส้นหนึ่งได้  ในปัจจุบันเราสามารถใช้หลักการนี้ในการพิสูจน์สายสัมพันธ์ระหว่างพ่อแม่ลูกได้

**************************

q  หัวข้อที่  6       ศึกษาเรื่อง       คู่ของยีน

          คู่ของยีน        

เซลล์ร่างกายของสิ่งมีชีวิตจะมีโครโมโซมที่ทำหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูลทางพันธุกรรมอยู่สองชุดเข้าคู่กัน  เรียกว่า  โครโมโซมคู่เหมือน  และจากที่กล่าวมาแล้ว  ยีนซึ่งเป็นตัวควบคุมลักษณะทางพันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม  ถ้าพิจารณาลักษณะทางพันธุกรรมลักษณะใดลักษณะหนึ่ง  เช่นลักษณะสีตา  จะพบว่าถ้ามียีนควบคุมลักษณะสีตาอยู่บนโครโมโซมแท่งหนึ่ง  โครโมโซมที่อยู่บนโครโมโซมแท่งหนึ่ง  โครโมโซมที่อยู่เป็นคู่เหมือนก็จะมียีนที่ควบคุมลักษณะสีตาอยู่ด้วยเช่นกัน

          1) แอลลีล  (Allete)  คือยีนที่ควบคุมลักษณะเดียวกันแต่รูปร่างต่างรูปแบบกัน  ถึงแม้จะอยู่บนโครโมโซมคู่เหมือนตรงตำแหน่งเดียวกันก็ตาม  เช่น  ลักษณะของติ่งหู  จะมียีนที่ควบคุมอยู่  2  แอลลีลหรือ  2  แบบ  คือ  แอลลีลที่ควบคุมการมีติ่งหู (ใช้สัญลักษณ์  เป็น  B )  และ  แอลลีลที่ไม่ควบคุมการมีติ่งหู (ใช้สัญลักษณ์  เป็น  b ) 

2) จีโนไทน์  (Genotype)  คือลักษณะการจับคู่ของยีนที่ควบคุมลักษณะทางพันธุกรรม  ซึ่งจะมี 2  ลักษณะ

-          ลักษะณะพันธุ์แท้ (Homozygous)  เป็นการจับคู่กันของยีนที่มีแอลลีลเหมือนกัน  เช่น แอลลีลที่ควบคุมการมีติ่งหู  2  แอลลีลจับคู่กัน (BB)  แอลลีลควบคุมการไม่มีติ่งหู (bb) 

-          ลักษณะพันธุ์ทาง  (Heterozygous)  เป็นการจับคู่กันของยีนที่มีแอลลีลต่างกัน  เช่น แอลลีลควบคุมการไม่มีติ่งหู (Bb) 

                 3) ฟีโนไทน์ (Phenotype)  หมายถึง  ลักษณะทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตที่อยู่ภายใต้การควบคุมของจีโนไทน์  ซึ่งแสดงออกมาให้เห็นหรือปรากฏแก่ภายนอก  เช่น  จำนวนชั้นของหนังตา  ลักษณะสีตา  สีผิว  ความสูง  เป็นต้น