แหล่งก๊าซธรรมชาติบนบกไทย 2 แหล่งอยู่บริเวณใด

แหล่งก๊าซธรรมชาติ (Natural Gas)

แหล่งก๊าซธรรมชาติ  ได้มาจากแหล่งต่างๆ ทั้งในทะเลและบนบก รวมทั้งการนำเข้าจากประเทศเมียนมาร์จากแหล่งยาดานาและแหล่งเยตากุนส่วนแหล่งในประเทศได้จากแหล่งเอราวัณ บงกช ยูโนแคล 2 และ 3 ทานตะวัน ไพลิน

การแยกก๊าซธรรมชาติ คือ การแยกสารประกอบไฮโดรคาร์บอนซึ่งปะปนกันหลายชนิดตามธรรมชาติออกจากก๊าซธรรมชาติมาเป็นก๊าซชนิดต่างๆ เพื่อนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ตามคุณสมบัติและคุณค่าของก๊าซนั้นๆโรงแยกก๊าซธรรมชาติิในประเทศไทย  เกิดขึ้นหลังจากที่มีการนำก๊าซธรรมชาติซึ่งค้นพบในอ่าวไทยมาใช้ประโยชน์ เพื่อทดแทนการใช้น้ำมันดิบที่ต้องนำเข้าจากต่างประเทศก๊าซธรรมชาติประกอบด้วยสารไฮโดรคาร์บอนที่เป็นประโยชน์สามารถแยกออกมาใช้ประโยชน์ได้มากกว่าการนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงเพียงอย่างเดียว ก๊าซธรรมชาติใช้ประโยชน์ได้โดยตรง ด้วยการใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับการผลิตกระแสไฟฟ้า  หรือในโรงงานอุตสาหกรรม เช่น อุตสาหกรรมการทำกระจกอุตสาหกรรมเซรามิค อุตสาหกรรมสุขภัณฑ์ ฯลฯ และเมื่อนำไปอัดใส่ถังด้วยความดันสูงก็นำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ได้ เรียกว่าก๊าซธรรมชาติสำหรับรถยนต์ (Natural Gas for Vehicles : NGV)

ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ หลังกระบวนการแยกของโรงแยกก๊าซ

ก๊าซธรรมชาติมีสารประกอบที่เป็นประโยชน์   เมื่อผ่านกระบวนการแยกที่โรงแยกก๊าซแล้ว จะได้ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ดังนี้

1. ก๊าซมีเทน (C1) : ใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับผลิตกระแสไฟฟ้าในโรงงานอุตสาหกรรมและนำไปอัดใส่ถังด้วยความดันสูง  เรียกว่าก๊าซธรรมชาติอัด   สามารถใช้เป็นเชื้อเพลิงในรถยนต์  รู้จักกันในชื่อว่าก๊าซธรรมชาติสำหรับยานยนต์” (Natural Gas for Vehicles : NGV)

2. ก๊าซอีเทน (C2)   :  ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้น   สามารถนำไปใช้ผลิตเม็ดพลาสติก เส้นใยพลาสติกชนิดต่างๆ เพื่อนำไปใช้แปรรูปต่อไป

3. ก๊าซโพรเพน (C3 และก๊าซบิวเทน (C4) : ก๊าซโพรเพนใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมีขั้นต้นได้เช่นเดียวกัน และหากนำเอาก๊าซโพรเพนกับก๊าซบิวเทนมาผสมกันอัดใส่ถังเป็นก๊าซปิโตรเลียมเหลว (Liquefied Petroleum Gas : LPG)  หรือที่เรียกว่า ก๊าซหุงต้ม สามารถนำไปใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน เป็นเชื้อเพลิงสำหรับยานยนต์ และใช้ในการเชื่อมโลหะได้รวมทั้งยังนำไปใช้ในโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภทได้อีกด้วย

4. ไฮโดรคาร์บอนเหลว (Heavier Hydrocarbon)   :   อยู่ในสถานะที่เป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศ เมื่อผลิตขึ้นมาถึงปากบ่อบนแท่นผลิตสามารถแยกจากไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นก๊าซบนแท่นผลิต  เรียกว่า  คอนเดนเสท (Condensate)    สามารถลำเลียงขนส่งโดยทางเรือหรือทางท่อ นำไปกลั่นเป็นน้ำมันสำเร็จรูปต่อไป

5. ก๊าซโซลีนธรรมชาติ  :   แม้ว่าจะมีการแยกคอนเดนเสทออกเมื่อทำการผลิตขึ้นมาถึงปากบ่อบนแท่นผลิตแล้ว แต่ก็ยังมีไฮโดรคาร์บอนเหลวบางส่วนหลุดไปกับไฮโดรคาร์บอนที่มีสถานะเป็นก๊าซ เมื่อผ่านกระบวนการแยกจากโรงแยกก๊าซธรรมชาติแล้วไฮโดรคาร์บอนเหลวนี้ก็จะถูกแยกออก  เรียกว่า
ก๊าซโซลีนธรรมชาติ   หรือ NGL  (natural gasoline)   และส่งเข้าไปยังโรงกลั่นน้ำมันเป็นส่วนผสมของ
ผลิตภัณฑ์น้ำมันสำเร็จรูปได้เช่นเดียวกับคอนเดนเสท และยังเป็นตัวทำละลายซึ่งนำไปใช้ในอุตสาหกรรม
บางประเภทได้เช่นกัน

6.ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ : เมื่อผ่านกระบวนการแยกแล้วจะถูกนำไปทำให้อยู่ในสภาพของแข็ง เรียกว่า น้ำแข็งแห้ง  นำไปใช้ในอุตสาหกรรมถนอมอาหาร   อุตสาหกรรมน้ำอัดลมและเบียร์ ใช้ในการ
ถนอมอาหารระหว่างการขนส่ง    นำไปเป็นวัตถุดิบสำคัญในการทำฝนเทียม  และนำไปใช้สร้างควันใน
อุตสาหกรรมบันเทิง อาทิ การแสดงคอนเสิร์ต หรือการถ่ายทำภาพยนต์

ก๊าซธรรมชาติ อยู่ในสภาพสถานะต่าง ๆ ดังนี้

1.Pipe Natural Gas เป็นการขนส่งก๊าซธรรมชาติทางท่อ ซึ่งเป็นก๊าซมีเทนเป็นส่วนใหญ่ การขน
ส่งด้วยระบบท่อ จะนำไปเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้าและในโรงงานอุตสาหกรรม

2.NGV หรือ Natural Gas for Vehicles เป็นการใช้ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ ซึ่งส่วนใหญ่เป็นก๊าซมีเทน การขนส่งก๊าซธรรมชาติมาทางท่อและขนส่งทางรถยนต์ เข้าสู่สถานีบริการ และเข้าสู่ระบบขบวนการในการบรรจุลงในถังเก็บก๊าซของรถยนต์ต่อไป

3.LNG  หรือ  Liquefied  Natural  Gas   เป็นการขนส่งด้วยเรือที่ออกแบบไว้เฉพาะ โดยการทำ
ก๊าซธรรมชาติิให้กลายเป็นของเหลว   เพื่อให้ปริมาตรลดลงประมาณ 600 เท่า  โดยทั่วไปจะมีอุณหภูมิ
-160 องศาเซลเซียส

NGV คืออะไร

NGV ย่อมาจาก Natural Gas for Vehicles เป็นก๊าซธรรมชาติที่ใช้เป็นเชื้อเพลิงสำหรับรถยนต์ มีส่วนประกอบหลัก คือก๊าซมีเทน ซึ่งมีคุณสมบัติเบากว่าอากาศ ส่วนใหญ่จะใช้งานอยู่ในสภาพเป็นก๊าซที่ถูกอัดจนมีความดัน   3,000   ปอนด์   ต่อตารางนิ้ว บางครั้งเรียกก๊าซนี้ว่า   CNG   ซึ่งย่อมาจาก Compressed Natural Gas หรือก๊าซธรรมชาติอัด

ที่มา : เอกสารวิชาการ ของบริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)

0 Reviews

  • เกี่ยวกับกรม
    • ประวัติกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

    • วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัฒนธรรมองค์กร

    • ยุทธศาสตร์ และแผนปฏิบัติราชการ

      • แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี ของกระทรวงพลังงาน

      • นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านพลังงาน

      • แผนปฏิบัติราชการระยะ 5 ปี ของกรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

      • กองความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

      • กองจัดการเชื้อเพลิงธรรมชาติ

      • กองเทคโนโลยีการประกอบกิจการปิโตรเลียม

      • กองบริหารกิจการปิโตรเลียมระหว่างประเทศ

      • กองบริหารสัญญาและสัมปทานปิโตรเลียม

      • ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

    • ผู้บริหารเทคโนโลยีสารสนเทศระดับสูง (CIO)

    • Logo กรมเชื้อเพลิงธรรมชาติ

  • กฎหมายปิโตรเลียม
    • พระราชบัญญัติภาษีเงินได้ปิโตรเลียม

    • พระราชบัญญัติองค์กรร่วมไทย-มาเลเซีย

    • พระราชบัญญัติความผิดเกี่ยวกับสถานที่ผลิตปิโตรเลียมในทะเล

    • คู่มือการจัดการของเสียจากสถานประกอบกิจการปิโตรเลียม

    • คู่มือการจัดทำรายงานสิ่งแวดล้อมสำหรับการสำรวจคลื่นไหวสะเทือน

    • คู่มือการเปลี่ยนแปลง สิทธิ ประโยชน์ และพันธะในสัมปทานปิโตรเลียม ภายใต้ พ.ร.บ. ปิโตรเลียม พ.ศ. 2514

  • ข่าวและกิจกรรม
    • การยื่นขอสิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียม

  • ประกาศ
    • สมัครงาน/ฝึกงาน/คำร้องขอโอน

  • ข้อมูลสถิติรายงาน
      • แผนงานโครงการ งบประมาณรายจ่าย

      • ผลการปฏิบัติราชการตามคำรับรอง

    • รายงานปริมาณการผลิตรายเดือน

    • การขาย มูลค่า และค่าภาคหลวง

    • การจัดสรรค่าภาคหลวงให้ท้องถิ่น

    • การขนถ่ายปิโตรเลียมในอ่าวไทย

    • ผู้มีสิทธิสำรวจและผลิตปิโตรเลียม

  • คลังความรู้
      • การพัฒนาและผลิตปิโตรเลียม

      • การบริหารจัดการด้านปิโตรเลียม

      • การประกอบกิจการปิโตรเลียม

      • พื้นที่พัฒนาร่วม ไทย-มาเลเซีย

      • เคล็ดลับการประหยัดพลังงาน

      • การกําเนิดและสะสมตัวของปิโตรเลียม

      • แหล่งปิโตรเลียมที่สําคัญของโลก

      • การสํารวจและพัฒนาแหล่งปิโตรเลียม

    • ถาม-ตอบยอดฮิตจากการสำรวจและผลิตปิโตรเลียมในประเทศไทย

  • อินทราเน็ต
  • บริการประชาชน
    • การมีส่วนร่วมของประชาชน (e-Participation)

    • แจ้งเรื่องร้องเรียนทุจริตออนไลน์

  • การกำกับกิจการ
    • คุณธรรมและความโปร่งใส (ITA)

    • นโยบายด้านความโปร่งใส และคุณธรรมจริยธรรม

    • การป้องกันและ ปราบปรามการทุจริต

ปริมาณการขนถ่ายก๊าซธรรมชาติเหลวและน้ำมันดิบในอ่าวไทย / ปริมาณกักเก็บคงเหลือ
วันที่ 30 กันยายน พ.ศ.2565

วันที่ :

หน่วย : บาร์เรล

ลำดับ ชื่อเรือ ชื่อแหล่ง ชื่อบริษัท ปริมาณรับ ปริมาณขนถ่าย ปริมาณกักเก็บ หมายเหตุ
ก๊าซธรรมชาติเหลว
1 ปทุมพาหะ บงกช และอื่นๆ ปตท.สำรวจและผลิตปิโตรเลียม จำกัด (มหาชน) และ ปตท.สผ.อินเตอร์เนชั่นแนล จำกัด 30,021.29 0.00 219,114.16
2 เอราวัณ 2 เอราวัณ และอื่นๆ เชฟรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัด 24,233.54 0.00 458,180.00
รวม ก๊าซธรรมชาติเหลว 54,254.83 0.00 677,294.16
น้ำมันดิบ
3 ปัตตานี สปิริต ปลาทอง และอื่นๆ เชฟรอนประเทศไทยสำรวจและผลิต จำกัด 5,679.46 0.00 467,205.00
4 เบญจมาศ เอกซ์พลอเรอร์ เบญจมาศ และอื่นๆ เชฟรอน ออฟชอร์ (ประเทศไทย) จำกัด 11,392.00 158,591.00 258,316.00
5 เอฟพีเอฟ-003 จัสมิน เอ็มพี บี5 (ประเทศไทย) จำกัด 10,331.00 0.00 258,071.00
6 มโนราห์ ปริ้นเซส มโนราห์ เอ็มพี จี1 (ประเทศไทย) จำกัด 4,145.62 0.00 148,876.00
7 สุขสันต์ ซาลามานเดอร์ บัวหลวง โอเฟียร์ ไทยแลนด์ (บัวหลวง) ลิมิเต็ด 5,556.00 0.00 237,006.00
8 ออโรล่า นงเยาว์ เอ็มพี จี11 (ประเทศไทย) จำกัด 9,383.17 0.00 231,137.00
รวม น้ำมันดิบ 46,487.25 158,591.00 1,600,611.00
รวม ก๊าซธรรมชาติเหลว และ น้ำมันดิบ 100,742.08 158,591.00 2,277,905.16

ปรับปรุงเมื่อ : วันที่ 4 ตุลาคม พ.ศ.2565

หมายเหตุ ชื่อแหล่ง
- บงกช และอื่นๆ หมายถึง บงกช บงกชใต้ อาทิตย์ จีแปด/ห้าสิบ และ จีสิบสอง/สี่สิบแปด
- เอราวัณ และอื่นๆ หมายถึง เอราวัณ ประการังใต้ บรรพต บรรพตใต้ สตูล ปลาแดง ตราด ฟูนาน จักรวาล โกมินทร์ โกมินทร์ใต้ จักรวาลตะวันตก ตราดใต้ ไพลิน มรกต ไพลินเหนือ
- ปลาทอง และอื่นๆ หมายถึง ปลาทอง สุราษฎร์ กะพง ปลาหมึก ยะลา กุ้งเหนือ ยูงทอง ปลาแดง ปะการัง ปลาทองใต้ ปลาทองตะวันตกเฉียงใต้
- ทานตะวัน และอื่นๆ หมายถึง ทานตะวัน ราชพฤกษ์
- เบญจมาศ และอื่นๆ หมายถึง เบญจมาศ เบญจมาศเหนือ มะลิวัลย์ จามจุรีเหนือ จามจุรีใต้ ลันตา สุรินทร์ ชบา

ข้อมูลสถิติรายงาน

คลังความรู้

ตั้งแต่วันที่ 29 สิงหาคม 2561 ผู้เยี่ยมชม : 54,465,888

ผู้เยี่ยมชม (พ.ร.บ.ข้อมูลข่าวสาร ชธ.) : 130,885

แหล่งก๊าซธรรมชาติบนบก 2 แหล่งอยู่บริเวณใด

ประเทศไทยได้มีการสำรวจพบแหล่งก๊าซธรรมชาติ 2 แหล่ง คือ ในทะเลบริเวณอ่าวไทย และบนบก อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น ซึ่งนำขึ้นมาใช้ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2524 โดยการนำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในการผลิตกระแสไฟฟ้า และในโรงงานอุตสาหกรรม เพื่อทดแทนการใช้ถ่านหินและน้ำมันเตาซึ่งมีราคาสูงและต้องนำเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งแต่ละปีมีมูลค่ามหาศาล และขณะ ...

แหล่งที่มาของก๊าซธรรมชาติมาจากที่ใดบ้าง

ก๊าซธรรมชาติ คือ ปิโตรเลียมในสภาวะก๊าซที่มีอยู่ทั่วไปในโลก เกิดจากซากพืชและซากสัตว์นานาชนิดที่ทับถมกันกับโคลนทรายและกากตะกอนต่าง ๆ ที่ก้นทะเลจนอัดแน่นเป็นชั้น ๆ ภายใต้ความร้อนและแรงกดดันมหาศาลเป็นเวลาหลายร้อยล้านปีจนแปรสภาพเป็นปิโตรเลียมที่อยู่ในสถานะของแข็ง คือ ถ่านหิน ของเหลว คือ น้ำมันดิบ และก๊าซ ซึ่งก็คือก๊าซ ...

แหล่งก๊าซธรรมชาติที่พบในบริเวณอ่าวไทย คือข้อใด

'เอราวัณ'แหล่งก๊าซธรรมชาติเชิงพาณิชย์แห่งแรกในอ่าวไทยได้ทำหน้าที่ผลิตก๊าซธรรมชาติอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่ปี 2524 หรือกว่า 36 ปี ทั้งยังนับเป็นแหล่งปิโตรเลียมในทะเลที่มีโครงสร้างทางธรณีวิทยาที่ซับซ้อน ปริมาณก๊าซธรรมชาติที่ร่อยหรอลงจากการดำเนินการอย่างยาวนานตลอดจนความท้าทายทางธรณีวิทยา นับเป็นด่านหินสำหรับผู้ประกอบการที่ ...

แหล่งผลิตก๊าซธรรมชาติแห่งแรกของไทยคือแหล่งใด

ปีพ.ศ.2514 รัฐบาลได้ออกพระราชบัญญัติปิโตรเลียม ทำให้เอกชนสนใจแหล่งปิโตรเลียมกันอย่างกว้างขวาง จนกระทั่งปีพ.ศ.2516 ได้พบก๊าซธรรมชาติเป็นจำนวนมากครั้งแรกในอ่าวไทยในหลุมผลิตของ บริษัทยูโนแคลไทยแลนด์ จำกัด ชื่อว่า “แหล่งเอราวัณ” ซึ่งสามารถพัฒนาขึ้นมาใช้ประโยชน์ได้