สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

สายLAN  คือ 

1.  สายแลนคืออะไร
สายแลน (Lan Cable)เป็นสายนำสัญญาณที่ใช้ต่อกับคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เชื่อมต่อเครือข่ายอย่าง Switch หรือ Hub และสายแลนก็ใช้ต่อกับ โมเด็มเราเตอร์เพื่อเชื่อมต่อสัญญาณอินเตอร์เน็ตได้อีกด้วย การส่งข้อมูลระหว่างคอมพิวเตอร์กับคอมพิวเตอร์โดยตรงก็สามารถที่จะใช้สายแลนในการเชื่อมต่อได้เช่นกัน

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

การเลือกซื้อสายแลนนั้นเราควรเลือกซื้อให้เข้ากับอุปกรณ์เชื่อมต่อ อาทิ Switch HUB Modem Router โดยส่วนใหญ่แล้วอุปกรณ์เหล่านี้จะมีอัตราความเร็วในการโอนถ่ายข้อมูลอยู่ที่ประมาณ 10/100/1000 Mbps ซึ่งสายแลนที่นิยมใช้งานมากที่สุดจะเป็นสายแบบ UTP (UNSHIELD TWISTED PAIR) คือ สายตีเกลียวที่ไม่มีตัวป้องกัน โดยสายแลนต้องมีการเข้าหัวต่อเพื่อเชื่อมเข้าอุปกรณ์ ซึ่งหัวนี้เรียกว่า RJ45

สายแลนมีกี่ประเภท
สายแลนแบ่งออกได้เป็นหลายประเภทขึ้นอยู่กับ ลักษณะของสายแลน
1.แบ่งตามการใช้ภายนอกและภายในอาคาร โดยที่สายภายนอกอาคารจะมีปลอกหุ้มที่แข็งกว่าและหนากว่าสายภายในเพื่อให้ทนต่อสภาพอากาศภายนอกอาคาร

2.แบ่งตามลักษณะการหุ้มฉนวน มีตั้งแต่ฉนวนอย่างเดียวไม่มีฟอยล์ มีฟอยล์นอก และมีฟอยล์หุ้มทั้งหมด

3. แบ่งตามคุณภาพความถี่ที่รองรับได้
– ประเภทที่หนึ่ง คือ UTP UTP CAT5 คือ สายแลน ที่เป็นสายทองแดงที่มีความเร็วที่ต่ำ ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 100 Mbps สายชนิดนี้ไม่เป็นที่นิยมใช้งานกันซักเท่าไรเนื่องด้วยอความเร็วในการถ่ายโอนข้อมูลที่ต่ำ
– ประเภทที่สอง UTP CAT5e คือ สายแลนที่เป็นสายทองแดงที่มีความเร็วที่ต่ำ ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 1 Gpbs
– ประเภทที่สาม UTP CAT6 คือ สายแลนที่เป็นสายทองแดงที่มีความเร็วที่ต่ำ ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 10 Gpbs BANWIDTH อยู่ที่ 250MHz
– ประเภทที่สี่ UTP CAT7 คือ สายแลนที่เป็นสายทองแดงที่มีความเร็วที่ต่ำ ความเร็วสูงสุดอยู่ที่ 10 Gpbs BANWIDTH อยู่ที่ 600MHz

4. แบ่งตามการเข้าหัว ของสายแลนตามลักษณะการใช้งาน

สายแลน เป็นสายนำสัญญาณที่เราควรเลือกให้เหมาะกับอุปกรณ์ที่เชื่อมต่อและการเข้าหัวของสายแลนก็มีส่วนสำคัญอีกส่วนหนึ่งที่จะทำให้การเชื่อมต่อมีความเสถียรภาพและการส่งข้อมูลที่ลื่นไหลมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ทั้งนั้นการเลือกใช้งานสายแลนเราก็ควรเลือกตามลักษณะงานที่เราจะใช้งานด้วยเช่นกัน

2. การ์ดที่ใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายาร์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (NIC: Network Interface Card) 

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย หรือเรียกว่าการ์ด LAN เป็นการ์ดสำหรับต่อเครื่องพีซี เข้ากับสายเคเบิล ดังนั้นจึงต้องมีพอร์ตสำหรับเสียบสายแบบใดแบบหนึ่งที่จะใช้ หรืออาจมีพอร์ตสำหรับสายหลายแบบก็ได้ เช่น มีพอร์ตสำหรับสายโคแอกเชียล และสำหรับสายคู่ตีเกลียว แต่สำหรับการ์ดรุ่นใหม่ๆ มักจะเหลือแต่พอร์ตสำหรับสายคู่ตีเกลียวเพราะปัจจุบันกำลังเป็นที่นิยม นอกจากนี้ยังมีการ์ดที่ทำมาสำหรับใช้ต่อกับสายใยแก้วนำแสงซึงมักจะมีราคาแพงและใช้เฉพาะบางงาน
       การ์ด LAN จะมีสล็อตที่ใช้อยู่ 2 ชนิดคือ
       ISA 8 และ 16 บิต การ์ดแบบนี้จะสามารถรับส่งข้อมูลกับเครื่องพีซีได้ทีละ 8 หรือ 16 บิตที่ความถี่ประมาณ 8 MHz เท่านั้น โดยผ่านบัสและสล็อตแบบ ISA ตัวอย่างเช่น การ์ด NE1000 และ NE2000 ที่ผลิตตามแบบของบริษัท Novell เป็นต้น ซึ่งความเร็วในการทำงานจะต่ำกว่าแบบ PCI ซึ่งในปัจจุบันแทบจะไม่พบแล้ว

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด
       PCI 32 บิต เป็นการ์ดที่ใช้อยู่ทั่วไปในปัจจุบัน ซึ่งสามารถรับส่งข้อมูลได้ทีละ 32 บิตผ่านบัสแบบ PCI ด้วยความเร็วสูงถึง 33 MHz ปัจจุบันการ์ดแบบสล็อต PCI ราคาลดลงมาก
สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด
       ทรานซีฟเวอร์ (transceiver) เป็นส่วนหนึ่งของการ์ด LAN โดยจะทำหน้าที่แปลงสัญญาณของคอมพิวเตอร์เป็นสัญญาณที่ใช้ในเครือข่าย ทรานซีฟเวอร์รุ่นเก่า ๆ จะเชื่อมต่อกับสายเคเบิลและการ์ด LAN แต่ในปัจจุบันจะนำทรานซีฟเวอร์นี้บรรจุเข้าไปในตัวการ์ด LAN เลย
       บนการ์ด LAN บางแบบจะมีที่เสียบชิปหน่วยความจำ ROM เป็นซ็อคเก็ตว่าง ๆ ทิ้งไว้ สำหรับใช้ในกรณีที่ต้องการให้เครื่องที่ใช้การ์ดนั้นสามารถบูตจากหน่วยความจำของเครื่องที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ในระบบ LAN ได้ ซึ่งก็จะต้องมี ROM ที่มีโปรแกรมพิเศษมาใส่ในซ็อคเก็ตว่างนี้ เรียกว่าเป็น bootROM โดยโปรแกรมใน ROM ดังกล่าวจะอยู่ในตำแหน่งแอดเดรสที่ซีพียูจะเรียกใช้ในตอนที่บูตเครื่อง เช่นเดียวกับ ROM บนเมนบอร์ดนั่นเอง เมื่อมีโปรแกรมดังกล่าวเพิ่มเข้ามา ก็จะทำให้ซีพียูไปทำการบูตเครื่องผ่านการ์ด LAN และหน่วยความจำของเครื่องที่เป็นเซิร์ฟเวอร์ แทนที่จะบูตจากหน่วยความจำของเครื่องนั้น ๆ ตามปกติ เช่น ในกรณีที่ต้องการใช้งานพีซีนั้นในลักษณะเครื่องลูกข่ายที่ไม่มีฮาร์ดดิสก์ เป็นต้น

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

Wake-On-Lan (WOL) เป็นคุณสมบัติที่ทำให้เครื่องที่อยู่ในสภาพ standby หรือ sleep อยู่สามารถตื่น (wake up) ขึ้นมาได้เมื่อมีสัญญาณเข้ามาทางการ์ด LAN ซึ่งคล้ายกับ wake-on-modem ที่พอมีสัญญาณโทรศัพท์เข้ามาทางโมเด็มก็จะปลุกให้เครื่องตื่นขึ้นมาทำงานต่อได้ ทำให้สามารถปล่อยให้เครื่องที่ต่อกับ LAN อยู่สามารถเปิดทิ้งไว้ตลอดเวลา ซึ่งเครื่องจะเข้าสู่โหมดประหยัดพลังงานเมื่อไม่มีใครใช้ และจะตื่นกลับขึ้นมาทำงานทันทีที่มีผู้ติดต่อผ่าน LAN เข้ามา ทั้งนี้การ์ด LAN โดยทั่วไปจะต้องมีสายสัญญาณพิเศษสำหรับทำหน้าที่นี้มาให้ โดยเสียบเข้าที่คอนเน็คเตอร์เล็ก ๆ บนเมนบอร์ด (มักอยู่ข้างสล็อตที่เสียบการ์ด LAN นั่นเอง) ถ้าไม่เสียบ คุณสมบัตินี้ก็จะไม่ทำงาน

3. อุปกรณ์ที่ใช้ในการเชื่อมโยง

อุปกรณ์การเชื่อมต่อเครือข่าย

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

โมเด็ม (modem)

เป็นอุปกรณ์สำหรับคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่ช่วยให้คุณสัมผัสกับโลกภายนอกได้อย่างง่ายดาย โมเด็มเป็นเสมือนโทรศัพท์สำหรับคอมพิวเตอร์

ที่จะช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์ของคุณสามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทั่วโลก โมเด็มจะสามารถทำงานของคุณให้สำเร็จได้ก็ด้วยการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ของคุณเข้าคู่สายของ

โทรศัพท์ธรรมดาคู่หนึ่งซึ่งโมเด็มจะทำการแปลงสัญญาณดิจิตอล (digital signals) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณอนาล็อก (analog signals) เพื่อให้สามารถส่งไปบนคู่สายโทรศัพท์

คำว่า โมเด็ม(Modems) มาจากคำว่า (modulate/demodulate) ผสมกัน หมายถึง กระบวนการแปลงข้อมูลข่าวสารดิจิตอลให้อยู่ในรูปของอนาล็อกแล้วจึงแปลงสัญญาณกลับเป็นดิจิตอลอีกครั้งหนึ่งเมื่อโมเด็มของคุณต่อเข้ากับโมเด็มตัวอื่นความแตกต่างของโมเด็มแต่ละประเภท

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

รีพีตเตอร์ หรือ ฮับ (Repeaters / Hubs)

ฮับเป็นอุปกรณ์ที่ใช้สำหรับเชื่อมโยงสัญญาณของอุปกรณ์เครือข่ายเข้าด้วยกัน การจะทำให้คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องคอมพิวเตอร์รู้จักกัน หรือส่งข้อมูลถึงกันได้จะต้องผ่านอุปกรณ์ตัวนี้

เมื่อใดที่มีคอมพิวเตอร์ภายในเครือข่ายต้องการส่งข้อมูล ฮับทำจะหน้าที่ในการทำสำเนาข้อมูลและส่งไปยังอุปกรณ์ต่างๆ ภายในเครือข่าย ไม่ใช่แค่คอมพิวเตอร์ แต่รวมถึงอุปกรณ์อื่นๆ ด้วยเช่น เครื่องพิมพ์ เป็นต้น เรียกว่าส่งข้อมูลไปทั้งหมด และถ้าข้อมูลนี้เป็นของอุปกรณ์ใด อุปกรณ์นั้นก็จะรับเองอัตโนมัติ? และจุดด้อยของฮับที่ควรทราบคือ เวลามีอุปกรณ์ใดส่งข้อมูลในเครือข่ายผ่านฮับ อุปกรณ์อื่นๆ จะต้องรอให้การส่งสมบูรณ์ก่อน เปรียบเทียบได้กับถนน One-Way ห้ามส่งข้อมูลสวนทางกัน

สวิทซ์ หรือ บริดจ์ (Switch / Bridge)

บริดจ์ เป็นอุปกรณ์เชื่อมโยงเครือข่ายของเครือข่ายที่แยกจากกัน แต่เดิมบริดจ์ได้รับการออกแบบมาให้ใช้

กับเครือข่ายประเภทเดียวกัน เช่น ใช้เชื่อมโยงระหว่างอีเทอร์เน็ตกับ อีเทอร์เน็ต (Ethernet) บริดจ์มีใช้มานานแล้ว ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1980

บริดจ์จึงเป็นเสมือนสะพานเชื่อมระหว่างสองเครือข่าย การติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันมีลักษณะการส่ง ข้อมูลแบบกระจาย (Broadcasting) ดังนั้น จึงกระจายได้เฉพาะเครือข่ายเดียวกันเท่านั้น การรับส่งภายในเครือข่ายมีข้อกำหนดให้แพ็กเก็ตที่ส่งกระจายไปยังตัวรับได้ทุกตัว แต่ถ้ามีการส่งมาที่แอดเดรสต่างเครือข่าย บริดจ์จะนำข้อมูลเฉพาะแพ็กเก็ตนั้นส่งให้ บริดจ์จึงเป็นเสมือนตัวแบ่งแยกข้อมูล ระหว่างเครือข่ายให้มีการสื่อสารภายในเครือข่าย ของตน ไม่ปะปนไปยังอีกเครือข่ายหนึ่ง เพื่อลดปัญหาปริมาณข้อมูลกระจายในสายสื่อสารมากเกินไป ในระยะหลังมีผู้พัฒนาบริดจ์ให้เชื่อมโยงเครือข่ายต่างชนิดกันได้ เช่น อีเทอร์เน็ตกับโทเก็นริง เป็นต้น หากมีการเชื่อมต่อเครือข่ายมากกว่าสองเครือข่ายเข้าด้วยกัน และเครือข่ายที่เชื่อมมีลักษณะหลากหลาย ซึ่งเป็นทั้งเครือข่ายแบบ LAN และ WAN อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเชื่อมโยงคือ เราเตอร์ (Router)

   บริดจ์ เป็นอุปกรณ์ที่มักจะใช้ในการเชื่อมต่อวงแลน  (LAN Segments)   เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถขยายขอบเขตของ LAN ออกไปได้เรื่อยๆ โดยที่ประสิทธิภาพรวมของระบบ ไม่ลดลงมากนัก เนื่องจากการติดต่อของเครื่องที่อยู่ในเซกเมนต์เดียวกันจะไม่ถูกส่งผ่าน ไปรบกวนการจราจรของเซกเมนต์อื่น และเนื่องจากบริดจ์เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ Data Link Layer    จึงทำให้สามารถใช้ในการเชื่อมต่อเครือข่ายที่แตกต่างกันในระดับ Physical และ Data Link ได้ เช่น ระหว่าง Eternet กับ Token Ring เป็นต้น

เร้าเตอร์ (Router)

เราเตอร์เป็นอุปกรณ์ที่ซับซ้อนกว่าบริดจ์ ทำหน้าที่เชื่อมต่อ LAN หลายๆ เครือข่ายเข้าด้วยกันคล้ายกับสวิตช์แต่จะมีส่วนเพิ่มเติมขึ้นมาคือ เราเตอร์สามารเชื่อมต่อ LAN ที่ใช้โปรโตคอลในการรับส่งข้อมูลเหมือนกัน แต่ใช้สื่อส่งข้อมูลหรือสายส่งต่างชนิดกันได้ เช่น เชื่อมต่อ Ethernet LAN ที่ใช้รับส่งข้อมูลแบบ UTP เข้ากับ Ethernet อีกเครือข่ายหนึ่งที่ใช้สายข้อมูลแบบ coaxial cable ได้ หน้าที่หลักของเราเตอร์คือ การหาเส้นทางที่ดีที่สุดในการส่งผ่านข้อมูล และเป็นตัวกลางในการส่งต่อข้อมูลไปยังเครือข่ายอื่น โดยในแต่ละเครือข่ายจะมีรูปแบบของ packet ที่แตกต่างกันตามโปรโตคอลที่ทำงานในระดับบน (ตั้งแต่เลเยอร์ที่ 3 ขึ้นไป) เช่น IP, IPX หรือ AppleTalk  เมื่อมีการส่งข้อมูลก็จะบรรจุข้อมูลนั้นเป็น packet ในรูปแบบของเลเยอร์ที่ 2 เมื่อเราเตอร์ได้รับข้อมูลก็จะตรวจดูใน packet นี้เพื่อจะทราบว่าใช้โปรโตคอลแบบใด ซึ่งเราเตอร์จะเข้าใจโปรโตคอลต่าง ๆ แล้ว จากนั้นก็จะตรวจดูเส้นทางส่งข้อมูลจากตาราง routing table ว่าจะต้องส่งข้อมูลนี้ไปยังเครือข่ายใดต่อจึงจะถึงปลายทางได้ แล้วจึงบรรจุข้อมูลลงเป็น packet ตามรูปแบบของเลเยอร์ที่ 2 อีกครั้งเพื่อส่งต่อไปยังเครือข่ายถัดไป

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

เกทเวย์ (Gateway)

เป็นอุปกรณ์ที่ทำงานอยู่ในระดับ Transport Layer จนถึง Application Layer ของ OSI Model มีหน้าที่ในการเชื่อมต่อและแปลงข้อมูลระหว่างเครือข่ายที่แตกต่างกันทั้งในส่วนของโปรโตคอลและสถาปัตยกรรมของเครือข่าย LAN และระบบ Mainframeหรือเชื่อมระหว่างเครือข่าย SNAของ IBM กับ DECNet ของ DEC เป็นต้น โดยปกติ Gateway มักจะเป็น Software Packageที่ใช้ในงานบนเครื่องคอมพิวเตอร์เครื่องใดเครื่องหนึ่ง (ซึ่งทำให้เครื่องนั้นมีสถานะเป็น Gateway)และมักใช้สำหรับเชื่อม Workstation เข้าสู่เครื่องที่เป็นเครื่องหลัก ทำให้เครื่องที่เป็น Workstationสามารถทำงานติดต่อกับเครื่องหลักได้โดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับข้อแตกต่างของระบบเลย

4. เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้ในระบบ

   ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ มีองค์ประกอบที่สำคัญ เพื่อการเชื่อมต่อเป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ได้แก่ คอมพิวเตอร์แม่ข่าย (File Server) ช่องทางการสื่อสาร (Communication Chanel) สถานีงาน (Workstation or Terminal) และ อุปกรณ์ในเครือข่าย (Network Operation System)

  •  คอมพิวเตอร์แม่ข่าย


               คอมพิวเตอร์แม่ข่าย หมายถึงคอมพิวเตอร์ ที่ทำหน้าที่เป็นผู้ให้บริการทรัพยากร (Resources) ต่าง ๆ ซึ่งได้แก่ หน่วยประมวลผล หน่วยความจำ หน่วยความจำสำรอง ฐานข้อมูล และ โปรแกรมต่าง ๆ เป็นต้น ในระบบเครือข่ายท้องถิ่น (LAN) มักเรียกว่าคอมพิวเตอร์แม่ข่าย ในระบบเครือข่ายระยะไกล ที่ใช้เมนเฟรมคอมพิวเตอร์ หรือ มินิคอมพิวเตอร์เป็นศูนย์กลางของเครือข่าย เรานิยมเรียกว่า 
Host Computer และเรียกเครื่องที่รอรับบริการว่าลูกข่ายหรือสถานีงาน

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

  • ช่องทางการสื่อสาร

                  ช่องทางการสื่อสาร หมายถึง สื่อกลางหรือเส้นทางที่ใช้เป็นทางผ่าน ในการรับส่งข้อมูล ระหว่างผู้รับ (Receiver) และผู้ส่งข้อมูล (Transmitter) ปัจจุบันมีช่องทางการสื่อสาร สำหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย คอมพิวเตอร์มีหลายประเภทคือ สายโทรศัพท์แบบสายคู่ตีเกลียวไม่มีฉนวนหุ้ม (UTP) สายคู่ตีเกลียว แบบมีฉนวนหุ้ม (STP) สายโคแอคเชียล สายใยแก้วนำแสง คลื่นไมโครเวป และดาวเทียม เป็นต้น

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

  • สถานีงาน

                    สถานีงาน (Workstation or Terminal) หมายถึง อุปกรณ์หรือเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ ที่เชื่อมต่อ กับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ทำหน้าที่เป็นสถานีปลายทางหรือสถานีงาน ที่ได้รับการบริการจากเครื่อง คอมพิวเตอร์แม่ข่าย เรียกว่าเป็นคอมพิวเตอร์ลูกข่าย (Workstation) ในระบบเครือข่ายระยะใกล้ มักมีหน่วยประมวลผล หรือซีพียูของตนเอง ในระบบที่ใช้เครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม เป็นศูนย์กลาง เรียกสถานีปลายทางว่าเทอร์มินอล (Terminal) ประกอบด้วยจอภาพและแป้นพิมพ์เท่านั้น ไม่มีหน่วยประมวลกลางของตัวเอง ต้องใช้หน่วยประมวลผลของคอมพิวเตอร์ศูนย์กลางหรือ Host

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

  • อุปกรณ์ในเครือข่าย

                      การ์ดเชื่อมต่อเครือข่าย (Network Interface Card :NIC) หมายถึง แผงวงจรสำหรับ ใช้ในการเชื่อมต่อสายสัญญาณของเครือข่าย ติดตั้งไว้ในเครื่องคอมพิวเตอร์ที่เป็นเครื่องแม่ข่าย และเครื่องที่เป็นลูกข่าย หน้าที่ของการ์ดนี้คือแปลงสัญญาณจากคอมพิวเตอร์ส่งผ่านไปตามสายสัญญาณ ทำให้คอมพิวเตอร์ในเครือข่ายแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารกันได้

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

5. ซอฟแวร์เครือข่าย

    ซอฟต์แวร์เครือข่าย Cisco (IOS, XE, XR และ NX-OS) เป็นซอฟต์แวร์เครือข่ายที่ถูกใช้อย่างแพร่หลายที่สุดในโลก ผสานรวมเทคโนโลยีใหม่ล่าสุด บริการธุรกิจที่สำคัญ และสนับสนุนแพลตฟอร์มฮาร์ดแวร์ในวงกว้าง

คุณสามารถได้รับประโยชน์ของซอฟต์แวร์ที่แบ่งปันและความสามารถในการรักษาความคงที่ด้วยโค้ดที่ใช้ซ้ำได้ทั่วทั้งเครือข่าย ช่วยให้คุณส่งมอบบริการได้เร็วขึ้นและได้พัฒนานวัตกรรม

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

6. โปรโตคอล

     โปรโตคอล (Protocol) คือ มาตราฐาน หรือกฏ ระเบียบ ขั้นตอนในการสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ที่มีการเชื่อมต่อกันโปรโตคอล (Protocol) อาจเรียกได้อีกอย่างหนึ่งว่า สถาปัตยกรรมเครือข่าย (Network Architecture) อาจเป็นเพราะระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ในปัจจุบันมีความซับซ้อนมากขึ้น และยากที่จะพัฒนาโดยทีมงานใด ทีมงานหนึ่ง ดังนั้น จึงได้มีการแบ่งโปรโตคอล (Protocol) ออกเป็นชั้นๆ หรือที่เราเรียกว่า เลเยอร์ (Layer)   ซึ่งแต่ละเลเยอร์ จะทำงานไม่ซ้ำซ้อนกัน

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด

7. โมเด็ม

    โมเด็ม (Modems) เป็นอุปกรณ์สำหรับคอมพิวเตอร์อย่างหนึ่งที่ช่วยให้คุณสัมผัสกับโลกภายนอกได้อย่างง่ายดาย โมเด็มเป็นเสมือนโทรศัพท์สำหรับคอมพิวเตอร์ที่จะช่วยให้ระบบคอมพิวเตอร์ของคุณสามารถสื่อสารกับคอมพิวเตอร์อื่นๆ ได้ทั่วโลก โมเด็มจะสามารถทำงานของคุณให้สำเร็จได้ก็ด้วยการเชื่อมต่อระหว่างคอมพิวเตอร์ของคุณเข้าคู่สายของโทรศัพท์ธรรมดาคู่หนึ่งซึ่งโมเด็มจะทำการแปลงสัญญาณดิจิตอล (digital signals) จากเครื่องคอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณอนาล็อก (analog signals) เพื่อให้สามารถส่งไปบนคู่สายโทรศัพท์ คำว่า โมเด็ม(Modems) มาจากคำว่า (modulate/demodulate) ผสมกัน หมายถึง กระบวนการแปลงข้อมูลข่าวสารดิจิตอลให้อยู่ในรูปของอนาล็อกแล้วจึงแปลงสัญญาณกลับเป็นดิจิตอลอีกครั้งหนึ่งเมื่อโมเด็มของคุณต่อเข้ากับโมเด็มตัวอื่นความแตกต่างของโมเด็มแต่ละประเภท

สื่อกลางที่ใช้กันมากในการสื่อสารข้อมูลในระบบเครือข่ายแลนคือข้อใด