รถที่สามารถจดทะเบียนได้ต้องมีลักษณะอย่างไร

�. ��鹷��㹷ҧ�Թö���������ͧ�����ʴ������������Ѵਹ�ء��������Ѻ��餹�Թ��ҷ������ҧ��ش�� ������餹���������ŧ�ҡö��ش�͡�͹�Т����ҧ����

�.ࢵ��褹�Թ�������ö�����ҧ��������ͧ��ش��

2.10 ö㹢��㴷������ö������㹷ҧ�Թö��

�.ö��������§�ѧ����ࡳ����ҧ�Ҫ��á�˹�

�. ö���������ҡ��仺��ҧ�Թö

�. ö��������������ҧ

�.ö��������§����ͧ¹��ѧ��дѺ 80 ഫ���

2.11 �ѭ�ҳ��Ҩ����ᴧ�������ٻ�ҡ�ҷ��§�����˹�ͪ�ͧ�Թö �����������Ѻ���Ѻö���ҧ��

�.�ʹö㹪�ͧ�Թö���

�. ��ش��Шʹö㹪�ͧ�Թö���

�. �Ѻö㹪�ͧ�Թö���

�.��شö㹪�ͧ�Թö���

2.12����;�ѡ�ҹ��Ҩ��׹�������´ᢹ�����͡������дѺ���� ���Ѻ����觢Ѻö�Ҩҡ�ҧ��ҹ�˹�ͧ��ѡ�ҹ��Ҩèе�ͧ��شö

รถที่สามารถจดทะเบียนได้ต้องมีลักษณะอย่างไร

�.��ҹ��ҧ

�. ��ҹ˹����д�ҹ��ѧ

�. ��ҹ��ѧ

�.��ҹ˹��

2.13 ����;�ѡ�ҹ��Ҩ��׹�������´ᢹ��ҷ�͹��ҧ��駩ҡ�Ѻᢹ��͹����е�駽����͢�� ���Ѻ����觢Ѻö�Ҩҡ�ҧ��ҹ�˹�ͧ��ѡ�ҹ��Ҩèе�ͧ��شö

พาชมการแบ่งประเภทรถโดยกรมการขนส่งทางบก จะใช้ตัวย่อ รย.1 ถึง รย.17 รวมภาพการแบ่งประเภทรถที่กรมการขนส่งทางบกตั้งไว้ตามกฎหมาย มาครบทุกแบบ

ว่าด้วยการแบ่งประเภทรถตามกฎหมายที่กรมการขนส่งทางบกกำหนดขึ้น เราคุ้น ๆ และเจอมากที่สุดคือ รย.1 รถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน เคยสงสัยไหมว่า หากเป็นรถแทรกเตอร์ รถสามล้อพ่วง รถลาก หรือรถสามล้อล่ะ จะถูกแบ่งเป็นประเภทไหน 

ซึ่งวันนี้เราได้นำภาพข้อมูลรถยนต์แต่ละประเภทตั้งแต่ รย.1 ถึง รย.17 มาให้ชม ซึ่งมีผลต่อการแจ้งทำทะเบียน ต่อ พ.ร.บ. ต่อภาษีประจำปีด้วย มีอะไรบ้างมารับชมกัน

หลังจากที่กระทรวงพาณิชย์ ได้ยกร่าง ครม. เพื่อควบคุมรถยนต์นำเข้าในประเทศ รวมถึงการป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม การลักลอบนำเข้ารถแบบผิดกฎหมาย และการฟอกเงิน ซึ่งล่าสุด ครม. ดังกล่าวก็ได้มีผลบังคับใช้ภายในวันที่ 10 ธันวาคม 2562 เป็นที่เรียบร้อยแล้ว เพราะฉะนั้น หากใครจะนำเข้ารถยนต์มือสองจะต้องศึกษาและปฏิบัติตามกฎหมายให้เคร่งครัด เพื่อป้องกันปัญหาที่อาจจะตามมา โดยเฉพาะการขออนุญาตนำเข้าและการขอจดทะเบียนรถยนต์นำเข้าตามกฎหมายในปี 2562

รถที่สามารถจดทะเบียนได้ต้องมีลักษณะอย่างไร

กฎหมายควบคุมการนําเข้ารถยนต์จากต่างประเทศ โดยกระทรวงพาณิชย์

ลักษณะของรถยนต์นำเข้า

เบื้องต้นต้องทำความเข้าใจก่อนว่า การห้ามนำเข้ารถยนต์ส่วนตัวใช้แล้วเข้ามาในประเทศนั้น ไม่ใช่ว่าจะห้ามรถยนต์ที่ใช้แล้วทุกคัน ซึ่งเราจะมากล่าวถึงเฉพาะในมิติของผู้บริโภคหรือผู้ที่ต้องใช้รถยนต์ส่วนตัวเท่านั้น โดยรถยนต์ส่วนตัวที่จะนำเข้ามาใช้ในประเทศ จะแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ รถยนต์ใช้แล้วและต้องการซื้อเพื่อนำเข้ามาใช้งานในประเทศ  และรถยนต์ส่วนตัวที่ใช้และครอบครองในขณะที่อยู่ต่างประเทศ

สำหรับรถยนต์ใช้แล้ว และต้องการซื้อเพื่อนำเข้ามาใช้งานส่วนบุคคล เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “รถยนต์ส่วนตัวใช้แล้ว” หากเป็นความหมายทั่วไปก็คือ เป็นรถยนต์มือสองที่ขายทอดตลาดในต่างประเทศ ซึ่งผู้บริโภคต้องการซื้อและนำเข้ามาใช้งานในประเทศไทย แน่นอนว่า รถยนต์ประเภทดังกล่าวนี้ กฎหมายได้กำหนดว่าไม่สามารถนำเข้ามาในประเทศได้ เว้นแต่เป็นรถยนต์ที่ซื้อและใช้งานมาไม่ต่ำกว่า 1 ปี 6 เดือน ในขณะที่อยู่ต่างประเทศ ที่สำคัญคือ ต้องเป็นคนที่อาศัยอยู่ต่างประเทศติดต่อกันเป็นเวลาไม่ต่ำกว่า กว่า 1 ปี 6 เดือน จึงจะสามารถนำรถเข้ามาใช้ในประเทศไทยได้อย่างถูกกฎหมาย

รถที่สามารถจดทะเบียนได้ต้องมีลักษณะอย่างไร

การนําเข้ารถยนต์ใหม่จากต่างประเทศในประเทศไทย

และสำหรับรถยนต์ส่วนตัวที่ใช้และครอบครองในขณะที่อยู่ต่างประเทศ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า “รถยนต์นั่งที่ใช้แล้วเพื่อใช้เฉพาะตัว” หรือจะเรียกง่าย ๆ ว่าเป็น “รถยนต์นั่งที่ใช้แล้ว” ความหมายคือ รถยนต์ส่วนตัวทุกประเภทที่ได้ครอบครองและถือกรรมสิทธิ์เป็นเจ้าของแบบเต็มตัวไม่ต่ำกว่า 1 ปี 6 เดือน และต้องเป็นคนที่อาศัยอยู่ต่างประเทศมาไม่ต่ำกว่า 1 ปี 6 เดือน เช่นเดียวกัน ที่สำคัญคือต้องเข้าหลักเกณฑ์ตามที่กระทรวงพาณิชย์กำหนด ถึงจะสามารถนำเข้ามาจดทะเบียนรถนำเข้าได้ตามกฎหมาย

แน่นอนว่า รถยนต์ทั้งสองประเภทที่กล่าวมานั้น สิ่งที่เหมือนกันคือ หากเป็นรถยนต์ที่ซื้อจากตลาดรถในต่างประเทศ ผู้เป็นเจ้าของจะต้องครอบครอง ใช้งาน และอาศัยอยู่ต่างประเทศมาไม่ต่ำกว่า 1 ปี 6 เดือน จึงจะสามารถนำเข้ามาในประเทศและจดทะเบียนรถนำเข้ามาใช้งานได้อย่างถูกต้องตามกฎหมาย เพราะฉะนั้น ในกรณีที่ซื้อรถยนต์มือสองจากต่างประเทศที่มีระยะเวลาไม่ถึงกำหนด และไม่ได้อาศัยอยู่ต่างประเทศ ก็ไม่สามารถนำเข้ามาในประเทศไทยได้ในทุกกรณี ในขณะที่รถยนต์มือหนึ่งที่ซื้อและต้องการนำเข้ามาใช้งานในประเทศ จะต้องผ่านกระบวนการทางกฎหมายและจ่ายภาษีแบบเต็มรูปแบบ ถึงจะสามารถนำเข้ามาได้

รถที่สามารถจดทะเบียนได้ต้องมีลักษณะอย่างไร

การกำหนดกฎหมายและการจดทะเบียนรถยนต์นำเข้าปี 2562

เกณฑ์การขออนุญาตนำเข้ารถยนต์

สำหรับเกณฑ์และเงื่อนไขที่กระทรวงพาณิชย์ได้กำหนดถึงการนำเข้ารถยนต์ส่วนตัว ที่สามารถนำมาจดทะเบียนรถยนต์นำเข้าและขออนุญาตนำเข้าในประเทศ ต้องผ่านเกณฑ์ขั้นต้นดังนี้  

1. กรณีของคนไทย

  • สามารถนำเข้ามาได้คนละ 1 คันเท่านั้น
  • ต้องอาศัยอยู่ต่างประเทศไม่ต่ำกว่า 1 ปี 6 เดือน
  • ต้องถือกรรมสิทธิ์หรือครอบครองในระหว่างที่อยู่ต่างประเทศไม่ต่ำกว่า 1 ปี 6 เดือน
  • มีใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ของประเทศที่ใช้รถ หรือใบขับขี่รถยนต์นานาชาติ ในขณะที่ได้ถือกรรมสิทธิ์ครอบครองรถ
  • ไม่สามารถจำหน่าย จ่าย โอน รถยนต์ที่นำเข้าในระยะเวลา 3 ปี เว้นแต่ในกรณีที่ตกทอดทางมรดกเท่านั้น

2. กรณีที่เป็นชาวต่างชาติ

  • สามารถนำเข้ามาได้คนละ 1 คันเท่านั้น
  • ต้องได้รับอนุญาตจากสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง หรือ ตม. ให้เข้ามาอยู่ในประเทศไทยไม่ต่ำกว่า 1 ปี และจะต้องได้รับอนุญาตให้สามารถทำงานในประเทศไทยได้อย่างถูกกฎหมาย
  • ในกรณีเป็นชาวต่างชาติที่เกษียณอายุหรือมีคู่สมรสเป็นคนไทย และต้องการมาอาศัยในประเทศ ก็สามารถนำเข้าได้เช่นเดียวกัน
  • มีใบอนุญาตขับขี่รถยนต์ของประเทศที่ใช้รถ หรือใบขับขี่รถยนต์นานาชาติ ในขณะที่ได้ถือกรรมสิทธิ์ครอบครองรถ
  • ไม่สามารถจำหน่าย จ่าย โอน รถยนต์ที่นำเข้าในระยะเวลา 3 ปี เว้นแต่ในกรณีที่ตกทอดทางมรดกเท่านั้น

ดังนั้น หากมั่นใจแล้วว่าเข้าเกณฑ์ที่กระทรวงพาณิชย์กำหนด ก็ให้เตรียมเอกสาร และหลักฐานต่าง ๆ พร้อมสำเนาทุกฉบับ ไปยื่นคำขอ เพื่อประกอบการพิจารณาการนำเข้ารถยนต์ และหลังจากที่ดำเนินการตามขั้นตอนของกระทรวงพาณิชย์และกรมศุลกากรจนได้รับการอนุมัติแล้ว ก็สามารถนำรถไปจดทะเบียนรถยนต์นำเข้าที่กรมการขนส่งทางบกต่อไป

รถที่สามารถจดทะเบียนได้ต้องมีลักษณะอย่างไร

การซื้อรถต่างประเทศ นำเข้าไทยและการจดทะเบียนตามกฎหมายใหม่ปี 2562

ขั้นตอนการจดทะเบียนรถยนต์นำเข้า

สำหรับรถยนต์ที่ได้รับอนุญาตให้นำเข้ามาใช้ในประเทศไทย และได้รับใบรับรองจากกรมศุลกากรเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จะต้องเข้าไปจดทะเบียนรถยนต์นำเข้าตามระเบียบของกรมการขนส่งทางบก โดยมีขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้

Step 1 เตรียมเอกสารสำหรับการจดทะเบียน

  1. ใบรับรองการนำเข้าจากกรมศุลกากร (แบบ 32)
  2. สำเนาใบขนส่งสินค้าขาเข้า บัญชีแสดงรายการสินค้า และใบเสร็จรับเงินค่าอากรขาเข้า
  3. หลักฐานการทำประกันภัยตามกฎหมาย
  4. หลักฐานเพื่อแสดงการเป็นเจ้าของรถ ได้แก่ สำเนาบัตรประจำตัวประชาชน และหากเป็นนิติบุคคล ให้ใช้หนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคล และสำเนาบัตรของกรรมการผู้มีอำนาจลงนาม พร้อมกับตราประทับ (ถ้ามี)
  5. หนังสือเดินทาง โดยได้รับการตรวจลงตราวีซ่าแบบถูกต้องตามกฎหมาย (กรณีชาวต่างชาติ)
  6. หนังสือรับรองถิ่นที่อยู่จากสถานทูต สถานกงสุล สำนักงานตรวจคนเข้าเมือง หน่วยราชการหรือองค์การระหว่างประเทศ หรือหนังสือรับรองการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่ง เพื่อใช้เป็นเอกสารประกอบการขอจดทะเบียนรถยนต์นำเข้า

Step 2 ขั้นตอนการขอจดทะเบียน

  1. สำหรับการขอจดทะเบียนรถยนต์นำเข้า ปกติแล้วจะใช้เวลาดำเนินการไม่นานเท่าใดนัก เฉลี่ยอยู่ที่ประมาณ 2 ชั่วโมง และสำหรับการจดทะเบียนรถยนต์นำเข้า ที่เจ้าของจะใช้รถในจังหวัดที่ไม่ได้มีภูมิลำเนาอยู่ ให้ยื่นคำขอ ณ จังหวัดที่ต้องการใช้รถ ที่สำคัญคือ หากไม่ได้ดำเนินการด้วยตัวเอง ให้ทำหนังสือมอบอำนาจพร้อมสำเนาบัตรประจำตัวประชาชนให้เรียบร้อยก่อนจะให้ผู้รับอำนาจไปดำเนินการขอจดทะเบียนรถยนต์นำเข้า