โลกและการเปลี่ยนแปลง ม.2 ppt

ส ภ า ว ะ แ ว ด ล้ อ ม ท า ง ธ ร ร ม ช า ติ

โลกประกอบด้วยสภาวะแวดล้อมทางธรรมชาติ 4 ภาค

01 ธรณีภาค 02 อทุ กภาค
03 บรรยากาศภาค 04 ชวี ภาค

01

ธรณีภาค (lithosphere) ส่วนของโลกทเ่ี ป็นของแขง็
ประกอบไปดว้ ยหนิ และดินชนดิ ตา่ ง ๆ ซ่ึงหอ่ โลกอยเู่ ป็น
ผวิ เปลอื กโลก เป็นพ้ืนท่ที ม่ี นุษยใ์ ชเ้ ปน็ ท่ีอาศัยอยู่และ
ดาเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ทั้งดา้ นเศรษฐกจิ สังคม และ

วัฒนธรรม และสิ่งแวดลอ้ ม

01 ธรณีภาค 1.1 โครงสร้างโลก

1.1.1 เปลือกโลก (crust)
1.1.2 เน้ือโลก (mantle)
1.2 การเลื่อนของทวปี 1.1.3 แก่นโลก (core)

1.3 การเปลี่ยนแปลงของธรณีภาค ทฤษฎีการเลือ่ นทวปี
ของอลั เฟรด เวเกเนอร์ (Alfred Wegener)
1.3.1 กระบวนการเปลี่ยนแปลงภายในโลก
1) การเคลอื่ นท่ีของแผน่ ธรณีภาค
2) การเกิดแผน่ ดินไหว
3) การปะทุของภเู ขาไฟ
4) โครงสร้างทางธรณีวทิ ยา
1.3.2 กระบวนการปรับระดบั พ้นื ผวิ โลก
1) การผพุ งั อยกู่ บั ท่ี
2) การกร่อน
3) การพดั พาและการทบั ถม
4) การเคลอ่ื นทีข่ องมวล

1.1

โลกมลี ักษณะเกือบกลมหรือกลมรีเล็กน้อย 12,755 km.
เส้นผ่านศูนย์กลางทเี่ ส้นศนู ย์สตู รยาว 12,755 km.

เส้นผ่านศนู ย์กลางตามแนวขว้ั โลก 12,711 km.

12,711 km.

1.1

โลกแบ่งเป็น 3 ชั้นหลัก

crust เปลือกโลก (crust) เป็ นส่วนช้นั บนสุด เปลือกโลกภาคพ้นื ทวีป
ของโลก มีความหนาประมาณ 5-60 km.
1. แบ่งเป็น 2 ช้นั คือ (continental crust)

ความหนา ~ 35-60 km.
องคป์ ระกอบ ~ ซิลคิ อนและอะลมู ินา = ไซอลั (sial)

เปลือกโลกภาคพ้นื มหาสมุทร

(continental crust)

ความหนา ~ 5-10 km.
องคป์ ระกอบ ~ ซิลคิ อนและแมกนีเซียม = ไซมา (sima)

mantle เน้ือโลก (mantle) ส่วนที่อยถู่ ดั ลงไปจากช้นั เปลือกโลก ส่วนมากเป็นของแขง็ มีความหนา
ประมาณ 2,900 km. ประกอบดว้ ยแมกนีเซียมและเหลก็ เป็นส่วนใหญ่ แบง่ เป็น 3 ช้นั คือ

1. เน้ือโลกส่วนบนสุด (uppermost mantle) มีสถานะเป็ นของแขง็ หนา
ประมาณ 5-75 km. ช้นั เน้ือโลกส่วนบนเป็ นหินท่ีเยน็ ตวั แลว้ และบางส่วนมี
1. รอยแตกเนื่องจากความเปราะ ช้นั เน้ือโลกส่วนบนกบั ช้นั เปลือกโลกรวมกนั
เรียกวา่ ธรณีภาค (Lithosphere) หนาประมาณ 100 km.

2. เน้ือโลกส่วนบน (upper mantle) หรือฐานธรณีภาค ลึก ~ 400 km. ประกอบดว้ ยหินใน
สภาพหลอมละลาย เรียกวา่ แมกมา (magma)
3. เน้ือโลกส่วนลา่ ง (lower mantle)
ลึก ~ 1,000-2,900 km. ประกอบดว้ ยหินหนืด

core แก่นโลก (core) ส่วนที่อยชู่ ้นั ในสุดของโลก มีความหนาประมาณ 3,500 กิโลเมตร
แก่นโลกแบง่ เป็น 2 ช้นั คือ

แก่นโลกช้นั นอก (oulter core)

1. แก่นโลกช้นั นอก (oulter core) ช้นั น้ี
ประกอบดว้ ยของเหลวร้อนจาพวกเหล็ก

และนิเกิล ลกึ ~ 2,900-5,100 km.

แก่นโลกช้นั ใน (inner core)

แก่นโลกช้นั ใน (inner core) ช้นั น้ีมีความกดดนั และมีอณุ หภมู ิสูงทาใหอ้ นุภาค
ของเหลก็ และนิเกิลถกู อดั แน่นจนเป็นของแขง็ ลกึ ~ 5,100- 6,370km.

1.2 การเลื่อนของทวปี ธรณีภาค ประกอบดว้ ย แผน่ ภาคพ้ืนทวีปกบั แผน่ ภาคพ้ืนสมุทรและถูกรองรับ
ดว้ ยธรณีภาค (asthenosphere) กบั ส่วนเน้ือโลก (mantle) ที่เป็ นอาณาบริเวณท่ีเป็ นหินหนืด
(magma) หินหนืดเป็นสารเหลวร้อนมีการเคลื่อนตวั ภายในโลก จึงส่งผลใหเ้ ปลือกโลก
ที่เป็ นแผ่นภาคพ้ืนทวีปและแผ่นภาคพ้ืนสมุทรเคล่ือนที่ ซ่ึงเรียกว่า “ทวีปเล่ือน”
โดยลกั ษณะการเคลอ่ื นตวั ท้งั ลกั ษณะการแยกออกจากกนั การเล่ือนชนกนั มุดเขา้ หา
กนั และการเคลอื่ นทผ่ี า่ นกนั ของเปลอื กโลก

ทฤษฎที วปี เลื่อน (Cotinental Drift)

อลั เฟรด นกั ฟิ สิกส์ผเู้ สนอแนวคิดวา่ ในอดีตทวปี ต่าง ๆ เคยเชื่อมต่อกนั เป็นแผน่ ดินเดียว เรียกวา่
“พนั เจีย (Pangea)”และลอ้ มรอบดว้ ยมหาสมุทรผนื เดียวกนั เรียก พนั ทาลสั ซา (Panthalassa)

อลั เฟรด เวเกเนอร์

(Alfred Wegener)

ทฤษฎสี นับสนนุ การเล่อื นของทวีป การเล่อื นของทวปี

1 2 3

แผน่ ธรณเี คล่อื นที่ แผ่นธรณีเคลื่อนที่ แผ่นธรณเี คล่อื นที่
เขา้ หากนั ออกจากกนั ผา่ นกัน

แผ่นเปลือกโลก

แผ่นเปลอื กโลกทวีป และแผ่นเปลอื กโลกมหาสมทุ ร

ทาความรจู้ ักกับแผ่นเปลอื กโลก

แผน่ เปลอื กโลก จากการจาแนกและกาหนดขอบเขตพบว่าโลกประกอบด้วยแผน่ เปลอื กโลก
ทงั้ หมดท้ังสิน้ 14 แผน่ ดังน้ี แบ่งเป็น แผน่ เปลอื กโลกทวีป และแผ่นเปลือกโลกมหาสมุทร

1) แผน่ เปลอื กโลกทวีป (continental plate) 7 แผ่น 2) แผ่นเปลอื กโลกมหาสมุทร (oceanic plate) 7 แผน่
• แผน่ ยูเรเชีย (Eurasian Plate) • แผ่นแปซิฟกิ (Pacific Plate)
• แผน่ อเมริกาเหนือ (North American Plate) • แผน่ ทะเลฟลิ ิปปินส์ (Philippine-sea Plate)
• แผ่นอเมรกิ าใต้ (South American Plate) • แผ่นนัซกา (Nazca Plate)
• แผ่นอินเดยี -ออสเตรเลีย (Indian-Australian Plate) • แผน่ สโกเชีย (Scotia Plate)
• แผน่ แอฟริกา (African Plate) • แผ่นฮวนเดฟกู า (Juan de Fuca Plate)
• แผน่ แอนตาร์กติก (Antarctica Plate) และ • แผ่นโคโคส (Cocos Plate) และ
• แผ่นอาหรับ (Arabian Plate) • แผ่นแครบิ เบยี น (Caribbean Plate)

1 แผน่ ธรณีเคลอื่ นท่ีเขา้ หากนั

1.1 การเคลอ่ื นหากนั ของแผ่นธรณีมหาสมทุ รชนกบั แผน่ ธรณีทวปี (มหาสมทุ ร+ทวปี )

แผ่นธรณีเคลอื่ นที่เข้าหากัน
ตวั อย่าง การเคลอ่ื นหากันระหวา่ งแผน่ ธรณีมหาสมทุ รชนกับแผน่ ธรณที วีป

เทือกเขาแอนดีส ทวีปอเมรกิ าใต้

รอ่ งลกึ กน้ สมทุ รเปรู-ชลิ ี
(Peru-Chile Trench)

1.2 การเคล่อื นหากนั ระหวา่ งแผน่ ธรณีมหาสมุทร (มหาสมทุ ร+มหาสมุทร)

แผ่นธรณีมหาสมุทรที่มีความหนาแน่นมากกว่า จะมุด
ตัวลงใต้แผ่นธรณีมหาสมุทรที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า เกิด
การหลอมเหลวเป็นแมกมาและเคลื่อนตัวข้ึนสู่ผิวโลกเป็นหมู่
เกาะภูเขาไฟรปู โคง้ เชน่ หมเู่ กาะญีป่ ุน่

สว่ นบรเิ วณทแ่ี ผน่ ธรณมี ุดตวั ลงใตแ้ ผน่ ธรณอี กี แผน่ หนง่ึ
มลี ักษณะเป็นรอ่ งลกึ แนวยาวเรยี กวา่ “ร่องลกึ กน้ สมทุ ร” เช่น
ร่องลกึ ก้นสมทุ รญี่ปุน่ และร่องลึกก้นสมุทรมาเรียนา

หมเู่ กาะญปี่ นุ่ ( Japanese Archipelago) เกิดจากการชน
กนั ระหวา่ งแผ่นเปลือกโลก 4 แผ่น ได้แก่ แผน่ เปลอื กโลก
แปซิฟิก ยเู รเชีย ฟลิ ิปปนิ ส์ และอเมรกิ าเหนอื เมื่อกว่า 25
ล้านปีกอ่ น

1.3 การเคลือ่ นหากันระหว่างแผ่นธรณที วปี (ทวีป+ทวปี )

แผนธรณที วีปทมี่ คี วามหนาแนนมากกวาบางสวนจะมุดลงส่วนท่ีเหลือจะ
เกยกันและดนั ใหแผนธรณที วีปทอ่ี ยูดานบนโกงตวั ขนึ้ เปนแนวเทือกเขาสูง
เชน เทือกเขาหมิ าลยั

2 แผน่ ธรณีเคลือ่ นที่แยกจากกัน

เป็นการเปดิ แนวรอยตอ่ ให้แมกมาไหลหรอื เกิดภูเขาไฟปะทขุ น้ึ มา เกดิ ข้ึนได้ 2 กรณี คอื
2.1 การเคลื่อนทแ่ี ยกจากกันระหว่างแผน่ ธรณีมหาสมทุ ร
2.2 การเคลอ่ื นทแี่ ยกจากกนั ระหว่างแผน่ ธรณีทวปี

2.1 การเคลอื่ นทแ่ี ยกจากกนั ระหว่างแผ่นธรณี 2.2 การเคลื่อนท่ีแยกจากกนั ระหว่างแผน่ ธรณที วปี
มหาสมุทร

เกดิ จากการแทรกดันตัวของแมกมาบริเวณแนว ที่เกิดข้ึนบริเวณแนวรอยต่อระหว่างแผ่นธรณีที่เคล่ือนที่
รอยต่อระหว่างแผ่นธรณีมหาสมุทรที่เคล่ือนที่แยก แยกออกจากกนั ซึ่งเกิดจากการแทรกดันของแมกมาจาก
ออกจากกัน ทาใหพ้ ้นื มหาสมุทรยกตัวเป็นสันเขากลาง ฐานธรณีภาค ทาให้แผน่ ธรณีแตกและทรดุ ตัวลง เกดิ เป็น
มหาสมทุ ร เชน่ สันเขากลางมหาสมทุ รแอตแลนตกิ หุบเขาทรุด พบได้ทั้งบนพ้ืนทวีปและพื้นมหาสมุทร เช่น
เดอะ เกรท รฟิ ท์ วัลเลย์ ในทวปี แอฟริกา ทะเลแดง

เกรตริฟต์แวลเลย์ (The Great Rift Valley)

3 แผน่ ธรณีเคลอื่ นทต่ี ามระดบั (ผา่ นกัน) เปน็ การเคลือ่ นที่ของแผน่ ธรณี 2 แผ่นสวนทางกัน
ในแนวระนาบ อาจทาให้เกิดการสั่นสะเทือนหรือ
แผ่นดินไหวรุนแรง และเกิดรอยเล่ือนตามแนวระดับ
ขนาดใหญ่ เช่น ทาให้เทอื กเขาเลื่อนแยกจากกัน เกิดได้
ท้ังการเคลื่อนแผน่ ธรณมี หาสมทุ ร และแผน่ ธรณที วีป

รอยเลือ่ นซานแอนเดรีย ในรัฐแคลฟิ อร์เนีย ประเทศสหรัฐอเมริกา

จบั สลากลนุ้ ใครได้ตอบ

คาช้ีแจง : ครมู ีกลอ่ งสลาก ซงึ่ ในกลอ่ งจะมสี ลากคาถามทเ่ี กย่ี วขอ้ งกับบทเรยี น
โดยครจู ะสมุ่ นกั เรยี นใหอ้ อกมาจบั สลาก คนละ 1 ครั้ง จากนน้ั ใหอ้ า่ นคาถาม
พร้อมตอบคาถาม

ป ร า ก ฏ ก าร ณ์ ทา ง ธ ร ร ม ชาติ ท่ี เ กิ ด จ าก การ เ ค ล่ื อน ตั ว ขอ ง เ ป ลื อก โล ก

แผ่นดนิ ไหว (earthquake)

เปน็ ธรณีพบิ ตั ิภัยชนดิ หน่ึง ส่วนมากเปน็ ปรากฏการณ์ทางธรรมชาตทิ ี่เกดิ จาก บรเิ วณที่เกิดแผ่นดินไหวข้ึนบ่อยครั้ง คอื ประมาณร้อยละ 70
การสั่นสะเทือนของพ้นื ดิน อันเนื่องมาจากการปลดปล่อยพลังงานเพ่ือระบาย ของการเกิดแผ่นดนิ ไหวทั่วโลก และมคี วามรุนแรงมากที่สุดจะอยู่
ความเครียด ที่สะสมไว้ภายในโลกออกมา อย่างฉับพลันเพ่ือปรับสมดุลของ โดยรอบมหาสมุทรแปซฟิ กิ หรอื ที่เรียกว่า แนววงแหวนไฟแปซฟิ กิ
เปลอื กโลกให้คงที่ โดยปกติเกิดจากการเคลอื่ นไหวของรอยเล่ือนภายใน (The Pacific Ring of Fire)
ชั้นเปลือกโลก

ป ร า ก ฏ ก าร ณ์ ทา ง ธ ร ร ม ชาติ ท่ี เ กิ ด จ าก การ เ ค ล่ื อน ตั ว ขอ ง เ ป ลื อก โล ก

ภูเขาไฟ

ภูเขาไฟประมาณ 95 เปอรเ์ ซ็นต์ เกิดจากการเคลอื่ นที่ของแผ่นเปลือกโลกมาเกยกนั เมอ่ื แผ่นเปลอื กโลก
สองแผ่นเคลอ่ื นที่ชนกันกจ็ ะทา่ ให้แผ่นโลกแผ่นหนึ่งมดุ ลงใต้แผ่นโลกอีกแผ่นหนึ่ง แผ่นที่มุดต่าลงจะเข้าสู่
ชั้นเปลอื กโลกที่มีความร้อนสูง ดังนั้นเกิดเปน็ พลงั งานความร้อนที่พยายามดันตัวออกมาสู่ภายนอก