แผนการ สอน วิชาภาษาไทย พ ท 31001

การฟงั นับว่ามคี วามสำคัญยงิ่ ในการส่งสารขอ้ มลู ตา่ งๆ แต่ถ้าฟังไม่ถูกวธิ ีกจ็ ะไม่กอ่ ประโยชนเ์ ทา่ ท่ีควร

และบางกรณีอาจเป็นโทษอกี ดว้ ย หลกั การฟังทว่ั ไปมดี ังน้ี

1. มีมารยาทในการฟงั โดยการแสดงความกระตือรือร้นทีจ่ ะฟัง ตงั้ คำถามตามความเหมาะสม

ยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ที่แตกตา่ งกันออกไป และรจู้ กั ควบคุมอารมณ์

2. ต้ังความประสงคใ์ นการฟงั ให้แน่นอน และพยายามฟังให้ได้ตามความมงุ่ หมายมากท่สี ุดใช้

วจิ ารณญาณเลือกเฟ้นแต่เรื่องท่ีควรฟัง และหลกี เลย่ี งเร่อื งทีไ่ มเ่ หมาะสม ร้จู กั แยกแยะส่วนที่เป็นขอ้ เท็จจริง

และความคดิ เหน็ รจู้ กั ใช้เหตผุ ลประกอบในการลงความเหน็ รจู้ ักการใช้ศิลปะในการฟังคือ การใช้ความ

สามารถและไหวพริบท่ีจะใหผ้ ู้พดู มีความสบายใจที่จะพดู และพูดได้ตรงจดุ ประสงค์ของผู้ฟัง เช่น การแสดงใหผ้ ู้

พดู เหน็ ว่าเราต้งั ใจฟัง เปิดโอกาสให้ผพู้ ูดได้พูดเต็มทีแ่ ละแทรกคำถามท่ีเหมาะสมในโอกาสอันควรจดบนั ทึก

สาระสำคัญและประเดน็ ท่คี วรซักถามเพิม่ เตมิ

การจบั ใจความสำคัญของเร่ือง การฟงั มคี วามม่งุ หมายประการสำคัญเพ่อื แสวงหาความรู้และ

เสรมิ สรา้ งสตปิ ญั ญาการฟงั ที่จะสัมฤทธผิ์ ลดังกลา่ วจะตอ้ งมคี วามสามารถจบั ใจความสำคัญและใจความอันดบั

รองของเร่ืองท่ีฟังได้รวดเร็วถูกตอ้ ง หลกั การพิจารณาใจความสำคญั และใจความสำคัญอันดบั รองมีดังนี้

1. ฟงั เรื่องทั้งหมดให้จบ

2. เร่อื งทฟ่ี ังเก่ยี วกบั อะไร

3. มีความสำคัญอยา่ งไร

4. เหตเุ กดิ ท่ไี หน

5. เกิดจากสาเหตอุ ะไร

6. ผลที่เกดิ ขน้ึ เปน็ อยา่ งไร

การฟังอย่างมวี ิจารณญาณ การฟงั นับว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่สดุ ในการรับสาร ในชีวิตประจำวนั คนเรามี

การรับฟังเร่ืองราวมากมาย การฟังคำพูดของคนทีค่ ุ้นเคยหรือใกลช้ ิดอาจจะไมก่ ่อใหเ้ กิดปญั หามากนัก เพราะ

เรารู้ภมู ิหลังของผู้พดู และเรื่องท่ีรับฟงั ส่วนมาก แตล่ ะวนั แตใ่ นปจั จุบนั การสือ่ สารในดา้ นตา่ งๆ เจริญมากขึ้นไม่

จากดั แต่เพยี งแต่ฟังกับคนท่ีเราพดู ด้วยแต่เรากฟ็ ังทางสื่ออิเลคทรอนคิ ส์ต่างๆ เชน่ วทิ ยุ โทรศพั ท์เทปเสยี ง เทป

ภาพวทิ ยุโทรทัศน์ ซึ่งการฟังไมไ่ ดป้ ระจันหนา้ กันบางคร้ังเป็นการสอ่ื สารทางเดียวมแี ตร่ ับฟงั เท่านนั้ ไม่สามารถ

ทจี่ ะซักถามได้อยา่ งละเอยี ดถี่ถว้ นจงึ ทำให้ก่อเกิดความไม่เข้าใจไมต่ รงกัน หรอื บางคร้ังการประกาศภยั พบิ ตั ิ

ต่างๆ ท่เี กดิ ขึ้นตามธรรมชาติหรอื มนษุ ย์เปน็ ผู้กระทำข้ึน การโฆษณาชวนเชอื่ และข่าวลอื เรอ่ื งต่างๆ ในการฟงั

เรอื่ งราวตา่ งๆ ดังกลา่ วถ้าหากเกิดฟังแล้วเช่ือหรือไม่เชื่อแล้วนำไปปฏิบตั หิ รอื งดเวน้ การปฏิบัติ หากเกิดความ

พลาดพลัง้ อาจเกิดผลเสยี หายอยา่ งรา้ ยแรงตามมาได้ ดังน้ันการฟงั ข่าวสารตา่ งๆ จะฟังอยา่ งธรรมดาไม่พนิ ิจ

พเิ คราะหข์ ่าวสารท่ีไดร้ ับนัน้ ไมไ่ ด้ การวินจิ ฉัยวิเคราะหว์ ิจารณข์ า่ วสารว่าเปน็ จริงหรอื เป็นเทจ็ ควรเช่อื ถือมาก

น้อยเพยี งใดจะตอ้ งใชค้ วามคิดใคร่ควรด้วยเหตุผล ปญั ญาและประสบการณ์ ทาความเข้าใจในสถานภาพและดู

เจตนาของผสู้ ง่ สาร ว่ามีข้อเทจ็ จริง หรอื มปี ระโยชน์ มีคุณมโี ทษเพียงใด ควรทีจ่ ะเชอ่ื แล้วปฏิบตั ิตามหรือไม่

การฟงั สารตามลกั ษณะดงั กล่าวเรยี กวา่ การฟงั อยา่ งวิจารณญาณ ดงั นนั้ การฟังอยา่ งมวี ิจารณญาณต้อง

ประกอบไปด้วยการใช้ปัญญาในการวิเคราะหพ์ ินิจพจิ ารณาไตต่ รอง เพื่อค้นหาข้อเท็จจรงิ สามารมารถวเิ คราะห์
ตัดสนิ ใจ และประเมินค่าสิ่งท่ีฟงั ได้

หลักการฟังอยา่ งวิจารณญาณ การฟังอยา่ งวจิ ารณญาณมีหลกั ปฏิบัตดิ งั น้ี
1. ผู้ฟงั พจิ ารณาวา่ ฟังเร่อื งอะไรเปน็ การฟังประเภทบทความ บทสัมภาษณ์การเล่าเรือ่ งสรุป
เหตุการณ์ ใครเป็นคนพูดคนสัมภาษณ์ ใครเป็นคนเขียนบทความ และหัวข้อน้ันมคี ุณค่าแกก่ ารฟังหรือไม่

1.1 พิจารณาผู้ส่งสารว่ามจี ุดมุ่งหมาย และมคี วามจริงใจในการส่งสารนนั้ เพียงใด
1.2 พิจารณาผสู้ ง่ สารว่ามีความรู้ ประสบการณห์ รือความใกล้ชดิ กบั เร่ืองราวในสารนั้น
เพียงใด
1.3 พจิ ารณาผ้สู ง่ สารว่าใชก้ ลวิธีในการสง่ สารนนั้ อย่างไร คือวธิ กี ารธรรมดาหรอื ยอกย้อน
ซอ่ นปมอยา่ งไร
1.4 พจิ ารณาเนื้อหาของสารว่า ส่วนใดเปน็ ข้อเทจ็ จริง ส่วนใดเปน็ ข้อคิดเหน็
1.5 พิจารณาสารวา่ เปน็ ไปได้ และควรเชือ่ เพียงใด
1.6 ผูฟ้ งั ควรประเมินวา่ ส่ิงทฟ่ี ังมีประโยชนแ์ ละมีคณุ ค่ามากน้อยเพยี งไร หลักการแยก
ข้อคิดเห็นและขอ้ เทจ็ จรงิ ในการรับฟังสาร นอกจากจะจับใจความสำคญั ของเรื่องทฟี่ ังแลว้ นักเรียนจะต้อง
แยะแยะได้ว่า ใจความตอนใดเป็นข้อคิดเหน็ สว่ นตัวของผูพ้ ูดซ่ึงจะมีลกั ษณะเม่ือพิจารณาความถูกต้องได้ยาก
และตอนใดเป็นข้อเท็จจรงิ ซึ่งเปน็ เร่อื งที่สามารถพิสูจนค์ วามถกู ต้องได้
การแยกข้อเท็จจริงและข้อคิดเห็น มดี งั น้ี
1. การแยกข้อเท็จจริง เปน็ ข้อมูลทสี่ ามารถพิสจู นไ์ ด้ เห็นวา่ เปน็ จริงหรอื เป็นเท็จ ได้จากตวั เลขเชงิ
ปริมาณต่างๆ ท่มี ีอยซู่ ง่ึ ทาการตรวจสอบไดด้ งั น้ี เช่นประชา หนกั 50 กโิ ลกรมั ,โอภาสสูงกว่าเสกสรรค์ เปน็
ตน้
2. ความคดิ เห็นเป็นเรอ่ื งของการคาดคะเนหรือการทำนายโดยอาศัยเหตผุ ลส่วนตวั ซ่งึ ควรจะเปิด
โอกาสใหม้ ีการโต้แย้งหรือสนับสนนุ เชน่ ของเก่าดีกวา่ ของใหม่ มเี งนิ ดีกวา่ มเี กียรติ
การฟงั เพ่ือประเมินคา่
การฟงั เพ่ือประเมนิ คา่ เปน็ การตรวจสอบวา่ ส่งิ ทฟ่ี งั ถูกต้องชัดเจนมเี หตผุ ล เชอ่ื ถือไดห้ รือไม่การฟัง
เพอ่ื ประเมนิ คา่ เปน็ แสดงความคดิ เหน็ ต่อข้อมลู ที่ไดร้ บั นนั้ ว่าเป็นความจริงหรอื เปน็ การโฆษณาชวนเชอ่ื ซึ่งมี
ลักษณะเปน็ การเผยแพรค่ วามคดิ ความเชื่อและความคิดเหน็ ดว้ ยกลอุบายตา่ งๆ เพ่ือโน้มนา้ วจิตใจของผู้ฟังให้
คล้อยตามที่ต้องการ และส่งิ ทีฟ่ งั นน้ั มีคณุ คา่ หรอื ไมด่ ังน้ันการฟังเพื่อประเมินค่าจึงเป็นการฟงั อย่างวิเคราะห์
วิจารณ์เพ่อื ค้นหาข้อเท็จจรงิ และตดั สนิ สง่ิ ที่ฟังวา่ มคี ณุ ค่าหรือประโยชน์อยา่ งไร

การฟังเพื่อคน้ หาขอ้ เท็จจรงิ
การฟังเพ่ือค้นหาขอ้ เทจ็ จรงิ เป็นการฟังทใ่ี ชค้ วามคดิ ไตร่ตรองและการวิเคราะห์อย่างมเี หตุผลจะชว่ ย

ใหไ้ ดข้ ้อมลู ท่ีถูกต้องเช่ือถือได้ การค้นหาข้อเท็จจริงต้องพจิ ารณาหลายๆ ดา้ นอย่างรอบคอบคือ
1. วเิ คราะหเ์ จตนาของผ้พู ูด ว่าผู้พูดมีจดุ ม่งุ หมายหรอื เจตนาอยา่ งใดอย่างหนึ่ง
2. เจตนาผพู้ ูดเพ่อื ความบันเทิง เช่นการพูดในงานพบปะสังสรรคก์ นั เพ่ือใหเ้ กิดความสนุกสนานรน่ื เริง
3. เจตนาผพู้ ดู อาจเปน็ การบอกเลา่ แถลงการณ์รายงานเรอื่ งราวตา่ งๆ เปน็ การบอกเกี่ยวกับการ

ปฏบิ ตั ิงาน บรรยายเกยี่ วกบั ทางวิชาการ เล่าเหตกุ ารณ์ท่ไี ด้พบเหน็ ประสบมาเพอื่ ใหผ้ ูอ้ นื่ ได้มีความรู้ความ
เขา้ ใจ

4. ผู้พูดอาจมเี จตนาในการพูดเพอ่ื ชักจงู ใหเ้ ห็นให้คล้อยตามหรอื เปลีย่ นความคดิ ใหป้ ฏิบัติการอย่างใด
อยา่ งหน่ึง ผพู้ ูดจะยกเหตุผลตา่ งๆ ให้ผู้ฟงั เช่ือถอื

5. วเิ คราะห์นัยของเร่ืองท่ีฟัง คอื การพิจารณาสาระสำคัญของเรื่องที่ฟัง วา่ ประเด็นหลักคืออะไร ผู้พูด
อาจจะพดู ออกมาตรงๆก็ได้ หรอื อาจมจี ุดมงุ่ หมายแอบแฝง อยู่ผฟู้ ังจะตอ้ งวิเคราะหน์ ยั สำคญั และนยั แฝง โดย
อาศยั ความรคู้ วามสามารถของผู้ฟังในการพจิ ารณาดงั นี้

5.1 ข้อมูลและความคิดเหน็ ของผู้พดู จะต้องอาศัยเหตผุ ลในการพจิ ารณาดงั น้ี
ก. ข้อมลู ท่ีรับฟังนั้นมีความจริงมากน้อยเพยี งใดเปน็ ข้อมูลเก่าหรือข้อมูลใหม่ หรอื ว่าเปน็
ความจรงิ ตามหลักตรรกวทิ ยา ซึง่ ผูฟ้ ังจะตอ้ งแยกแยะพิจารณาความเป็นไปไดข้ องข้อมูลและเจตคติของผู้พดู ใน
บางครัง้ ข้อเทจ็ จรงิ และข้อคิดเหน็ ของผู้พดู จะแยกกนั อย่างเห็นไดช้ ดั เจนแต่บางครง้ั ผู้พูดจะพูดผสมผสาน
ข้อเท็จจรงิ และข้อคิดเห็นของตนเขา้ ด้วยกัน ดังนนั้ จึงต้องแยกแยะออกจากกันใหช้ ัดเจน การโฆษณาชวนเชอ่ื
เปน็ การพูดให้ผฟู้ งั เชื่อและปฏิบัตติ าม ผู้ฟังจะต้องพิจารณาแยกแยะให้ได้วา่ แนวทางทีผ่ ู้พูดเสนอมาน้ัน หาก
ปฏิบัติตามแลว้ จะเกิดผลอยา่ งไรเป็นประโยชน์ต่อส่วนรวมหรอื ต่อผู้ฟังอย่างไรบา้ ง
ข. ความสำคญั และความเปน็ มาของเรื่อง ว่าผพู้ ดู ได้แสดงความสำคญั ตลอดจนความเป็นมา
ของเร่ืองอยา่ งไรเป็นเรอ่ื งที่นา่ สนใจที่ผู้ฟังจะไดป้ ระโยชน์หรือไม่
5.2 เน้อื หาสาระผพู้ ดู ได้พดู ไดช้ ดั เจนและพดู ไปตามลาดับความสำคญั ความยากงา่ ยของ
เร่ืองหรอื พดู ออกนอกประเดน็ ยกตวั อย่างไดช้ ดั เจนเพยี งใด
การฟงั เพ่ือตดั สินใจ
การฟังเพื่อตดั สินใจเป็นกระบวนการฟงั ชั้นสูง ผฟู้ งั มีความสามารถจะตดั สินใจเลือกส่ิงทด่ี ีทส่ี ดุ ท่ีได้
จากการฟงั นาไปใชใ้ ห้เกิดแประโยชน์ หรอื เป็นแนวทางในการปฏบิ ตั ติ น ผ้ฟู ังจะต้องรจู้ ักใช้กระบวนการคิดชว่ ย
ในการตดั สินใจแก้ปญั หา หรือเลอื กแนวทางในการนาสงิ่ ใดสิง่ หนงึ่ กระบวนการ คิดที่เป็นระบบนั้นต้อง
ประกอบดว้ ยข้อมูลสามดา้ น คอื
1. ข้อมูลเกย่ี วกบั ตนเอง ต้องรู้จักตนเองอยา่ งท่องแท้ โดยพิจารณาข้อมลู ทกุ ด้าน เช่นดา้ นสุขภาพ
ร่างกาย ความรู้ วัยสถานภาพทางสงั คม เศรษฐกจิ เป็นตน้
2. ข้อมูลเก่ียวกับสงั คมและสงิ่ แวดล้อม คือพจิ ารณาผู้อ่ืน สิ่งอื่นๆเชน่ สภาพแวดล้อทางชมุ ชน ภูมิ
ประเทศคุณธรรม ศีลธรรมจรรยาคา่ นยิ ม สงั คมตลอด จนธรรมเนยี มประเพณี เปน็ ต้น
3. นาขอ้ มูลเก่ยี วกับด้านวชิ าการมาพิจารณาร่วมด้วยเพ่อื ตัดสินเรือ่ งใดเร่ืองหนงึ่ ได้ถูกต้อง
แหลง่ ที่มา : http://www.mwit.ac.th/~saktong/learn2/20.pdf

ใบงานครงั้ ท่ี ๒

กล่มุ สาระความรพู้ ้นื ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ชนั้ มัธยมศึกษาตอนปลาย

ครั้งท่ี..........๒.........สอนวนั ท่ี …………เดอื น ………………………………………..พ.ศ. ..........

1. .ใหน้ กั ศึกษาบอกหลักในการฟงั และการดูอย่างสร้างสรรค์
............................................................................................................................................ ..................................
................................................................................................. .............................................................................
................................................................ ......................................................................................... .....................

๒. วจิ ารณญาณในการฟงั และพูด หมายถึง
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................................ ..
..............................................................................................................................................................................
๓. ขั้นตอนในการฟงั และพูดอย่างมวี จิ ารณญาณ คอื

............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................................. .............
..............................................................................................................................................................................
๔. บอกความหมายของคำต่อไปน้ี

๔.1 การวเิ คราะห์ หมายถึง
............................................................................................................................. .................................................
................................................................................................................................................ ..............................

.2 การวนิ ิจ หมายถงึ
.................................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. ...................................

5.3 การวิจารณ์ หมายถงึ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

แผนการจดั การเรียนรู้

กลมุ่ สาระความรูพ้ นื้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ชั้นมธั ยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจัดการเรียนรเู้ ร่ืองที่ 2 การอา่ น เวลา 6 ชว่ั โมง

ครัง้ ท่.ี .......๓...........สอนวนั ท่ี …………เดอื น ………………………………………..พ.ศ. ..........

มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั
1. สามารถอ่านอย่างมีวจิ ารณญาณ จดั ลำดบั ความคิดจากเร่ืองท่ีอา่ น
2. สามารถศึกษาภาษาถ่ิน สำนวน สภุ าษติ ทม่ี อี ยูใ่ นวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบัน และวรรณกรรม

ท้องถน่ิ
3. สามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ ประเมินค่าองค์ประกอบของวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบัน วรรณกรรม

ท้องถนิ่
4. สามารถคน้ ควา้ หาความรู้จากสอ่ื สิ่งพมิ พ์และส่ือสารสนเทศ
5. ปฏบิ ัติตนเปน็ ผู้มมี ารยาทในการอ่าน และนิสัยรักการอ่าน

ตวั ชี้วดั
1. ตีความ แปลความ และขยายความเร่ืองทอ่ี ่าน
2. วิเคราะห์ วจิ ารณค์ วามสมเหตสุ มผล การลำดบั ความคิดและความเปน็ ไปไดข้ องเรอ่ื งท่ีอ่าน
3. อธบิ ายความหมายของภาษาถนิ่ สำนวน สภุ าษิตทีป่ รากฏในวรรณคดี วรรณกรรมปัจจบุ นั

วรรณกรรมท้องถิ่น
4. วเิ คราะห์ วิจารณ์ประเมินคา่ วรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบนั วรรณกรรมท้องถิน่ ในฐานะ ที่เป็น

มรดกทางวัฒนธรรม ของชาติ แล้วนำไปประยกุ ต์ ใช้ในการดำเนนิ ชีวติ
5. เลอื กใช้ส่อื ในการค้นควา้ หาความรูท้ ีห่ ลากหลาย
6. มีมารยาทในการอา่ นและมนี ิสัยรักการอา่ น

สาระสำคญั
การอ่านเพื่อตีความ แปลความ ขยายความ ความหมายของภาษาถิ่น สำนวน สภุ าษิต องค์ประกอบ

ของการประเมินค่าวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ ัน และวรรณกรรมท้องถิ่น ตลอดจนมารยาทในการอ่าน

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. นกั ศึกษาสามารถอา่ นตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อา่ นได้
2. นกั ศึกษาสามารถวิเคราะห์ วจิ ารณค์ วามสมเหตสุ มผล การลำดับความคิดและความเป็นไปได้ของ

เรอื่ งท่ีอ่านได้
3. นักศกึ ษาสามารถอธิบายความหมายของภาษาถ่ิน สำนวน สภุ าษิตท่ีปรากฏในวรรณคดี

วรรณกรรมปจั จบุ นั วรรณกรรมท้องถ่ินได้
4. นักศกึ ษาสามารถวเิ คราะห์ วิจารณป์ ระเมินคา่ วรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบนั วรรณกรรมท้องถ่นิ ใน

ฐานะ ทีเ่ ป็นมรดกทางวฒั นธรรม ของชาติ แลว้ นำไปประยกุ ต์ ใช้ในการดำเนินชวี ิต
5. นักศึกษาสามารถเลอื กใชส้ ่ือในการค้นคว้าหาความรทู้ หี่ ลากหลาย
6. นักศึกษาบอกมารยาทในการอา่ นที่ดีและมนี สิ ยั รักการอ่าน

สาระการเรยี นรู้
1. หลักการตคี วาม แปลความและขยายความ
2. การอา่ นบทประพันธท์ ี่ไพเราะทง้ั ร้อยแกว้ รอ้ ยกรอง
3. การอ่านวรรคตอน ในวรรณคดี จากเร่ือง ขนุ ชา้ งขุนแผน พระอภยั มณี อิเหนา นิทานเวตาล

นริ าศ พระบาท นริ าศภเู ขาทอง ร่ายยาวมหาเวสสันดรชาดก มทั นพาธา พระมหาชนก (ทศชาตชิ าดก)
4. หลกั การวิเคราะห์ วิจารณแ์ ละประเมินค่าวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบนั และวรรณกรรมท้องถนิ่

เช่น วรรณกรรมปัจจุบัน ได้แก่ บทละครโทรทศั น์ นวนิยาย เร่ืองสัน้ บทเพลงต่างๆ วรรณกรรมทอ้ งถ่ิน
ไดแ้ ก่ ไกรทอง นางสบิ สอง ปลาบทู่ อง ผาแดงนางไอ่คำ ละครจักรๆ วงศ์ๆ ฯลฯ

5. การมมี ารยาทในการอา่ น

คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น ศกึ ษาใบความรู้ จากแบบเรียน
2. มีวินยั ทำงานตามทค่ี รูมอบหมายไดท้ ันเวลา
3. ขยนั มุ่งม่นั ในการทำงาน ทำใบงาน ทำกจิ กรรมกลุม่
4. มคี วามสามัคคี มีน้ำใจ มคี วามรบั ผิดชอบ ชว่ ยเหลอื กันทำกิจกรรมกลมุ่

กระบวนการจัดการเรยี นรู้
ขัน้ ท่ี 1 กำหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการ
1.ครแู ละนักศึกษารว่ มกนั พูดคยุ แลกเปล่ยี นประสบการณ์ท่ีมีเกี่ยวกบั การอา่ นประเภทตา่ งๆเชน่ การอา่ นนว
นิยาย การอ่านบทความ การอา่ นคำประพันธ์
2.ครูให้นักศึกษาดูตวั อย่างการอ่านวรรณกรรมจากVDO
3.ครูแนะนำการอา่ นที่ถูกต้องและรวบรวมปญั หาตา่ งๆท่ีพบจากการอ่านในชีวิตประจำวนั โดยเปดิ สอ่ื VDO

ข้นั ที่ 2 ขน้ั แสวงหาข้อมลู และจัดการเรยี นรู้ (180 นาที)
๑ ครูสนทนากบั นักศึกษาเกี่ยวกับนิทาน วา่ มเี รอื่ งใดท่นี ่าสนใจบา้ งและนิทานเร่อื งใหท้ ี่นักศึกษาชอบ ให้
นกั ศึกษาแต่ละคนแสดงความคดิ เหน็ ของตนเอง
๒ ครูอธิบายวธิ ีการอ่านนทิ านเกี่ยวกับวิธสี งั เกตและวธิ ีคดิ ให้นกั ศกึ ษาเขา้ ใจ
๓ ครโู ยงเขา้ สเู่ นือ้ หาการอา่ นเชิงวเิ คราะหจ์ ากนิทาน เรื่อง “ทำไมช้างถงึ ตาเล็กและเสือถึงมีลาย”
4 ครเู ตรยี มใบความรู้ให้นักศึกษา
5 แบ่งนกั ศกึ ษาออกเปน็ ๑๐ กลุม่ ๆ ละ ๔ คน โดยคละความสามารถทั้งคนเรียนเก่ง ปานกลาง และ
ออ่ น
6 ใหน้ ักศึกษาอ่านจากเน้ือหาท่กี ำหนดให้ เร่ิมจากการอ่านคร่าวๆ โดยตลอดก่อน แล้วอ่านโดยละเอยี ดอีก
รอบ และอ่านซ้ำในเน้ือหาท่ีไม่เขา้ ใจ
7 ครใู หแ้ ต่ละกลุ่มช่วยกนั คิดวเิ คราะห์จำแนก และจับใจความสำคญั ของเร่ืองใหไ้ ด้วา่ ใคร ทำอะไร ท่ี
ไหน เมื่อไหร่ อยา่ งไร และเป็นผลอย่างไร
8 ครูใหน้ กั ศกึ ษาในกลุ่มช่วยกันวิเคราะหเ์ นื้อหาจากนิทาน เรื่อง ทำไมช้างถงึ ตาเลก็ และเสือถึงมีลาย แลว้
สรุปเรอื่ งโดยเขียนเป็นแผนผงั ความคิดลงบนกระดาษปร๊ฟู
9.ใหน้ ักศึกษาสง่ ตัวแทนอภปิ ราย

10.ครแู ละผู้เรยี นแลกเปลยี่ นความรู้ และอภปิ รายสรปุ รว่ มกัน
11.ครูให้ผเู้ รยี นแตล่ ะคนแต่งนทิ านขนึ้ เองพร้อมวาดภาพประกอบให้สวยงามและอ่านเป็นภาษาถิน่ ของตวั
ผู้เรียนเอง
12.ครแู ละผเู้ รยี นแลกเปล่ยี นความรู้ และอภิปรายสรุปรว่ มกนั
13.ครูสรปุ ถงึ วิธีการอา่ นกับผู้อกี คร้ังพร้อมกับแจกใบงานการอ่าน

ข้ันท่ี 3 การปฏบิ ตั ิและนำไปประยุกตใ์ ช้
(120 นาที)
1.ครูยกตวั อยา่ งนริ าชภเู ขาทองใหน้ กั ศึกษาดูและอา่ นพร้อมๆกันละช่วยกนั แปลงเป็นรอ้ ยแกว้
2.ครูแจกบทวรรคตอนจากวรรณคดใี หแ้ ตล่ ะกลุ่มแล้วถอดเปน็ รอยแกว้ และอา่ นเพื่อแลกเปล่ยี นความรู้
3.ครูให้ผเู้ รียนคน้ ควา้ วรรณคดไี ทย ๑ เรื่อง เช่น
ขนุ ช้างขนุ แผน พระอภยั มณี อเิ หนา
นทิ านเวตาล นริ าศ พระบาท นริ าศภเู ขา
ทอง ร่ายยาวมหาเวสสนั ดรชาดก
มทั นพาธา พระมหาชนก (ทศชาตชิ าดก)
เพ่ือมาเรยี นรใู้ นการพบกลมุ่ คร้งั ถดั ไป
ข้นั ท่ี 4 การประเมินผลการเรียนรู้
1.ประเมนิ การวิเคราะหจ์ ากการอา่ นจากนิทานที่แตง่ ขน้ึ เอง 10คะแนน
2.กิจกรรมกลมุ่ 10 คะแนน
3.ใบงาน 10 คะแนน
4.การมาพบกลุ่ม 10 คะแนน
ส่ือการเรียนการสอน

1. ใบความรู้
2. หนงั สอื แบบเรยี น
3. ใบงาน

การวดั ผลประเมนิ ผล
วิธกี ารวัด
1. สังเกตพฤติกรรมระหวา่ งการเรยี นรู้
2. วัดความรจู้ ากการทำกิจกรรมในใบงาน
เครอื่ งมอื
1. ใบงาน

เกณฑ์การวัดผลประเมนิ ผล
1. นักศึกษามีผลคะแนนในการทดสอบไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 50
2. การมสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมกลุ่ม

แหลง่ การเรยี นรู้/สบื ค้นขอ้ มูลเพ่มิ เตมิ
1.ห้องสมดุ ประชาชน

2. กศน.ตำบล
3. แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ
4. internet

ลงช่อื ………………………………………….ครผู ู้สอน ว่าที่ร้อยโท………………………………………
() (ประวิตร จินตประสาท)
ผ้อู ำนวยการ กศน.บาเจาะ
ตำแหนง่ ………………………………………………

ใบความรู้ คร้ังที่ ๓

กล่มุ สาระความรพู้ ืน้ ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ช้ันมธั ยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจัดการเรียนรเู้ ร่ืองที่ ๓ การอ่าน เวลา 6 ชั่วโมง

ครงั้ ท.่ี ..................สอนวันที่ …………เดือน ………………………………………..พ.ศ. ..........

หลักการอา่ น ลักษณะของคนทอี่ ่านหนงั สือเป็น
1. อ่านแลว้ รู้เรื่องราวได้ตลอดแจม่ แจ้ง คือ อ่านแลว้ จบั ใจความของเรอื่ งได้ หรือ ร้เู ร่ืองได้โดยตลอด
2. ไดร้ ับรสชาติของการอ่าน คอื อ่านแล้วเกิดความซาบซ้งึ ตามเนื้อหา เกิดอารมณ์รว่ มไปกบั เรือ่ งท่ีอ่าน
3. วินจิ ฉัยคณุ ค่าของส่งิ ที่อา่ นได้ คือ เห็นประโยชน์ของเน้ือหาทีอ่ า่ น
4. รู้จกั นำสงิ่ ท่เี ปน็ ประโยชนจ์ ากเรื่องทอี่ ่านมาใช้เหมาะสมกบั สถานการณ์
5. ร้จู ักเลอื กหนงั สือท่ีอา่ นได้เหมาะสมตามความต้องการในแตล่ ะโอกาส
ประเภทของการอา่ น มี 2 ประเภทคือ
1. การอ่านออกเสียง คือ การอา่ นทผ่ี ู้อืน่ สามารถได้ยินเสียงอ่านด้วย
2. การอ่านในใจ
ใจความสำคัญ หมายถงึ ข้อความท่ีเปน็ แกนหรือหวั ใจของเร่ือง
ความหมายของคำมี 2 อย่าง คอื ความหมายโดยตรงและความหมายโดยนยั
1. ความหมายโดยตรง เป็นความหมายตามรูปคำที่กำหนดขึ้นและรบั รู้ได้

เข้าใจตรงกัน
คำพ้อง 3 มีลักษณะ คอื
1. คำพอ้ งรปู คือ คำทส่ี ะกด(เขียน) เหมือนกนั แต่ออกเสยี งต่างกัน เชน่

เพลารถ กบั เพลาเยน็ (เพ-ลา)
2. คำพอ้ งเสียง คือ คำทอี่ อกเสยี งเหมือนกันแตส่ ะกดต่างกัน เช่น

การ กาน กานต์ กานท์ กาล กาฬ การณ์ กาญจน์
3. คำพ้องรูปพอ้ งเสียง คือ คำท่สี ะกดเหมอื นกันและออกเสียงเหมือนกัน

แต่มีความหมายต่างกนั เชน่
ฉัน หมายถึง ตัวของเรา ฉนั หมายถงึ กนิ ทาน ใช้กับพระสงฆ์
เชอื่ ม หมายถึง ทำให้มรี สหวาน เชอื่ ม หมายถึง ทำใหต้ ดิ เป็นเนื้อเดียวกนั
2. ความหมายโดยนัย (ความหมายรอง หรอื ความหมายแฝง)
เปน็ ความหมายทีส่ ่ือหรือนำความคิดใหเ้ ก่ียวโยงไปถึงบางสิ่งบางอยา่ ง ท่ลี ักษณะหรือคุณสมบตั เิ หมือน
ความหมายโดยตรง เชน่ ขาทำงานเอาหนา้ (หมายถงึ ทำงานเพ่ือผลประโยชน์ของตวั เอง) นกั การเมืองชอบ
สาดโคลนให้กัน (หมายถึง พูดให้ร้าย) บ้านนีร้ วยแต่เปลือก (ไมร่ วยจริง)

สำนวน หมายถึง ขอ้ ความทม่ี ีความหมายพิเศษไปจากคำที่ประกอบอยู่ในข้อความน้ันไม่ไดม้ ี
ความหมายตามรูปคำ มีความหมายเปน็ เชิงเปรียบเทียบ ต้องอาศยั ความตีความ เชน่ อ้อยเข้าปากช้าง หมายถึง
ของทไ่ี ปอยู่ในมือของคนอน่ื แลว้ เอาคนื ไม่ได้ ววั หายลอ้ มคอก หมายถึง เมื่อเกดิ ความเสียหายแลว้ จงึ คดิ ปอ้ งกนั
ชน้ี กบนปลายไม้ หมายถงึ การพดู ถึงส่ิงสุดวิสัยทจ่ี ะทำได้ แขวนนวม หมายถึง เลิกสิ่งที่ทำมาก่อน
งามหนา้ หมายถึง ทำสิ่งท่ีขายหนา้ จนตรอก หมายถงึ หมดหนทางที่จะหนี ทิ้งทวน หมายถงึ ทำดีทสี่ ดุ เป็น
ครั้งสุดท้าย บอกศาลา หมายถึง บอกเลิก ตัดขาดไมค่ บค้า
พระอิฐ พระปูน หมายถงึ ทำน่งิ เฉยไมเ่ ดือดร้อน
ลอยแพ หมายถงึ ถูกไล่ออก ปลดออก

คำพังเพย หมายถงึ ถ้อยคำที่กลา่ วข้ึนมาลอยๆ เป็นกลางๆมคี วามหมายเปน็ คติสอนใจวสามารถนำตคี วามแลว้
นำไปใชพ้ ดู เชน่

-รำไมด่ ีโทษปีโ่ ทษกลอง หมายถงึ คนทที่ ำผดิ เองแต่ไปกล่าวโทษคนอ่ืน ขชี่ ้างจบั ตั๊กแตน หมายถึง การ
ลงทนุ มากเพื่องานท่ีไดผ้ ลน้อย ไมง้ ามกระรอกเจาะ หมายถึง หญงิ สวยท่ีมีมลทิน มือไมพ่ ายเอาเทา้ รา
น้ำ หมายถงึ ไม่ชว่ ยแล้วยังขดั ขวาง คำพังเพยทมี่ ีความหมายเชงิ เปรียบเทียบ เชน่ ไกง่ ามเพราะขน คนงาน
เพราะแต่ง ตักน้ำใสก่ ระโหลกชะโงกดูเงา หนีเสือปะจระเข้ มือไมพ่ ายเอาเทา้ รานำ้
คำอปุ มาอปุ ไมย หมายถงึ ถ้อยคำทเี่ ป็นสำนวนพวกหนึ่งเป็นทำนองเปรยี บเทยี บให้เหน็ จรงิ เข้าใจและเกิดแจ่ม
แจ้ง ภาพพจน์ชัดเจน เช่น ดเุ หมอื นเสือ ขรุขระเหมอื นผิวมะกรูด แข็งเหมือนเพชร กรอบเหมือนขา้ วเกรยี บ
กลมเหมือนมะนาว ใจดำเปน็ อีกา บริสุทธ์ิเหมือนหยาดน้ำค้าง ตาดำเปน็ นลิ หน้าขาวเหมือนไขป่ อก
การตคี วาม เป็นความเข้าใจความหมายของคำ สำนวน ข้อความหรอื เนื้อหาซึง่ ไม่ได้มคี วามหมายตามตวั อักษร
เปน็ สง่ิ ทตี่ อ้ ง อาศัยประสบการณ์ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
1. ประเภทรอ้ ยแกว้ ได้แก่ บทความ ขา่ ว ประกาศและโฆษณาต่างๆ
2. ประเภทร้อยกรอง ไดแ้ ก่ กลอนตา่ งๆ โวหาร
โวหาร หมายถงึ การใช้ถ้อยคำอย่างมีชัน้ เชงิ เพ่ือกล่าวความ
ให้เปน็ เร่อื งราว มี อยู่ 5 ลกั ษณะคือ
1. บรรยายโวหาร หมายถึง โวหารท่ีใชแ้ ละการอธิบายเล่าเรื่องราวเหตุการณ์ เพ่ือให้ผู้อ่านไดร้ บั ความรู้
2. พรรณโวหาร คอื โวหารท่ีกลา่ วถงึ ความงานของธรรมชาติ หรอื สง่ิ ตา่ งๆ เพ่อื ใหผ้ ู้อา่ นเกิดความซาบซงึ้ และ
อารมณ์คล้อยตาม
3. เทศนาโวหาร เป็นโวหารทแี่ สดงการสั่งสอนหรือชกั จูงให้ผูอ้ า่ นคล้อยตาม ช้ีแนะคุณและโทษ
4. อปุ มาโวหาร คือ การใชโ้ วหารเปรยี บเทยี บ ประกอบข้อความ เพ่อื ให้ผอู้ า่ นเขา้ ใจชดั เจนยง่ิ ขน้ึ
5. สาธกโวหาร คอื โวหารทยี่ กเป็นตวั อยา่ งมาประกอบข้อความเร่อื งราวใหเ้ ข้าใจชดั เจนยงิ่ ขน้ึ

ใบงาน คร้งั ที่ 3

กลุ่มสาระความร้พู ื้นฐาน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจัดการเรียนรู้เรือ่ งที่ 2 การอา่ น เวลา 6 ชวั่ โมง

คร้งั ท.ี่ ..................สอนวันที่ …………เดือน ………………………………………..พ.ศ. ..........

จงตอบคำถามต่อไปนี้
1. ความสำคญั ของการอา่ น
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................... ..................................................... ..................
............................................................................................................................. ................................................
2. วจิ ารณญาณในการอา่ น หมายถงึ
............................................................................................................................. .................................................
...................................................... ............................................................................................ ............................
...... .....................................................................................................................................................................
3. ขนั้ ตอนของการใชว้ ิจารณญาณในการอ่าน
............................................................................................................................. .................................................
........................................................................................................................................................................... ...
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
4. หลักการใชว้ จิ ารณญาณในการอ่าน
.................................................................................... ..........................................................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
5. การอา่ นตีความ
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................. .................................................
............................................................................................................................................................................
6. การอ่านขยายความ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ...............................................
7. การอ่านจับใจความหรือสรุปความ
............................................................................................................................. .................................................
..............................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................................

แผนการจัดการเรยี นรู้

กลุ่มสาระความรพู้ น้ื ฐาน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ช้ันมัธยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจัดการเรยี นรู้เร่ืองที่ 4 หลักการใชภ้ าษา เวลา 6 ชั่วโมง

ครงั้ ท่.ี ...........4......สอนวันที่ …………เดอื น ………………………………………..พ.ศ. ..........

มาตรฐานการเรียนรู้ระดบั
1. รูแ้ ละเขา้ ใจธรรมชาติของภาษา
2. สามารถใช้ภาษาสร้างมนษุ ยสัมพันธใ์ นการปฏบิ ตั ิงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ และใช้คำราชาศพั ท์ คำสุภาพ

ไดถ้ ูกต้องตามฐานะของบุคคล
ตัวชว้ี ดั

1. อธิบายธรรมชาตขิ องภาษา และใช้ประโยคตามเจตนา ของการสือ่ สาร
2. เลือกใช้ถ้อยคำ สำนวนสุภาษิต คำพังเพยใหต้ รงความหมาย
3. ใช้ประโยคได้ถกู ตอ้ งตามเจตนาของผ้สู ง่ สาร
4. ใชค้ ำสุภาพ และคำราชาศัพทใ์ ห้ถูกต้องตามฐานะและบุคคล
5. แต่งคำประพันธ์ประเภทร้อยกรองได้
สาระสำคญั
หลกั การใช้ภาษา
ธรรมชาตขิ องภาษา การใชถ้ ้อยคำ ประโยค สำนวน สุภาษิต คำพังเพย คำสภุ าพ คำราชาศัพท์
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นักศกึ ษาสามารถอธบิ ายธรรมชาตขิ องภาษา และใช้ประโยค ของการส่ือสารได้อยา่ งถกู ต้อง
2. นกั ศกึ ษาสามารถเลอื กใชถ้ ้อยคำ สำนวนสุภาษติ คำพงั เพยใหต้ รงความหมายและความเหมาะสม
3. นักศกึ ษาสามารถใช้ประโยคท่สี อื่ ความหมายต่างๆได้ถกู ตอ้ ง
4. นกั ศึกษาเลือกใชค้ ำสภุ าพ และคำราชาศัพท์ใหถ้ ูกต้องตามฐานะและบุคคล
5. นกั ศึกษาสามารถแต่งคำประพนั ธ์ประเภทร้อยกรองได้
สาระการเรยี นรู้
1. ธรรมชาตขิ องภาษา
- การเปลี่ยนแปลงของภาษา - ลกั ษณะของภาษา - พลงั ของภาษา
2. การใชถ้ ้อยคำ สำนวน สภุ าษติ คำพงั เพย
3. โครงสรา้ งของประโยค รูปประโยค และชนิดของประโยค
4. ระดับภาษา
5. คำสภุ าพ
6. คำราชาศพั ท์
7. การแตง่ คำประพันธ์ประเภทร้อยกรอง
คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ใฝ่รใู้ ฝ่เรียน ศึกษาใบความรู้ จากแบบเรยี น
2. มีวนิ ยั ทำงานตามท่ีครูมอบหมายไดท้ นั เวลา
3. ขยนั มงุ่ มัน่ ในการทำงาน ทำใบงาน ทำกิจกรรมกล่มุ
4. มคี วามสามคั คี มนี ้ำใจ มีความรับผิดชอบ ช่วยเหลือกนั ทำกจิ กรรมกลมุ่
กระบวนการจัดการเรียนรู้

ขน้ั ท่ี 1 กำหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการ
1. ครแู จ้งจุดประสงค์การเรยี นร้ใู หน้ ักศึกษาทราบ
2. ครูและนกั ศึกษารว่ มกันพูดคยุ แลกเปลี่ยนประสบการณ์ท่มี ีเกย่ี วกบั กลักภาษา
3. ครูให้นักศกึ ษาอา่ นประโยค ท่ีประกอบไปดว้ ยคำภาษาไทย ภาษาเขมร ภาษาบาลีสนั สกฤต ให้นกั เรยี น
สังเกตวา่ คำใดเปน็ คำไทย และคำใดเปน็ คำที่มาจากภาษาอน่ื
4. นกั เรยี นแสดงความคดิ เหน็ ว่าเหตใุ ดจึงคิดว่าแถบประโยคที่ 2เปน็ คำไทยสงั เกตจากลักษณะใด
5. ให้นักเรยี นศึกษาค้นควา้ เพ่ิมเตมิ จากหนังสือเรยี น เรอ่ื งลกั ษณะของภาษาไทย
6. ครยู กตวั อยา่ งคำขวญั วันเด็กป2ี 558 ใหผ้ ู้เรยี นอา่ นพร้อมๆกันแล้ววเิ คราะห์ถึงความหมาย

ขัน้ ท่ี 2 ข้นั แสวงหาข้อมลู และจดั การเรียนรู้ (180 นาท)ี
1..ครเู ชื่อมโยงถึงวรรณกรรมจากงานครงั้ ก่อนแลว้ ใหผ้ ู้เรยี นค้นควา้ แลว้ ให้ยกบทขอ้ ความที่ชอบหนึง่ หัวข้อ
แลกเปลี่ยนความรู้
2.ครอู ธิบายเรื่องโครงสรา้ งประโยค,ขอ้ ความส้นั ที่มใี จความสมบรู ณ์ แสดงให้รูว้ ่า ใคร ทำอะไร ที่ไหน อยา่ งไร
3.ครูใหผ้ เู้ รียนแบง่ กลมุ่ ๆละ 4-8คน สง่ ตวั แทนหนา้ ช้ันเรียน กลุ่มละ 1 คน
4. ครูนำบัตรคำมาแสดงหนา้ ช้ันเรยี นแล้วใหต้ ัวแทน ตอ่ ประโยคทลี ะคนต่อกันจากบตั รคำโดยให้เน้ือหา
ต่อเนือ่ งกันเพอื่ ให้ผู้เรยี นดเู ป็นตัวอย่าง เช่น ถ้าฉันบินได้
5.ครกู ำหนดประโยคและใหแ้ ตล่ ะกลุ่มเขียนแลว้ ส่งตอ่ ใหเ้ ป็นเร่ืองเดียวกันโดยกำหนดกลุ่มตามกฎกติกาทีค่ รู
กำหนดเชน่ กำหนดจำนวนพยางค์ กำหนดจำนวนพยัญชนะขึ้นต้น , กำหนดสระ,กำหนดประโยคความเดยี ว
,ความรวม, ความซ้อน ให้มีในประโยค
6.ครูสรปุ องค์ความรู้ของรปู ประโยค
7.ครูแจกบตั รคำรูปภาพใหแ้ ต่ละกลมุ่ แต่งประโยคจากรูปภาพโดยครกู ำหนดในหัวข้อ ภาคประธาน ภาคแสดง
8. ครสู รปุ ความรู้เร่ืองสว่ นประกอบประโยค
9. ครูกำหนดคำพังเพยแล้วซักถามผเู้ รยี น
10.ครแู จกบัตรคำพงั เพยให้ผู้เรยี นนำพยัญชนะหน้าคำในกลุ่มคำ ออกมาสรา้ งคำใหม่แล้วนำคำใหม่ไปแต่ง
ประโยคใหไ้ ด้ใจความสมบูรณ์
11. ครูร่วมกบั นกั ศกึ ษา โดยครูใหข้ ้อสังเกตเก่ยี วกบั บัตรคำในแต่ละคู่ว่ามคี วามสอดคล้องกันอย่างไร
12. ครอู ธบิ ายใหน้ กั ศึกษาเข้าใจความสำคญั ของภาษา ซ่ึงเปน็ การส่อื สารดว้ ยลายลักษณอ์ ักษรเพื่อส่อื
ความหมายใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจได้ตรงตามความต้องการ
13. ให้นกั ศกึ ษาศกึ ษาความรู้เร่ือง การใชภ้ าษาประกอบ จากหนังสอื เรียน และแจกใบงานเร่อื งหลกั ภาษา

ข้ันท่ี 3 การปฏบิ ตั แิ ละนำไปประยุกต์ใช้(120 นาที)
1. ครูให้ผเู้ รียนเขยี นเลือกเขียนคำประพนั ธป์ ระเภทร้อยแก้วในหัวข้อเรอ่ื ง อาหารไทยเพื่อสขุ ภาพ,เทคโนโลยี
กับชวี ติ ประจำวัน, ธรรมชาตกิ ับชีวติ , ความรกั ของพ่อแม่
2. ครูมอบหมายใหน้ ักศึกษาออกแบบและเขียนบตั รอวยพรปใี หม่ ถอ้ ยคำท่ีเป็นมงคล พร้อมระบายสี และ
ตกแต่งใหส้ วยงาม
3. นกั ศกึ ษาและครรู ว่ มกันกำหนดระยะเวลาในการส่งผลงานร่วมกัน

ข้นั ท่ี 4 การประเมินผลการเรยี นรู้
1.บตั รอวยพรปใี หม่ 10 คะแนน
2.กิจกรรมกลุ่ม 10 คะแนน
3.ใบงาน 10 คะแนน
4.การมาพบกลุม่ 10 คะแนน

เตมิ เต็มองค์ความร้พู ร้อมมอบหมายงาน
ส่อื การเรียนการสอน

1. ใบความรู้
2. หนังสอื แบบเรียน
การวัดผลประเมนิ ผล
วธิ ีการวัด
1. สังเกตพฤติกรรมระหวา่ งการเรยี นรแู้ ละกิจกรรมกลมุ่
2. วัดความรู้จากการทำกจิ กรรมในใบงาน
เครือ่ งมือ
1. ใบงานกิจกรรมกล่มุ
2. ใบงาน
เกณฑก์ ารวดั ผลประเมนิ ผล
1. นักศกึ ษามีผลคะแนนในการทดสอบไม่น้อยกว่าร้อยละ 50
2. การมีส่วนรว่ มในกิจกรรมกลุม่

แหลง่ การเรียนร/ู้ สบื คน้ ข้อมูลเพิ่มเติม
1.หอ้ งสมดุ ประชาชน
2. กศน.ตำบล
3. แหล่งขอ้ มลู สารสนเทศ
4. internet

ลงชื่อ………………………………………….ครผู ู้สอน วา่ ท่รี อ้ ยโท………………………………………
() (ประวิตร จินตประสาท)
ผ้อู ำนวยการ กศน.บาเจาะ
ตำแหนง่ ………………………………………………

ใบความรู้ครั้งท่ี 4

กลมุ่ สาระความรพู้ ้นื ฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ชน้ั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย

แผนการจดั การเรยี นรู้เรอื่ งที่ 4 หลักการใชภ้ าษา เวลา 6 ช่วั โมง

คร้งั ท.่ี ...........4.......สอนวันที่ …………เดือน ………………………………………..พ.ศ. ..........

หลักการใช้ภาษาไทย
ธรรมชาติของภาษา
1. ภาษาในความหมายอย่างแคบ คือ ภาษาพูดของคน
2. ทุกวนั นี้ ยังมีอีกหลายภาษาทไี่ ม่มีภาษาเขียน
3. แต่ละกลุ่มกำหนดภาษากันเอง เสยี งในแต่ละภาษาจึงมีความหมายไม่ตรงกนั
4. ลกั ษณะของภาษาทัว่ ๆ ไป

1. มีเสยี งสระและพยญั ชนะ (วรรณยกุ ต์มบี างภาษาเชน่ ไทย,จนี )
2. ขยายให้ใหญข่ นึ้ ได้
3. มคี ำนาม, กรยิ า, คำขยาย
4. เปล่ียนแปลงได้
5. ภาษาเปลย่ี นแปลงได้ เพราะสาเหตุหลายข้อ เชน่ ส่งิ แวดลอ้ มเปล่ยี น เชน่ ขายตัว ศักดนิ า จริต สำส่อน
แกล้ง ห่ม การพูด ได้แก่ การกรอ่ นเสียง และกลมกลนื เสียง
กรอ่ นเสียง เชน่ "หมากพร้าว" กร่อนเป็น"มะพร้าว"
กลมกลืนเสียง เชน่ "อย่างไร" กลืนเสยี งเปน็ "ยังไง"
เสยี งในภาษาไทย
อกั ษรควบ - อักษรนำ
อกั ษรควบ มี 2 แบบ คือ
ควบแท้ -> ออกเสยี งพยัญชนะตน้ ทั้ง 2 เสยี ง เชน่ ปลา ครีม เปน็ ต้น
ควบไม่แท้ -> ออกเสยี งพยญั ชนะต้นตัวแรกตัวเดียว มี 2 กรณี ดงั นี้
- แสรง้ จริง เศรษฐี เศร้า
- ออกเสียง ทร เปน็ ซ เช่น ไทร ทราย ทรุด
อกั ษรนำ คือ คำที่
- อา่ นหรือเขยี นแบบ มี "ห" นำพยัญชนะตน้ อีกตวั เชน่ หลอก หรู หนี หวาด ตลาด(ตะ-หลาด) ปรอท(ปะ-
หรอด) ตลก(ตะ-หลก) ดเิ รก(ดิ-เหรก)
- รวมทั้งคำว่า " อย่า อยู่ อยา่ ง อยาก”
เสยี งพยญั ชนะต้น
เสียงพยัญชนะตน้ คือ เสยี งท่ีนำเสียงสระ
เสียงพยัญชนะตน้ มีอยู่ 2 ประเภท คอื
1. เสียงพยัญชนะเด่ียว = ออกเสยี งเสียงพยัญชนะตน้ เสียงเดียว เช่น มา วิน ตี นุก หมู
2.เสยี งพยญั ชนะประสม ออกเสียงเสียงพยัญชนะตน้ สองเสียงควบกัน เช่น กราบ ความ ปราม ไตร
- ผิ ออกเสยี งพยัญชนะต้น 1 เสยี ง คือ /ผ/
- ผลิ ออกเสียงพยญั ชนะต้น 1 เสียง คอื /ผล/
- ผลติ ออกเสยี งพยัญชนะต้น 2 เสียง คอื /ผ/ , /ล/ (คอื เวลาออกต้องแยกว่า ผะ-หลิด).เสียงพยญั ชนะ
ตวั สะกด (พยัญชนะท้าย)

เสียงพยัญชนะทา้ ย เสยี งพยัญชนะทีอ่ ยูห่ ลังเสยี งสระ
เสียงพยัญชนะท้าย มี 8 เสยี ง คอื
แม่กก แทนด้วยเสียง /ก/ แม่กด แทนดว้ ยเสียง /ต/ แม่กบ แทนด้วยเสยี ง /ป/ แมก่ ม แทนดว้ ยเสยี ง /ม/ แม่
กน แทนด้วยเสยี ง /น/ แม่กง แทนด้วยเสียง /ง/ แมเ่ กย แทนดว้ ยเสียง /ย/ แม่เกอว แทนด้วยเสียง /ว/
เชน่ นาค เสียงพยัญชนะท้าย ช /ก/ รด เสยี งพยัญชนะท้าย = /ต/
เสยี งสระ
1.เสยี งสระสน้ั ยาวให้ดูตอนท่ีออกเสยี งอย่าดูทีร่ ูปเชน่ วดั ออกเสียงสระสั้น ชา่ ง สระสัน้ เท้า สระยาว เนา่
สระสั้น น้ำ สระยาว ชำ้ สระสัน้
2.เสยี งสระ มี 2 ประเภท คือ
สระประสม มี 6 เสยี ง คือ อวั ะ อัว เอือะ เอือ เอียะ เอีย
สระเด่ียว มี 18 เสยี ง คอื สระท่ีไม่ใช่ อวั ะ อัว เอือะ เออื เอยี ะ เอีย
5.เสียงวรรณยุกต์ มี 5 ระดบั คอื สามัญ เอก โท ตรี จตั วา
6.พยางค์ คือ เสียงท่ีออกมา 1 ตร้ัง มี 2 ประเภท คอื
พยางคเ์ ปิด พยางคท์ ี่ไม่มีตัวสะกด เชน่ เธอ มา ลา สู่
พยางคป์ ิด พยางคท์ ี่มเี สยี งตวั สะกด เช่น ไป รบ กบั เขา
คำ
1.คำมูล = คำดง้ั เดมิ เชน่ กา เธอ ว่ิง วุน่ ไป มา
2.คำซำ้ = คำมูล 2 คำทเ่ี หมือนกันทุกประการ คำท่สี องเราใสไ่ มย้ มกแทนได้ เชน่ วิ่งวิ่ง (ว่งิ ๆ) นอ้ งน้อง
(น้องๆ) บางทีคำที่เหมือนกนั มาชดิ กนั ไม่ใช่คำซ้ำเพราะความหมายไมเ่ หมือนกนั เช่น เขามีท่ีท่ีบางนา
3.คำซอ้ น (คำคู่) คำมลู ท่ีมีความหมายเหมือนหรอื คล้ายไม่กต็ รงขา้ มมารวมกนั เช่น เกบ็ ออก จิตใจ ผู้คน
สร้างสรรค์ ขนมนมเนย ถว้ ยชาม แขง็ แรง เด็ดขาด ตดั สิน ดึงดนั ชว่ั ดี ถหี่ ่าง
4.คำประสม คำมูล 2 คำมารวมกนั เป็นคำใหม่ และคำใหม่น้ันมเี ค้าความของคำเดิมที่นำมารวมกันเช่น น้ำพริ
ปลาทู ขนมปงั ไส้กรอก ไก่ยา่ ง ผา้ พนั คอ เข็มฮีกยา เลือกตั้ง เจาะข่าว โหมโรง ปากหวาน
5.คำสมาส คำบาล+ี สนั สกฤต 2 คำมารวมกนั (บาลีท้ังคู่ก็ได้ สนั สกฤตท้งั คู่ก็ได้ คำบาลี+สันสกฤตก็ได)้ ถ้าคำที่
เอามารวมกนั เปน็ คำภาษาอนื่ ทไ่ี มใ่ ชภ่ าษาบาลี สนั สกฤต ก็จะไม่ใชค่ ำสมาส
วิธีสังเกตคำสมาสอย่างงา่ ย คือคำสมาสจะอ่านเนื่องเสียงระหวา่ งคำ กค็ ือเวลาอ่านตรงกลางจะออกเสียงสระ
ดว้ ย เช่น ราช(ชะ)การ อบุ ัติ(ต)ิ เหตุ
6.คำสนธิ คำสมาสประเภททเ่ี ราเอาพยัญชนะตัวสดุ ท้ายของคำหนา้ ไปแทนท"ี่ อ"ตวั แรกของคำหลงั เช่น
ชล+อาลยั = ชลาลยั ศิลป + อากร = ศิลปากร
วธิ กี ารจะดูว่าคำไหนเปน็ คำสมาสหรอื สนธิ คอื แยกคำ 2 คำออกจากกนั
- ถ้าแยกออกเปน็ คำไดเ้ ลย = คำสมาส
- ถ้าแยกแลว้ ต้องเติม"อ" ไปท่ีคำหลัง = คำสนธิ
ชนิดของคำ
1.คำนาม คือคำทใี่ ชเ้ รียกช่ือส่ิงตา่ ง ๆ เช่นตู้ โต๊ะ เก้าอี้
2.คำกรยิ า คือ คำแสดงการกระทำ เชน่ เดนิ นั่ง วิง่ นอน คยุ กิน
4.คำวเิ ศษณ์ คือคำ ขยาย เชน่ แดง ดำ สงู ต่ำ เปร้ียว หวาน
5.คำเชือ่ ม มี 2 ประเภท คือ บุพบท สนั ธาน วธิ ดี ูให้ดขู ้อความที่ตามมา
สนั ธานจะต้องตามดว้ ยประโยค เชน่ ปลาหมอตายเพราะปากไม่ดี
บุพบทจะตามดว้ ยข้อความทีไ่ ม่ใชป่ ระโยค เช่น ปลาหมอตายเพราะปาก

โครงสรา้ งของคำ ชนิดของคำเอามารวมกนั เชน่
แม่บา้ น = แม่ + บ้าน = นาม + นาม
ทองแดง = ทอง + แดง = นาม + วิเศษณ์
ต้มยำ = ตม้ + ยำ = กรยิ า + กรยิ า
สามลอ้ = สาม + ลอ้ =วิเศษณ์ + นาม
หอ้ งรับแขก = ห้อง + รับ +แขก = นาม + กรยิ า + นาม
ประโยค
1.เจตนาประโยคมี 3 อยา่ ง = แจ้งใหท้ ราบ (บอกเล่า) ถามให้ตอบ (คำถาม) บอกให้ทำ (คำสัง่ )
2.โครงสรา้ งของประโยค หมายถึง ส่วนประกอบของประโยค คือ ประธาน กริยา กรรม สว่ นขยาย
เช่น พอ่ ฉนั กนั ข้างเก่งมาก ( ประธาน ขยาย(พ่อ) กรยิ า กรรม ขยาย(กิน) ขยาย(เก่ง) )
3.ชนดิ ของประโยค มี 3 ชนดิ
-ประโยคความเดยี ว : มปี ระธาน กรยิ า กรรม อย่างละตัว
-ประโยคความซ้อน : มี 2 ประโยคมารวมกัน ใชค้ ำเชือ่ ว่า ที่ ซึ่ง อัน วา่ ให้
-ประโยคความรวม : มี 2 ประโยคมารวมกนั ด้วยคำเชือ่ มคำใดก็ได้ ยกเว้น ท่ี ซ่ึง อนั วา่ ให้ (ถา้ ใช้ ท่ี ซง่ึ อนั
วา่ ให้ เช่ือม จะเปน็ ประโยคความซอ้ น)
4.จำนวนประโยค
-ปกตจิ บ 1 ประโยค = นบั เป็น 1 ประโยค
-ถา้ มคี ำเช่ือมเราคือวา่ ประโยคนน้ั ยงั เปน็ ประโยคเดยี วกบั ข้างหนา้
เช่น เขากินข้าวแลว้ 1 , เขากินข้าวแล้ว ตอนนเี้ ขาเข้านอนแลว้ 2 , เขากนิ ข้าวก่อนจะเข้านอน 1
5.วลี คือ กล่มุ คำท่ีไม่ใช่ประโยค บางทีก้อยาวจนเกือบจะเปน็ ประโยค แตก่ ้อไมใ่ ช่ประโยค
วิธีดวู ่าจะเป็นวลี หรือประโยค ถ้าอ่านแลว้ เหมือนจะไม่จบ (ประมาณว่าร้สู กึ ต้องมีอะไรตอ่ นะ) แสดงว่าเป็นวลี
แต่ถ้าอ่านแลว้ ร้สู กึ วา่ มนั จบก็ คอื ประโยค เชน่
แมน้ เราจะอา่ นหนังสือสอบมากขนานไหน = วลี
เธอว่ิงซะจน = วลี
กระดาษทว่ี างบนโตะ๊ ตัวน้นั = วลี
เธอกลบั บา้ นไปแล้ว = ประโยค
ทกุ ทุกคราวทม่ี องฟา้ = วลี

ระดบั ภาษา
1.ระดบั ภาษามี 5 ระดับ

1.พิธกี าร ใชใ้ นพธิ ี คำพดู จะดูหรูหรา อลงั การ ดูเปน็ พธิ ี เช่น ในศุภวาระดถิ ีขน้ึ ปีใหม่
2.ทางการ ใช้ในเชงิ วิชากร ประชมุ ใหญ่ๆ เรอ่ื งที่ต้องการแบบแผน คำพูดจะเปน็ ภาษาเขียน เช่น ท่านเคย
คดิ หรอื ไมว่ ่า การทำเชน่ นน้ั จะมีผลเช่นไร
3.กึง่ ทางการ ใช้ในทปี่ ระชมุ เล็ก ๆ เรื่องท่ตี อ้ งมีแบบแผนบา้ ง คำพูจะมีทัง้ ภาษาเขยี นและภาษาพโุ ปน ๆ
กัน
4.สนทนา ใช้คยุ กนั ทัว่ ๆ ไปแตก่ ้อมีความสุภาพดว้ ยภาษากจ็ ะเปน็ ภาษาท่ีเราใช้คยุ กัน
5.กันเอง ใชค้ ยุ กนั กบั คนซี้ ๆ

หลกั การใชภ้ าษาไทยเพ่อื การส่อื สารในอินเตอร์เน็ต
1.ใชค้ ำใหถ้ กู ต้องตรงตามความหมาย กล่าวคือ ก่อนนำคำไปเรียงเข้าประโยค ควรทราบความหมายของคำคำ
น้ันก่อน เช่น คำว่า “ปอก” กับ “ปลอก” สองคำน้ีมีความหมายไม่เหมือนกนั คำว่า “ปอก” เป็นคำกริยา
แปลวา่ เอาเปลือกหรอื ส่ิงท่ีห่อหมุ้ ออก แตค่ ำวา่ “ปลอก” เป็นคำนาม แปลวา่ สิ่งทีท่ ำสำหรบั สวมหรอื รดั ของ
ตา่ งๆ เป็นต้น ลองพจิ ารณาตัวอย่างต่อไปน้ี

“วันนไ้ี ด้พบกับทา่ นอธิการบดี ผมขอฉวยโอกาสอนั งดงามน้เี ล้ียงต้อนรับทา่ นนะครับ” (ทจ่ี ริงแลว้ ควรใช้
ถอื โอกาส เพราะฉวยโอกาสใช้ในความหมายที่ไม่ดี
2. ใชค้ ำให้เหมาะสม เลอื กใช้คำให้เหมาะสมกับกาลเทศะและเหมาะสมกบั บุคคล เช่นโอกาสทีเ่ ปน็ ทางการ
โอกาสทเ่ี ปน็ กนั เอง หรือโอกาสทีเ่ ปน็ ภาษาเขยี น เชน่

“ข้าพเจ้าไม่ทราบวา่ ท่านจะคิดยงั ไง” (คำวา่ “ยงั ไง” เป็นภาษาพดู ถ้าเปน็ ภาษาเขยี นควรใช้ “อยา่ งไร”
3. การใช้คำลักษณนาม ใช้คำทีบ่ อกลักษณะของนามต่างๆ ให้ถูกต้อง เชน่ ปากกา มีลักษณนามเป็น ดา้ ม
เล่อื ย มลี กั ษณะนามเปน็ ป้ืน ฤๅษี มลี กั ษณะนามเป็น ตน เปน็ ต้น
4. การเรยี งลำดบั คำ เป็น เรื่องทีส่ ำคญั มากในภาษาไทย หากเรียงผดิ ท่ีความหมายก็จะเปล่ยี นไปดว้ ย ท้งั นี้
เพราะคำบางคำอาจมีความหมายได้หลายความหมายซง่ึ ขน้ึ อยูก่ บั ตำแหน่งท่ีจัด เรียงไวใ้ นประโยค เช่น

แม่เกลยี ดคนใชฉ้ นั ฉนั เกลียดคนใชแ้ ม่
คนใชเ้ กลียดแมฉ่ ัน แม่คนใช้เกลยี ดฉัน
ฉนั เกลียดแมค่ นใช้ แม่ฉันเกลยี ดคนใช้
ข้อบกพร่องในการเรยี งลำดบั คำมักปรากฏดงั น้ี
- เรยี งลำดบั คำผิดตำแหน่ง เช่น เขาไม่ทราบสิง่ ทดี่ งี ามนั้น วา่ คืออะไร
(ควรเรียงว่า เขาไม่ทราบ ว่า ส่งิ ท่ีดีงามน้นั คืออะไร)
- เรียงลำดบั คำขยายผิดที่ เช่น ขอขอบคุณมา ณ โอกาสน้ีดว้ ย เปน็ อย่างสูง
(ควรเรยี งว่า ขอขอบคุณ เป็นอยา่ งสงู มา ณ โอกาสนด้ี ้วย)
5. แต่งประโยคให้จบกระแสความ หมายถงึ แต่งประโยคใหม้ คี วามสมบรู ณ์ครบถว้ นทั้งส่วนทเ่ี ป็นภาคประธาน
และภาค แสดง ซงึ่ ประโยคท่ีจบกระแสความนัน้ จะต้องตอบคำถามวา่ ใคร ทำอะไร ไดช้ ัดเจน สาเหตุทีท่ ำให้
ประโยคไม่จบกระแสความอาจเกิดจากขาดคำบางคำหรือขาดสว่ นประกอบ ของประโยคบางส่วนไป เช่น
เม่อื ตอนยงั เด็กเขาชอบนอนหนนุ ตักแม่ บัดนเ้ี ขาอายยุ ่ีสบิ กว่าแล้ว
(ควรแก้เป็น เมอื่ ตอนยังเด็กเขาชอบนอนหนนุ ตักแม่ บัดนี้เขาอายุยส่ี บิ กว่าแล้วกย็ งั ชอบอยเู่ หมอื นเดิม)
6. ใชภ้ าษาใหช้ ัดเจน ใช้ ภาษาทใ่ี ห้ความหมายเพยี งความหมายเดียว เปน็ ความหมายทไ่ี ม่สามารถจะแปล
ความเปน็ อย่างอนื่ ได้ เชน่ “คุณแม่ไม่ชอบคนใช้ฉัน” อาจแปลได้ 2 ความหมายคือ คุณแม่ไมช่ อบใครก็ตามที่
ใช้ใหฉ้ ันทำโน่นทำนี่ หรอื คุณแม่ไมช่ อบคนรบั ใชข้ องฉัน ท้งั นีเ้ พราะคำวา่ “คนใช้” เปน็ คำทีม่ ีหลายความหมาย
นั่นเอง
7. ใช้ภาษาใหส้ ละสลวย ใช้ภาษาอย่างไพเราะราบร่นื ฟังไมข่ ดั หู และมีความกะทดั รัด
- ไม่ใช้คำฟมุ่ เฟือย หมายถึง การใชค้ ำที่ไมจ่ ำเป็น หรือใช้คำท่ีมีความหมายซ้ำซ้อน เช่น
“วันนอี้ าจารย์ไม่มาทำการสอน”
คำวา่ “ทำการ” เป็นคำที่ไมจ่ ำเปน็ เพราะแม้จะคงไวก้ ไ็ ม่ไดช้ ว่ ยให้ความหมายชดั เจนขน้ึ กว่าเดมิ ดังนัน้ จึง
ควรแกไ้ ขเปน็ “วันนอ้ี าจารย์ไม่มาสอน”
- ใชค้ ำให้คงที่ หมายถึง ในประโยคเดยี วกัน หรอื ในเนื้อความเดยี วกัน ควรใชค้ ำเดียวกันใหต้ ลอด ดัง
ประโยคต่อไปน้ี
“หมอถือวา่ คนปว่ ยทกุ คนเป็นคนไข้ของหมอเหมือนกัน”

ควรแกเ้ ป็น “หมอถือว่าคนไขท้ ุกคนเปน็ คนไข้ของหมอเหมือนกนั ”
- ไมใ่ ช้สำนวนตา่ งประเทศ เช่น
“มันเป็นความจำเปน็ อย่างย่งิ ทีเ่ ขาต้องจากไป”
ควรแกเ้ ป็น “เขาจำเปน็ อย่างยิง่ ที่ต้องจากไป”

ภาษาแชทท่ีมักใชผ้ ดิ

๑. คำท่ีสะกดผิดได้งา่ ย เป็นรูปแบบของคำท่มี ีการสะกดผดิ ซึ่งเกดิ จากคำท่ีมกี ารผันอักษรและเสยี งไมต่ รงกบั
รูปวรรณยุกต์ เชน่
สนุ้กเกอร์ = สนุ๊กเกอร์
โน้ต = โน๊ต
๒. คำทส่ี ะกดผิดเพ่ือใหแ้ ปลกตา หรอื งา่ ยตอ่ การพมิ พ์ (ทำให้พิมพไ์ ดเ้ ร็วขึน้ ) เชน่
หน=ู นู๋
ผม = ปม๋
ใช่ไหม = ชิมิ
เปน็ = เปง
ก็ = กอ้
ค่ะ,ครับ = คร่ะ,คับ
๓. การลดรูปคำ เป็นรูปแบบของคำทลี่ ดรูปให้สน้ั ลงมีใชใ้ นภาษาพูด เชน่
มหาวิทยาลัย = มหา’ลยั ,มหาลยั
โรงพยาบาล = โรงบาล
๔. คำทส่ี ะกดผิดเพื่อใหต้ รงกับเสียงอา่ น เช่น
ใชไ่ หม = ใช่มย้ั
๕. คำท่ีสะกดผิดเพื่อแสดงอารมณ์ เช่น
ไม่ = ม่าย
ไปไหน = ปายหนาย
นะ = นา้
คะ่ ,ครับ =ครา่ ,คร๊าบ
จ้ะ = จรา้

นอกจากน้ยี งั สามารถแบง่ ออกเปน็ กลุ่มที่ใช้ในการพดู และกลุ่มท่ีใช้ในการเขียน
๑. กลมุ่ ที่ใช้เวลาพดู

เปน็ ประเภทของภาษาวบิ ัติท่ใี ช้ในเวลาพดู กัน ซ่งึ บางครั้งก็ปรากฏขึน้ ในการเขียนดว้ ย แตน่ อ้ ยกว่าประเภท
กลุม่ ทใี่ ชใ้ นเวลาเขยี น โดยมักพดู ใหม้ เี สียงสัน้ ลง หรือยาวขึ้น หรอื ไม่ออกเสยี งควบกลำ้ เลย ประเภทนเี้ รยี กได้
อกี อยา่ งว่ากลุ่มเพี้ยนเสียง เช่น ตวั เอง - ตะเอง
๒. กลมุ่ ทใี่ ช้ในเวลาเขียน

รปู แบบของภาษาวิบัติชนิดน้ี โดยท้งั หมดจะเปน็ คำพ้องเสียงท่ีหลายๆคำมักจะผดิ หลักของภาษาอย่เู สมอ
โดยส่วนใหญ่กลุ่มน้จี ะใช้ในเวลาเขียนเท่านนั้ โดยยงั แบง่ ได้เปน็ อีกสามประเภทย่อย
๒.๑ กลุ่มพ้องเสยี ง

รปู แบบของภาษาวบิ ัตชิ นิดนี้ จะเปน็ คำพอ้ งเสียง โดยสว่ นใหญ่กล่มุ นจี้ ะใช้ในเวลาเขยี นเท่านั้น และคำที่

นำมาใช้แทนกนั น้ีมกั จะเป็นคำที่ไม่มีในพจนานกุ รม
เธอ = เทอ
ใจ = จัย
ไง = งยั
กรรม = กำ
๒.๒ กลุม่ ทร่ี ีบรอ้ นในการพิมพ์
กลุม่ นจี้ ะคลา้ ยๆกับกล่มุ คำพ้องเสยี ง เพยี งแตว่ ่าบางคร้ังการกด Shift อาจทำให้เสียเวลา เลยไม่กด แลว้
เปลี่ยนคำที่ต้องการเป็นอีกคำท่อี อกเสยี งคล้ายๆกนั แทน เช่น
รู้ = รุ้
เห็น = เหน
เปน็ = เปน
๒.๓ กลุ่มทีใ่ ชส้ อื่ สารในเกมส์ (ใชต้ ัวอกั ษรภาษาอืน่ ทมี่ ีลกั ษณะคล้ายตัวอักษรไทย)
เทพ = Inw
นอน = uou
เกรียน = เกรีeu

ใบงานครงั้ ท่ี 4

กลุ่มสาระความรู้พื้นฐาน รายวชิ า ภาษาไทย พท31001 ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจดั การเรยี นร้เู ร่อื งท่ี 4 หลกั การใชภ้ าษา เวลา 6 ชั่วโมง

ครง้ั ท่ี............4......สอนวันที่ …………เดือน ………………………………………..พ.ศ. ..........

๑ ให้นักศกึ ษาอธิบายหลกั การใช้ภาษาไทยธรรมชาติของภาษา
............................................................................................................................. .................................
..................................................................................................................................................................
.................................................................................................. ..................................................... .......
............................................................................................................................. .....................................
2เสยี งพยัญชนะต้น มีอยู่ 2 ประเภท คอื
............................................................................................................................. .................................
..................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .....................................
๓ให้นักศกึ ษาแบง่ การแบ่งกลุ่มทใ่ี ชใ้ นการพดู และกลมุ่ ทใ่ี ช้ในการเขียน
............................................................................................................................. .................................
.......................................................................................................................................................... ........
.......................................................................................................................... ....................................
............................................................................................................................. .....................................

แผนการจัดการเรยี นรู้

กล่มุ สาระความร้พู น้ื ฐาน รายวิชา ภาษาไทย พท31001 ชน้ั มธั ยมศึกษาตอนปลาย

แผนการจัดการเรยี นรูเ้ ร่ืองที่ วรรณคดี และวรรณกรรม เวลา 6 ช่วั โมง

ครงั้ ที่........5..........สอนวันที่ …………เดอื น ………………………………………..พ.ศ. ..........

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ
สามารถวเิ คราะห์และเหน็ คุณค่าวรรณคดี วรรณกรรมปจั จบุ ัน และวรรณกรรมท้องถ่ิน โดยใช้

หลักการพินจิ วรรณคดี

ตวั ช้ีวดั
1. อธิบายคณุ ค่าวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบัน และวรรณกรรมท้องถิ่น

สาระสำคัญ
หลักการพนิ ิจและประเมินคุณค่าเก่ียวกับวรรณคดี วรรณกรรมปัจจบุ ัน และวรรณกรรมท้องถ่นิ

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. นักศกึ ษาสามารถอธิบายคุณค่าวรรณคดี วรรณกรรมปจั จุบนั และวรรณกรรมท้องถ่นิ ที่มตี อ่ สังคม

และวฒั นธรรมไทย
สาระการเรียนรู้

1. ความหมายของวรรณคดีวรรณกรรมปจั จบุ ันและวรรณกรรมท้องถิ่น
2. คุณคา่ ของวรรณคดี และวรรณกรรม ดา้ นวรรณศิลป์ และดา้ นสงั คม
3. แนวคิดและค่านยิ มท่ีปรากฏในวรรณคดีและวรรณกรรม
คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
1. ใฝ่รใู้ ฝ่เรยี น ศึกษาใบความรู้ จากแบบเรียน
2. มีวนิ ัย ทำงานตามที่ครูมอบหมายได้ทันเวลา
3. ขยนั มุง่ มน่ั ในการทำงาน ทำใบงาน ทำกิจกรรมกลุ่ม
4. มคี วามสามคั คี มีนำ้ ใจ มีความรับผิดชอบ ชว่ ยเหลือกนั ทำกจิ กรรมกลุ่ม
กระบวนการจดั การเรียนรู้
ขัน้ ท่ี 1 กำหนดสภาพปญั หา ความตอ้ งการ
(60 นาที)
1.1 ครแู จ้งจุดประสงคก์ ารเรียนรใู้ ห้ผู้เรียนทราบ
1.2 ครสู อบถามถึงหนังในโรงภาพยนตรท์ กี่ ำลังฉายในโรงภาพยนตร์โลตัสกระบ่ีเร่ืองพนั ท้ายนรสงิ ค์ แล้ว
กำหนดใหค้ นทีช่ ม เลา่ เรอ่ื งอย่างย่อให้เพ่ือนๆฟงั
1.3 ครูสอบถามผเู้ รยี นถงึ ข้อคิดและใจความความสำคัญของเรือ่ ง และช่ือหรือบทบาทตัวบทละคร
1.4 ครแู ละผูเ้ รยี นรว่ มกันสร้างความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ความสำคญั ของวรรณคดี วรรณกรรมปัจจุบนั และ
วรรณกรรมท้องถน่ิ
ขนั้ ท่ี 2 ข้ันแสวงหาข้อมลู และจัดการเรยี นรู้ (180 นาที)
2.1 ครูใหผ้ ู้เรียนแบง่ กล่มุ ละ 4-8 คน
2.2 ครูใหต้ ัวแทนออกมาอ่านบทกลอนของทีเ่ ปน็ วรรคทองจากวรรณคดีเร่ืองต่างๆ แล้วให้แต่ละกลมุ่ บอกชื่อ
เร่อื งเพื่อแขง่ ขนั กนั

2.3 ครูให้ผ้เู รียนแต่ละกลุ่มศึกษา“วรรณคดไี ทย”เรื่องขนุ ช้าง ขุนแผน พระอภัยมณี อิเหนา นิทาน

เวตาล นริ าศพระบาท นริ าศภูเขาทอง ร่ายยาว มหาเวสสนั ดรชาดก มทั นพาธา พระมหาชนก

(ทศชาติชาดก) เลอื กศึกษาวรรณคดที ่ชี อบจำนวน 1 เรอื่ งในประเด็นตา่ ง ๆ ดงั น้ี

- ประวตั แิ ละลักษณะของเรื่องทอ่ี า่ น

- วิเคราะหว์ ิจารณ์ตัวละครสำคัญของเรอ่ื งแนวคิด

ค่านยิ มและคณุ คา่ ตา่ ง ๆ

- ยกตวั อยา่ งบทกลอน วรรคทองในวรรณคดีท่ีชอบ

- จัดทำเปน็ รายงานพร้อมนำเสนอหน้าชน้ั เรยี น

และครูร่วมสรปุ ผลการอภิปรายของผเู้ รยี น

2.4 ครกู ำหนดใหผ้ ้เู รยี นไปสืบเสาะหาเรอ่ื งเล่า นิยาย นทิ าน ตำนาน ทมี่ เี นอ้ื หาเกย่ี วพนั กับวถิ ชี วี ิตของคนใน

ชมุ ชน จากผ้สู ูงอายุในชุมชน

แลว้ นำเร่ืองเหลา่ นัน้ มาเรยี บเรยี งเป็นลายลกั ษณ์แล้วจดั ทำเป็นรปู เล่มจัดวางเปน็ สารสนเทศใน กศน.ตำบล

(เป็นกรต)

2.5 ครูกำหนดให้ผู้เรยี นเลอื กบทวรรคตอนจากวรรณกรรมทต่ี นเองสนใจเขียนลงในกระดาษท่คี รูแจกและวาด

ภาพและตกแต่งใหส้ วยงามประกอบจดั ทำเปน็ สารสนเทศภายใน กศน

2.6 ครูแจกใบงานเร่ืองวรรณกรรมเพื่อเป็นการคน้ ควา้ เพิ่มเติม

2.7 ครใู หผ้ ูเ้ รียนทำแบบทดสอบรายวชิ า ภาษาไทย

2.8 ครเู ฉลยขอ้ สอบพรอ้ มให้ผเู้ รยี นแลกเปล่ียนกนั ตรวจขอ้ สอบ

ขน้ั ท่ี 3 การปฏิบัติและนำไปประยุกต์ใช้ (120 นาที)

3.1 ครูและผู้เรียนร่วมกันสรปุ และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกย่ี วกับวรรณคดี วรรณกรรมทอ่ี า่ นและนำแนวคิด

ท่ไี ด้ไปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจำวนั

ข้นั ที่ 4 การประเมนิ ผลการเรยี นรู้

4.1 ครใู หผ้ ู้เรยี นร่วมกนั ประเมินผลพรอ้ มทัง้ ปรับปรุงแก้ไขขอ้ บกพร่อง สรปุ และจดั ทำเป็นรายงานเผยแพร่