เพศ วิถี ศึกษา บทที่ 2 เฉลย

คมู่ ือครูหนังสอื เรยี น

เพศวถิ ีศึกษา
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
20000-1602

GPAS มาตรฐานสากลศตวรรษท่ี

5 21

STEPs

เสนอแนวทางการจัดกจิ กรรม
เน้นใหผ้ ้เู รยี นสร้างความรู้
ใชค้ วามรผู้ ลิตผลงาน
ใชก้ ระบวนการออกแบบการ
เรยี นร้แู บบ Backward Design
เป็นเปา้ หมาย
คณุ ภาพรายวชิ าใหผ้ ูเ้ รียน
ผลิตความรู้ ตรวจสอบ
และประเมนิ ตนเอง

ออกแบบกิจกรรมสร้างวินยั
โดยใช้สถานการณจ์ ริง

เนน้ สร้างสมรรถนะ
ในศตวรรษที่ 21

สำ�นกั พมิ พ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด

ค่มู ือครหู นังสอื เรียน

เพศวถิ ศี กึ ษา

20000-1602
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด

สงวนลิขสิทธ์ิ website :
สำ�นักพมิ พ์ บรษิ ัทพัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
พ.ศ. 2562 www.iadth.com

สำ�นกั พิมพ์ บรษิ ัทพัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จ�ำ กัด
1256/9 ถนนนครไชยศรี แขวงถนนนครไชยศรี เขตดสุ ิต กรงุ เทพฯ 10300
โทร. 0-2243-8000 (อัตโนมตั ิ 15 สาย), 0-2241-8999
แฟกซ์ : ทุกหมายเลข, แฟกซ์อัตโนมัติ : 0-2241-4131, 0-2243-7666

ค�ำน�ำ

คู่มือครูรายวิชา เพศวิถีศึกษา (รหัสวิชา 20000-1602) ฉบับน้ี สำ�นักพิมพ์ บริษัท
พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด จัดทำ�ขึ้นเพ่ืออำ�นวยความสะดวกสำ�หรับครูหรือผู้สอน
ใช้เป็นแนวทางในการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพและเกิด
ประสิทธิผลตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 สำ�นักงานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ โดยใช้ควบคู่กับหนังสือเรียนท่ีสำ�นักพิมพ์ได้เรียบเรียงข้ึน
ตามจุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคำ�อธิบายรายวิชา ซ่ึงผ่านการตรวจประเมิน
คุณภาพจากส�ำ นักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษาเปน็ ทเ่ี รียบร้อยแลว้
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
แนวคิดส�ำ คัญในการจัดทำ�คมู่ ือครฉู บบั น้ี สำ�นกั พมิ พ์ บริษัทพฒั นาคุณภาพวชิ าการ (พว.)
จำ�กัด ไดย้ ดึ แนวคดิ การจดั การเรยี นร้แู บบ Active Learning ท่ีเน้นผู้เรยี นเป็นผู้ลงมือปฏบิ ัติ สร้าง
ความรู้จากการปฏิบัติ และนำ�ความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ โดยใช้กระบวนการ
จดั การเรยี นรแู้ บบ GPAS 5 Steps และออกแบบหนว่ ยการเรยี นรแู้ บบ Backward Design เนน้ ผเู้ รยี น
แสดงออกและผลิตผลงานตามภาระงาน นำ�ผลงานและการแสดงออกของผู้เรียนมาใช้ประเมิน
ผลการเรยี นตามจดุ ประสงค์รายวิชาในแต่ละหน่วยการเรียนรตู้ ลอดท้ังรายวิชา เปน็ การประเมนิ
ตามสภาพจริง (Authentic Assessment) สอดคล้องกับบริบทและการเปล่ียนแปลงของสังคม
และแนวคดิ การพฒั นาคนในศตวรรษที่ 21 เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพของผเู้ รยี นใหส้ งู ขนึ้ ตามมาตรฐาน
สากล

สำ�นักพิมพ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด ได้นำ�รูปแบบและเทคนิควิธี
จดั การเรยี นรตู้ ามแนวทางขา้ งตน้ ไปทดลองใชก้ บั ผเู้ รยี นในระดบั ตา่ งๆ แลว้ ปรากฏผลเปน็ ทพ่ี อใจยง่ิ
ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหา สื่อสาร และผลิตผลงานด้วยทีมงานท่ีใช้จิตปัญญา
ในระดับสูง ผ่านการประเมินความรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และค่านิยมในทุกด้าน สำ�นักพิมพ์
จงึ หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ หากผสู้ อนไดใ้ ชค้ มู่ อื ครฉู บบั นคี้ วบคกู่ บั หนงั สอื เรยี นอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง จะชว่ ยให้
ผู้สอนด�ำ เนินกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและบรรลุตามท่ีหลักสูตรฯ ก�ำ หนด
ชว่ ยยกระดับคุณภาพการศกึ ษาไทยใหท้ ัดเทยี มกับประเทศอ่ืนในที่สดุ

ส�ำ นักพมิ พ์ บริษทั พัฒนาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.) จำ�กัด

2 สดุ ยอดคู่มอื ครู

สารบญั

สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด หนา้
ค�ำ น�ำ 2
คำ�ชแ้ี จง 5

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 27

พัฒนาการของวัยร่นุ 39

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 53

เพศและการดูแลสขุ ภาพทางเพศ 65

หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 3 สดุ ยอดคูม่ อื ครู 3

การสรา้ งสมั พนั ธภาพทดี่ กี บั ผอู้ น่ื

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4

อิทธิพลต่างๆ ที่มผี ลต่อการแสดงออกทางเพศ

หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 หนา้
77
ทกั ษะชีวติ
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 6

กฎหมายใกล้ตวั 89

หนว่ ยการเรียนร้ทู ่ี 7 103
117
สังคมและวัฒนธรรมทสี่ ่งผลตอ่ พฤติกรรม

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 8

ปญั หาและการเลอื กใชแ้ หลง่ บรกิ ารช่วยเหลือ

4 สดุ ยอดคูม่ อื ครู

สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด ค�ำชี้แจง

เพอ่ื ใหส้ ามารถน�ำคมู่ อื ครไู ปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนในรายวชิ าควบคกู่ บั หนงั สอื เรยี น
ทส่ี �ำนักพมิ พ์ บรษิ ทั พัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จ�ำกดั จัดท�ำข้ึน ผูส้ อนควรได้ศึกษารายละเอยี ด
ค�ำชแ้ี จงการใชค้ มู่ อื ครู เพอื่ ใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจและด�ำเนนิ การตามแนวทางทเี่ สนอแนะไวใ้ นคมู่ อื ครู
อย่างถูกวธิ ี ซ่งึ มรี ายละเอียดดังนี้
โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบส�ำคัญของคมู่ ือครู
คมู่ อื ครูฉบับน้แี บง่ โครงสรา้ งและองคป์ ระกอบของเน้ือหาไวเ้ ป็น 4 ส่วน ดงั นี้
ส่วนท่ี 1 สว่ นน�ำ ประกอบดว้ ย
1.1 ความรคู้ วามเขา้ ใจเบ้อื งต้นก่อนน�ำคมู่ ือครูไปใช้ในการจดั การเรียนการสอน
1.2 ยุทธศาสตร์การยกระดับคุณภาพการศึกษาอาชีวศึกษาตามมาตรฐานสากล
ในศตวรรษท่ี 21
1.3 แนวคิดหลักการการพัฒนาคุณภาพการจัดการเรียนรู้ระดับอาชีวศึกษา
โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ตามมาตรฐานสากล
ในศตวรรษท่ี 21
1.4 ค�ำแนะน�ำในการน�ำคูม่ ือครูไปใช้ในการจัดการเรยี นการสอน
ส่วนท่ี 2 สว่ นแนะน�ำโครงสร้างของหนงั สือเรียนทใ่ี ชค้ กู่ บั คมู่ อื ครฉู บบั นี้ ประกอบด้วย
2.1 ค�ำอธบิ ายรายวชิ า เพศวถิ ีศกึ ษา (รหัสวิชา 20000-1602)
จุดประสงคร์ ายวชิ า เพ่ือให้
1. รู้และเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการทางเพศ หลักการดูแลสุขภาพ และการ
แสดงออกตามวิถชี ีวิตทางเพศภายใต้กรอบของสังคมและวฒั นธรรม
2. สามารถก�ำหนดเปา้ หมายและแนวปฏบิ ัตใิ นการเสริมสรา้ งสุขภาวะทางเพศ
สร้างสัมพันธภาพท่ีดีกับผู้อ่ืน สื่อสารความต้องการตามความคิด
และความรู้สึก โดยใช้หลกั การตดั สินใจ และการต่อรอง
3. ตระหนักในคุณค่าของตนเองบนพ้ืนฐานของการเคารพในสิทธิของผู้อื่น
และเห็นความส�ำคญั ของการเลือกแนวทางการด�ำเนนิ ชีวิตอยา่ งมีสุข
สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรู้เกี่ยวกับพัฒนาการทางเพศ หลักการดูแลสุขภาพ และการ
แสดงออกตามวถิ ีชีวติ ทางเพศภายใตก้ รอบของสงั คมและวัฒนธรรม
2. สรา้ งสัมพนั ธภาพระหว่างบคุ คลตามบทบาทและความรับผดิ ชอบ
3. ส่ือสารความต้องการตามความคิดและความรู้สึก โดยใช้หลักการตัดสินใจ
การตอ่ รอง และการตระหนกั ในคณุ คา่ ของตนเองบนพนื้ ฐานของการเคารพ
ในสทิ ธิของผอู้ ่นื
4. ประเมนิ โอกาสเสยี่ งจากพฤตกิ รรมทางเพศและปญั หาจากการมเี พศสมั พนั ธ์
ไม่พรอ้ ม
5. ก�ำหนดเปา้ หมายและแนวปฏบิ ตั ใิ นการเสรมิ สรา้ งสขุ ภาวะทางเพศสว่ นบคุ คล

สุดยอดค่มู ือครู 5

ค�ำอธิบายรายวชิ า
ศกึ ษาเกยี่ วกบั พฒั นาการทางเพศในวยั รนุ่ การดแู ลสขุ ภาพทางเพศ สมั พนั ธภาพกบั ความคาดหวงั
ต่อบทบาทและความรับผิดชอบ ภาพลักษณ์ท่ีส่งผลต่อความรู้สึกและพฤติกรรม ทักษะการตัดสินใจ การต่อรอง
การส่ือสารความต้องการตามความคิดและความรู้สึก การตระหนักในคุณค่าของตนเอง บนพ้ืนฐานของการ
เคารพในสิทธิของผู้อ่ืน กฎหมายว่าด้วยเพศ สิทธิในการแสดงออกตามวิถีชีวิตทางเพศ ภายใต้กรอบของสังคม
และวัฒธรรม และการเลือกใช้แหล่งบรกิ ารชว่ ยเหลือทีเ่ ป็นมิตรในพน้ื ที่
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
2.2 การจดั หน่วยการเรยี นรู้

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ เร่ือง ชัว่ โมงการเรียน หมายเหตุ

1 พัฒนาการของวยั ร่นุ 2 สปั ดาห์ที่ 1-2
(ช่วั โมงท่ี 1-2)

2 เพศและการดูแลสุขภาพทางเพศ 2 สัปดาห์ท่ี 3-4
(ชวั่ โมงที่ 3-4)

3 การสรา้ งสมั พนั ธภาพที่ดกี ับผอู้ น่ื 2 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
แบง่ เป็น 2 เร่ือง
• องค์ประกอบและหลกั การ
สร้างมนุษยสัมพันธ์
• คณุ ลกั ษณะของบคุ คลทม่ี ี
มนษุ ยสัมพนั ธ์และ
การจัดการกบั ความขดั แย้ง
สปั ดาห์ท่ี 5-6
(ช่วั โมงท่ี 5-6)

4 อทิ ธิพลต่างๆ ทีม่ ีผล 2 สปั ดาห์ที่ 7-8
ต่อการแสดงออกทางเพศ (ชวั่ โมงท่ี 7-8)

สอบกลางภาค 1 สัปดาห์ที่ 9
(ช่ัวโมงที่ 9)

5 ทักษะชีวิต 2 สัปดาห์ท่ี 10-11
(ชั่วโมงท่ี 10-11)

6 กฎหมายใกลต้ วั 2 หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 6
แบ่งเป็น 2 เรอื่ ง
• กฎหมายทเี่ ก่ยี วข้องกับตนเอง
และครอบครวั สทิ ธิ
และการแสดงออก
• ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๒๗๖-๒๘๗
สปั ดาห์ที่ 12-13
(ชวั่ โมงท่ี 12-13)

6 สุดยอดค่มู อื ครู

หนว่ ยการเรียนรู้ที่ เรอื่ ง ชั่วโมงการเรยี น หมายเหตุ

7 สงั คมและวัฒนธรรมทีส่ ่งผลต่อพฤตกิ รรม 2 สัปดาห์ที่ 14-15
(ชัว่ โมงที่ 14-15)
สัปดาห์ที่ 16-17
8 ปัญหาและการเลือกใช ้ 2 (ชั่วโมงท่ี 16-17)
แหล่งบรกิ ารชว่ ยเหลือ สปั ดาห์ท่ี 18
(ชวั่ โมงที่ 18)
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด สอบปลายภาค 1

รวมเวลาเรียน 18

ส่วนที่ 3 ข้อเสนอแนะแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนรายหน่วยการเรียนรู้
ประกอบด้วย
3.1 การออกแบบการจดั การเรียนรรู้ ายหน่วยการเรียนรดู้ ว้ ย GPAS 5 Steps
3.2 การบูรณาการกิจกรรมการเรยี นรู้
3.3 แผนการประเมินจุดประสงคก์ ารเรยี นรูแ้ ละสมรรถนะประจ�ำหน่วย
ส่วนท่ี 4 การออกแบบการเรียนรู้ระดับหน่วยการเรียนรู้และแผนการจัดการเรียนรู้
รายชัว่ โมง ประกอบด้วย
4.1 แนวทางการจดั การเรยี นรรู้ ะดบั หนว่ ยการเรยี นรทู้ กุ หนว่ ยการเรยี นรคู้ รบทง้ั รายวชิ า
4.2 แผนการจัดการเรียนรู้รายชั่วโมงในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ครบทุกหน่วย
การเรียนรู้
4.3 เกณฑ์ประเมินคุณภาพ (Rubrics) ตามภาระงาน/ชิ้นงาน/การแสดงออก
ของผู้เรยี นในแต่ละหนว่ ยการเรียนรูค้ รบทกุ หนว่ ยการเรียนรู้
4.4 ตัวอย่างผังกราฟิก แบบบันทึกรวบรวมข้อมูลและสรุปความรู้ความเข้าใจ
ส�ำหรบั ผ้เู รียนใช้ประกอบการเรียนการสอนทุกหนว่ ยการเรยี นรู้

นอกจากรายละเอียดทีก่ ล่าวถงึ ในคู่มือครฉู บบั น้ีแลว้ ส�ำนักพิมพ์ บริษัทพฒั นาคณุ ภาพวชิ าการ (พว.)
จ�ำกัด ยังได้จัดท�ำ CD สื่อสง่ เสริมการเรียนรู้ในการเอ้อื ประโยชนแ์ กผ่ ู้สอนดังนี้
• ออกแบบหนว่ ยการเรียนรู้ทุกหนว่ ยการเรยี นรู้ครบทงั้ รายวิชา
• แผนการจดั การเรียนร้รู ายชว่ั โมงในแตล่ ะหน่วยการเรียนรูค้ รบทกุ หนว่ ยการเรียนรู้
• เกณฑ์ประเมินคุณภาพ (Rubrics) ตามภาระงาน/ช้ินงาน/การแสดงออกของผู้เรียนในแต่ละ
หน่วยการเรียนร้คู รบทกุ หน่วยการเรยี นรู้
• ตวั อยา่ งผงั กราฟกิ แบบบนั ทกึ รวบรวมขอ้ มลู และสรปุ ความรคู้ วามเขา้ ใจส�ำหรบั ผเู้ รยี นใชป้ ระกอบ
การเรียนการสอนทกุ หน่วยการเรยี นรู้

สดุ ยอดคมู่ ือครู 7

สว่ นน�ำ สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด

1.1 ความรคู้ วามเข้าใจเบอื้ งต้นก่อนน�ำคู่มือครูไปใชใ้ นการจัดการเรยี นการสอน

แนวคิดทิศทางในการจดั การเรียนรเู้ พอ่ื ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาไทย
การศึกษาไทยในปัจจุบันยึดแนวคิดท่ีว่า “การศึกษาคือชีวิต” (Education is Life) โดยมีความเช่ือว่า
“ชีวิตต้องมีการเรียนรู้” ต้องพัฒนาทั้งความรู้ ความคิด ความสามารถ และประสบการณ์ต่างๆ ทั้งด้านศาสนา
ศลิ ปะ วฒั นธรรม ธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ้ ม สงั คมศาสตร์ มนษุ ยศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี และเศรษฐศาสตร์
อย่างสมดุล ท้งั นีเ้ พือ่ ให้สามารถน�ำไปใชใ้ นการด�ำรงชวี ติ อย่รู ่วมกันได้อย่างมีความสขุ ปรัชญาพนื้ ฐานและกรอบ
แนวคิดดงั กล่าวจึงมุ่งพัฒนาชีวิตให้เป็น “มนษุ ยท์ ่สี มบรู ณท์ ง้ั ทางรา่ งกาย จติ ใจ สติปัญญา ความรู้ และคุณธรรม
มจี ริยธรรมและวัฒนธรรมในการด�ำรงชวี ติ สามารถอย่รู ว่ มกับผ้อู ืน่ ได้อยา่ งมคี วามสขุ ”
ดังท่ีได้บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพ่ิมเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
และ (ฉบบั ที่ 3) พ.ศ. 2553 มาตรา 6 และมาตรา 7 ดังนี้
มาตรา 6 การจัดการศึกษาต้องเป็นไปเพื่อพัฒนาคนไทยให้เป็นมนุษย์ท่ีสมบูรณ์ ท้ังทางร่างกาย จิตใจ
สตปิ ญั ญา ความรู้ และคณุ ธรรม มจี รยิ ธรรมและวฒั นธรรมในการด�ำรงชวี ติ สามารถอยรู่ ว่ มกบั ผอู้ น่ื ไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ
มาตรา 7 ในกระบวนการเรยี นรตู้ อ้ งมงุ่ ปลกู ฝงั จติ ส�ำนกึ ทถี่ กู ตอ้ งเกย่ี วกบั การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตย
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข รู้จักรักษาและส่งเสริมสิทธิ หน้าที่ เสรีภาพ ความเคารพกฎหมาย
ความเสมอภาค และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ มีความภาคภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวม
และของประเทศชาติ รวมทง้ั ส่งเสรมิ ศาสนา ศลิ ปะ วัฒนธรรมของชาติ การกฬี า ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ภูมปิ ัญญาไทย
และความรอู้ นั เปน็ สากล ตลอดจนอนรุ กั ษท์ รพั ยากรธรรมชาตแิ ละสงิ่ แวดลอ้ ม มคี วามสามารถในการประกอบอาชพี
ร้จู กั พง่ึ ตนเอง มคี วามคดิ ริเริ่มสรา้ งสรรค์ ใฝ่รู้ และเรยี นรู้ดว้ ยตนเองอย่างตอ่ เนื่อง
แนวการจดั การศึกษา
เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามความมุ่งหมายในการจัดการศึกษาท่ีบัญญัติไว้ในมาตรา 6 และมาตรา 7
ตามพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แกไ้ ขเพิ่มเติม (ฉบบั ที่ 2) พ.ศ. 2545 และ (ฉบบั ท่ี 3) พ.ศ. 2553
ดงั ทกี่ ล่าวถงึ ขา้ งต้น จงึ ได้มีบทบญั ญัตวิ ่าด้วยแนวการจดั การศกึ ษาตามมาตราดงั ต่อไปน้ี
มาตรา 22 การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้
และถือว่าผู้เรียนมีความส�ำคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติ
และเตม็ ศกั ยภาพ
มาตรา 23 การจัดการศึกษาท้ังการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย
ต้องเน้นความสำ�คัญทั้งความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรียนรู้ และบูรณาการตามความเหมาะสมของแต่ละระดับ
การศกึ ษาในเรือ่ งต่อไปน้ี

8 สดุ ยอดคมู่ อื ครู

สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด (1) ความรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเองและความสัมพันธ์ของตนเองกับสังคม ได้แก่ ครอบครัว ชุมชน ชาติ และ
สังคมโลก รวมถึงความรู้เก่ียวกับประวัติศาสตร์ ความเป็นมาของสังคมไทย และระบบการเมืองการปกครอง
ในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ
(2) ความรู้และทักษะด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รวมทั้งความรู้ ความเข้าใจ และประสบการณ์
เร่อื งการจัดการ การบ�ำรงุ รักษา และการใชป้ ระโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มอย่างสมดุลย่ังยืน
(3) ความรู้เกยี่ วกับศาสนา ศิลปะ วฒั นธรรม การกีฬา ภมู ิปญั ญาไทย และการประยกุ ตใ์ ช้ภมู ปิ ัญญา
(4) ความรแู้ ละทักษะดา้ นคณิตศาสตรแ์ ละด้านภาษา เน้นการใช้ภาษาไทยอยา่ งถูกต้อง
(5) ความรแู้ ละทกั ษะในการประกอบอาชพี และการด�ำรงชีวติ อยา่ งมคี วามสขุ
มาตรา 24 การจดั กระบวนการเรียนรใู้ ห้สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานทีเ่ กี่ยวขอ้ งด�ำเนนิ การดังต่อไปน้ี
(1) จัดเนื้อหา สาระ และกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน โดยค�ำนึงถึง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล
(2) ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การจัดการ การเผชิญสถานการณ์ และประยุกต์ความรู้มาใช้เพื่อป้องกัน
และแกไ้ ขปัญหา
(3) จัดกิจกรรมให้ผเู้ รยี นได้เรียนร้จู ากประสบการณจ์ ริง ฝกึ การปฏบิ ตั ิใหท้ �ำได้ คดิ เป็น ท�ำเปน็ รักการอา่ น
และเกดิ การใฝ่รอู้ ยา่ งตอ่ เนือ่ ง
(4) จดั การเรยี นการสอนโดยผสมผสานสาระความรตู้ า่ งๆ อยา่ งไดส้ ดั สว่ นสมดลุ กนั รวมทง้ั ปลกู ฝงั คณุ ธรรม
คา่ นิยมท่ดี งี าม และคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงคไ์ วใ้ นทกุ วิชา
(5) สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ใหผ้ สู้ อนสามารถจดั บรรยากาศ สภาพแวดลอ้ ม สอ่ื การเรยี น และอำ�นวยความสะดวก
เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และมีความรอบรู้ รวมท้ังสามารถใช้การวิจัยเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้
ทัง้ นผี้ สู้ อนและผู้เรียนอาจเรียนรู้ไปพร้อมกันจากส่ือการเรยี นการสอนและแหลง่ วิทยาการประเภทต่างๆ
(6) จดั การเรยี นรใู้ หเ้ กดิ ไดท้ กุ เวลา ทกุ สถานท่ี มกี ารประสานความรว่ มมอื บดิ ามารดา ผปู้ กครอง และบคุ คล
ในชมุ ชนทกุ ฝา่ ย เพื่อรว่ มกันพฒั นาผ้เู รียนตามศกั ยภาพ
มาตรา 26 ให้สถานศึกษาจัดการประเมินผู้เรียนโดยพิจารณาจากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ
การสังเกตพฤติกรรมการเรียน การร่วมกิจกรรม และการทดสอบ ควบคู่ไปในกระบวนการเรียนการสอนตาม
ความเหมาะสมของแต่ละระดับ และรูปแบบการศึกษาให้สถานศึกษาใช้วิธีการท่ีหลากหลายในการจัดสรรโอกาส
การเขา้ ศึกษาตอ่ และใหน้ �ำ ผลการประเมินผู้เรยี นตามวรรคหนึง่ มาใช้ประกอบการพิจารณาดว้ ย
มาตรา 30 ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ รวมท้ังการส่งเสริมให้ผู้สอน
สามารถวจิ ยั เพื่อพัฒนาการเรยี นรู้ที่เหมาะสมกับผ้เู รียนในแตล่ ะระดบั การศกึ ษา
คุณลักษณะ สมรรถนะ และศักยภาพผู้เรียนท่ีเปน็ สากล
การจัดการเรียนรู้ในปัจจุบัน มุ่งเน้นการเสริมสร้างความรู้ ความสามารถ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
ในศตวรรษที่ 21 และเปน็ ไปตามปฏญิ ญาว่าด้วยการจดั การศกึ ษาของ UNESCO ได้แก่
Learning to know: หมายถงึ การเรยี นเพื่อให้มีความร้ใู นสิง่ ตา่ งๆ อันจะเป็นประโยชนต์ อ่ ไป ไดแ้ ก่ การรูจ้ ัก
การแสวงหาความรู้ การตอ่ ยอดความรู้ทม่ี ีอยู่ รวมท้ังการสรา้ งความรู้ข้นึ ใหม่

สุดยอดคูม่ ือครู 9

Learning to do: หมายถึงการเรียนเพ่ือการปฏิบัติหรือลงมือท�ำ ซึ่งน�ำไปสู่การประกอบอาชีพจากความรู้ สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
ทไี่ ดศ้ ึกษามา รวมทงั้ การปฏิบตั ิเพ่อื สรา้ งประโยชนใ์ หส้ งั คม
Learning to live together: หมายถึงการเรียนรู้เพื่อการดำ�เนินชีวิตอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมีความสุข
ท้งั การดำ�เนินชวี ิตในการเรยี น ครอบครัว สังคม และการทำ�งาน
Learning to be: หมายถึงการเรยี นรู้เพอ่ื ใหร้ จู้ กั ตนเองอยา่ งถอ่ งแท้ ร้ถู งึ ศกั ยภาพ ความถนดั ความสนใจ
ของตนเอง สามารถใช้ความรู้ความสามารถของตนเองให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม เลือกแนวทางการพัฒนาตนเอง
ตามศักยภาพ วางแผนการเรียนตอ่ การประกอบอาชพี ทสี่ อดคล้องกับศกั ยภาพของตนเองได้
ทัง้ นี้เพื่อพัฒนาผูเ้ รียนให้มคี ุณภาพ ทั้งในฐานะพลเมอื งไทยและพลโลกเทียบเคยี งได้กับนานาอารยประเทศ
โดยม่งุ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนมีศักยภาพทสี่ ำ�คญั ดงั นี้
1. ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิทัล (Digital-Age Literacy) มีความรู้พื้นฐานท่ีจำ�เป็นทางวิทยาศาสตร์
เศรษฐศาสตร์ เทคโนโลยี รู้ภาษา ข้อมูลสารสนเทศ และทัศนภาพ รู้พหุวัฒนธรรมและมีความตระหนักส�ำ นึก
ระดับโลก
2. ความสามารถคิดประดิษฐ์อย่างสร้างสรรค์ (Inventive Thinking) มีความสามารถในการปรับตัว
สามารถจัดการสภาวการณท์ ่ีมคี วามซับซ้อน เปน็ บุคคลทใี่ ฝ่รู้ สามารถก�ำ หนดหรอื ตั้งประเดน็ ค�ำ ถาม (Hypothesis
Formulation) เพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารศกึ ษาคน้ ควา้ แสวงหาความรู้ มคี วามสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ คดิ สงั เคราะห์ ขอ้ มลู
สารสนเทศ และสรุปองค์ความรู้ (Knowledge Formulation) ใช้ข้อมูลเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคม
ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
3. ทักษะการส่ือสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Communication) ความสามารถในการรับและ
ส่งสาร การเลอื กรบั หรอื ไมร่ บั ข้อมลู ขา่ วสารดว้ ยหลกั เหตผุ ลและความถกู ต้อง มวี ัฒนธรรมในการใช้ภาษาถา่ ยทอด
ความคิด ความรู้ ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเอง เพ่ือแลกเปล่ียนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์
อันจะเป็นประโยชน์ ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้ังมีทักษะในการเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและลดปัญหา
ความขัดแย้งต่างๆ ตลอดจนสามารถเลือกใช้วิธีการส่ือสารที่มีประสิทธิภาพ โดยค�ำ นึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเอง
และสังคม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต (Life Skill) ความสามารถในการนำ�กระบวนการต่างๆ ไปใช้
ในการด�ำ เนนิ ชวี ติ ประจ�ำ วนั การเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง การเรยี นรอู้ ยา่ งตอ่ เนอื่ ง การทำ�งานและอยรู่ ว่ มกนั ในสงั คม เขา้ ใจ
ความสัมพันธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ในสังคม สามารถจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่างๆ
และน�ำ ไปสกู่ ารปฏบิ ตั ิ สามารถปรบั ตวั ไดอ้ ยา่ งเหมาะสมน�ำ ไปสกู่ ารใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สงั คม การบรกิ ารสาธารณะ
(Public Service) รวมทง้ั การเปน็ พลเมอื งไทยและพลโลก (Global Citizen)
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี (Information, Media and Technology Skills) การสืบค้นความรู้
จากแหล่งเรียนรู้ และวธิ กี ารที่หลากหลาย (Searching for Information) เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีดา้ นตา่ งๆ และมที ักษะ
กระบวนการทางเทคโนโลยเี พอื่ การพฒั นาตนเองและสงั คมในดา้ นการเรยี นรู้ การสอื่ สาร การทำ�งาน การแกป้ ญั หา
อยา่ งสรา้ งสรรค์ได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสม และมคี ุณธรรม

10 สุดยอดค่มู อื ครู

สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด นอกจากนย้ี งั มผี กู้ ลา่ วถงึ ประสบการณจ์ รงิ ของผเู้ รยี นในยคุ ของการสอื่ สารโลกไรพ้ รมแดนบนความหลากหลาย
ของพหวุ ฒั นธรรม การเพม่ิ พนู สมรรถนะผเู้ รยี นใหส้ ามารถครองชวี ติ ในโลกยคุ ใหมน่ ้ี ควรประกอบไปดว้ ยสมรรถนะ
ส�ำ คญั ดงั นี้

1. การอยรู่ ่วมกนั ในสงั คมพหวุ ฒั นธรรม
2. การเป็นผูน้ �ำและมคี วามรบั ผิดชอบ
3. การท�ำงานเป็นทีมและการส่ือสาร
4. การคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณและการแกป้ ญั หา
5. การมสี ว่ นรว่ มในสงั คมโลกและความรับผิดชอบต่อสงั คม
นอกเหนือจากสมรรถนะสำ�คัญท่ีกล่าวถึงข้างต้นแล้ว การดำ�รงชีวิตในโลกยุคใหม่ต้องเตรียมคนให้พัฒนา
ความรู้ ทักษะ เจตคติ และค่านิยมทุกด้าน ได้แก่ การเป็นนักประดิษฐ์สร้างสรรค์ เป็นผู้ประกอบการท่ีประสบ
ความส�ำ เรจ็ เปน็ คนทก่ี ระตอื รอื รน้ ทจี่ ะมสี ว่ นรว่ ม และเปน็ บคุ คลทเ่ี รยี นรตู้ ลอดชวี ติ ซง่ึ มอี งคป์ ระกอบทเ่ี ปน็ สมรรถนะ
หลักที่สำ�คัญ คือความสามารถในการประดิษฐ์และสร้างสรรค์ ความสามารถในการส่ือสารในต่างวัฒนธรรม
ความสามารถในการคิดแก้ปัญหาและคิดอย่างมีวิจารณญาณ ซึ่งสอดคล้องกับแนวคิดใหม่ในการพัฒนา
อาชวี ศกึ ษาไทย ทตี่ อ้ งจดั การศกึ ษาเพอ่ื สรา้ งผปู้ ระกอบการทผี่ ลติ ผลงานอยา่ งสรา้ งสรรค์ ไรข้ ดี จำ�กดั ดว้ ยนวตั กรรม
และเทคโนโลยีทก่ี า้ วหนา้ ทนั สมัยในโลกพหวุ ฒั นธรรมไรพ้ รมแดน

สุดยอดคมู่ ือครู 11

1.2 ยุทธศาสตรก์ ารยกระดับคุณภาพการศกึ ษาอาชีวศกึ ษาตามมาตรฐานสากล
ในศตวรรษท ี่ 21

นโยบายการบริหารจัดการอาชวี ศกึ ษา (นโยบาย 4 มิต)ิ
มติ ิท่ี 1 การสรา้ งโอกาสทางการศึกษา
มติ ทิ ่ี 2 การพฒั นาคุณภาพ
ยทุ ธศาสตรก์ ารยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาอาชวี ศกึ ษา
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัดตามมาตรฐานสากลในศตวรรษที่ 21
1. สถานศึกษาอาชีวศึกษาจัดการศึกษาให้ตอบสนอง
2.1 ดา้ นคุณภาพผู้เรียน
2.1.1 เร่งยกระดับคุณภาพผู้เรียนให้พร้อมเข้าสู่ ความตอ้ งการดา้ นการพฒั นาคนอาชวี ศกึ ษาทงั้ ในระดบั ประเทศ
ประชาคมอาเซยี น ภูมิภาคอาเซียน และประชาคมโลก โดยให้ความส�ำคัญกับ
2.1.2 ปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้ โดยยึดผู้เรียนเป็น คุณภาพผ้สู �ำเร็จอาชีวศกึ ษาเปน็ ส�ำคัญ
ศนู ย์กลาง 2. สถานศึกษาอาชีวศึกษามุ่งม่ันจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน
2.1.3 ปรบั ปรงุ หลักสูตรอาชีวศกึ ษาทกุ ระดบั บรรลุจุดประสงค์และสมรรถนะรายวิชา พัฒนาไปสู่มาตรฐาน
2.1.4 ยกระดับคุณภาพผู้เรียน โดยผลการประเมิน วิชาชีพอาชีวศึกษาในระดับมาตรฐานสากล และวิสัยทัศน์
ระดับชาติ (V-Net) และการประเมนิ มาตรฐานวิชาชพี เพอื่ การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21
2.1.5 พฒั นาแนวทางการประเมินผ้เู รียนตามสภาพจริง 3. สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาปฏริ ปู กระบวนการเรยี นรเู้ นน้ ผเู้ รยี น
2.1.6 ร่วมมือกับภาคเอกชนในการเรียนการสอน และ เปน็ ส�ำคญั ตอบสนองความแตกตา่ งระหวา่ งบคุ คล โดยประยกุ ต์
ฝกึ งานในสถานประกอบการ ใช้ทฤษฎีพหุปัญญา (Multiple Intelligences; MI) และการจัด
2.1.7 พฒั นาคณุ ภาพผเู้ รยี นดว้ ยกจิ กรรมองคก์ ารวชิ าชพี การเรียนรู้ตามหลักการ Brain-Based Learning (BBL),
การบรกิ ารสังคม จิตอาสา และกฬี า Backward Design, GPAS 5 Steps ในการสรา้ งความรใู้ นระดบั
2.2 ด้านคุณภาพครู ความคิดรวบยอดและหลักการ ตรงตามมาตรฐานสากลและ
2.2.1 ก�ำหนดมาตรฐานสมรรถนะครอู าชวี ศกึ ษา วิสัยทัศน์เพือ่ การเรียนรใู้ นศตวรรษที่ 21
2.2.2 พัฒนาครโู ดยใชเ้ ครือขา่ ย/สมาคมวชิ าชีพ 4. สถานศกึ ษาอาชีวศกึ ษาเน้นการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน โดย
2.2.3 พัฒนาระบบนิเทศศึกษา ใชแ้ ผนการสอนตามแนวทางการออกแบบการเรยี นรู้ Backward
2.2.4 เร่งยกระดับวทิ ยฐานะ Design, GPAS 5 Steps และการประเมนิ ตามสภาพจรงิ ดว้ ย
2.3 ดา้ นคณุ ภาพการเรยี นการสอน
2.3.1 วิจัยปฏิบัติการ เพ่ือพัฒนาระบบการเรียนรู้
สู่การเปน็ ผปู้ ระกอบการ มติ คิ ณุ ภาพโดยใชเ้ กณฑ์ Rubrics เพอื่ ใหเ้ ปน็ ยทุ ธศาสตรป์ ระจ�ำ
2.3.2 สง่ เสรมิ การพฒั นานวตั กรรมของผเู้ รยี นและผสู้ อน หอ้ งเรยี น
2.3.3 ส่งเสริมนวตั กรรมการจัดการอาชีวศึกษา 5. สถานศกึ ษาอาชวี ศกึ ษาสง่ เสรมิ การน�ำนวตั กรรมการจดั การ
- โรงเรียนเทคโนโลยีฐานวิทยาศาสตร์ (Project อาชีวศึกษามาใช้ ได้แก่ การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
Based Learning และการประดิษฐค์ ิดคน้ ) (Project Based Learning) และการใชป้ ญั หาเปน็ ฐาน (Problem
- วทิ ยาลยั เทคนคิ มาบตาพดุ (Constructionism) Based Learning) เพื่อเน้นการสร้างนวัตกรรมใหม่ๆ และ
- วทิ ยาลยั การทอ่ งเทยี่ วถลาง การบ่มเพาะค่านยิ มหลกั 12 ประการ ผา่ นโครงงาน และสรา้ ง
2.3.4 จัดการเรียนการสอน English Program และ ความรู้ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติที่เป็น
Mini English Program ดา้ นอาชวี ศึกษา
2.3.5 น�ำระบบ ICT มาใช้เพื่อการเรียนการสอน รูปธรรม
2.4 ด้านคุณภาพสถานศกึ ษา 6. สถานศึกษาอาชีวศึกษาสร้างวัฒนธรรมการสร้างความรู้
“ปรับการเรียน เปลย่ี นการสอน ปฏิรปู การสอบ ใหท้ ันกับ (Knowledge Management; KM) ท้ังในระดับผู้เรียน ระดับ
ยคุ สมัยอย่างมีคณุ ภาพ” ผสู้ อน และระดับผู้บริหาร เพ่อื พัฒนาสถานศกึ ษาอาชวี ศึกษา

มติ ทิ ่ี 3 การสร้างประสทิ ธภิ าพในด้านการบริหาร เปน็ ชมุ ชนแหง่ การเรยี นรแู้ บบมอื อาชพี (Professional Learning
จัดการ Community) ที่สอดคล้องกับมาตรฐานสากลและวิสัยทัศน์
มิตทิ ี่ 4 ความร่วมมอื ในการจดั การอาชวี ศึกษา เพอื่ การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21

12 สดุ ยอดคู่มอื ครู

1.3 แนวคดิ หลกั การการพฒั นาคณุ ภาพการจดั การเรยี นร้รู ะดับอาชวี ศกึ ษา
โดยใชก้ ระบวนการจัดการเรียนรู้ GPAS 5 Steps ตามมาตรฐานสากลในศตวรรษท่ี 21

กระบวนการพัฒนาผู้เรียนสู่คุณภาพในศตวรรษท่ี 21 ตามมาตรฐานสากล กระบวนการเรียนรู้แบบ
GPAS 5 Steps การจดั การเรยี นรทู้ ี่เน้นการพฒั นาทักษะการคดิ และสร้างความรโู้ ดยผู้เรียน
ดังได้กล่าวถึงแล้วในตอนต้นว่าโลกยุคใหม่ต้องเตรียมคนให้พัฒนาท้ังความรู้ ทักษะ เจตคติ และค่านิยม
อย่างสมดุลทุกด้านเพื่อการด�ำเนินชีวิต ด้วยการสร้างงาน สร้างอาชีพ และอยู่ร่วมกันในสังคมพหุวัฒนธรรม
อย่างสรา้ งสรรคย์ ัง่ ยืน มีกระบวนการคิดวิเคราะห์ คดิ อย่างมีวจิ ารณญาณ การแก้ปัญหาอยา่ งสรา้ งสรรค์ และรเิ ร่ิม
ผลติ ผลงานดว้ ยเจตคตแิ ละคา่ นยิ มเพอ่ื ความยงั่ ยนื ของโลก จงึ เปน็ เปา้ หมายส�ำคญั ในการพฒั นาผเู้ รยี น โดยเฉพาะ
งานอาชีวศกึ ษาทต่ี ้องสร้างคนเพื่อการแข่งขนั ในโลกอาชีพ ส�ำนักพิมพ์ บรษิ ัทพัฒนาคุณภาพวชิ าการ (พว.) จ�ำกัด
ไดน้ �ำนวตั กรรมกระบวนการจดั การเรยี นรทู้ เ่ี นน้ กระบวนการคดิ การสรา้ งความรู้ และการน�ำความรไู้ ปใชผ้ ลติ ผลงาน
ด้วยค่านิยมเพ่ือสังคมเพ่ือโลก สอดคล้องกับการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 โดยน�ำมาใช้ในการออกแบบการจัด
การเรยี นรู้ พฒั นาคู่มอื ครูในรายวชิ าตา่ งๆ มนี วตั กรรมท่ีเปน็ กระบวนการเรียนรทู้ ่นี �ำมาประยกุ ต์ใช้ดงั นี้

ยทุ ธศาสตรก์ ารเรยี นรู้ 2002 ศตวรรษที่ 21

Active Learning : Backward Design – GPAS 5 Steps
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
รว่ มกนั ประเมนิ รว่ มกนั สรา้ งทางเลอื ก
ขอ้ ดี ขอ้ เสยี ประโยชน์ โทษ ตดั สนิ ใจเพมิ่ คณุ คา่ คาดหมายแนวโนม้
ผลตอ่ เนอื่ ง เลอ่ื กทด่ี กี วา่ สรา้ งภาพงาน
วจิ ารณ์ สรา้ งคา่ นยิ ม
โครงสรา้ งคา่ นยิ ม โครงสรา้ งการกระทา
(Structure of Value) (Structure of Acting)

รว่ มกนั จดั ขอ้ มลู ใหม้ คี วามหมาย รว่ มกนั ปฏบิ ตั จิ รงิ
จาแนก จัดกลมุ่ หาความสมั พนั ธ์ วางแผน งานนาสผู่ ล
ความคดิ รวบยอด ตดิ ตาม ปรับปรงุ จดั ระบบ
(Structure of Thinking) การลงมอื ทาจรงิ ไชค้ วามรู้

encode (Performing)

รว่ มกนั รวบรวมขอ้ มลู decode
ฟัง อา่ น สงั เกต บนั ทกึ
เรม่ิ จากสงิ่ ทเี่ กดิ ขนึ้ จรงิ รว่ มกนั สรา้ งความรู้
(Experimental approach) คน้ พบหลกั การธรรมชาตไิ ดเ้ อง
ใชก้ ระบวนการคดิ ผลสรปุ
อยา่ งสอดคลอ้ งกบั ขอ้ มลู จรงิ
การลงมอื ทาจรงิ สรา้ งความรู้
(Construction of Knowledge)

สรปุ รายงานผล เป้าหมาย Portfolio KA 12 3 4
การเรียนรู้
P Rubrics

สดุ ยอดคมู่ อื ครู 13

ทักษะการคดิ และกระบวนการเรียนรู้ GPAS สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
กลุ่มนักวิชาการและนักการศึกษาจากกระทรวงศึกษาธิการได้สังเคราะห์กระบวนการเรียนรู้ GPAS มาจาก
แนวคิดทางพทุ ธศาสนาที่กล่าวถึง ปญั ญา 3 ดา้ น ได้แก่ 1. สตุ มยปัญญา ปญั ญาที่เกดิ จากการสดบั รู้ การเล่าเรยี น
หรอื ปญั ญาทเี่ กดิ จากปรโตโฆสะ 2. จนิ ตามยปญั ญา ปญั ญาทเ่ี กดิ จากการคดิ พจิ ารณาหาเหตผุ ล หรอื ปญั ญาทเ่ี กดิ
จากโยนโิ สมนสกิ ารและ 3. ภาวนามยปญั ญา ปญั ญาทเ่ี กดิ จากการฝกึ อบรมลงมอื ปฏบิ ตั ิ หรอื ปญั ญาทเ่ี กดิ จากการ
ปฏบิ ตั บิ �ำ เพญ็ (พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยุตโฺ ต): 2548) และแนวคิดโครงสรา้ ง 3 ชัน้ แห่งปญั ญา (Three Story
Intellect) ที่ประกอบด้วยการรวบรวมข้อมูล (Gathering) การจัดกระทำ�ข้อมูล (Processing) และการประยุกต์ใช้
ข้อมูลความรู้ (Applying) (Jerry Goldberg: 1996, Art Costa: 1997, Robin Forgarty: 1997) รวมท้ังแนวคิด
การพัฒนาคนใหม้ ีบคุ ลิกภาพ การกำ�กับตนเอง (Self-Regulating) มาสงั เคราะหเ์ ปน็ โครงสรา้ งทักษะการคดิ GPAS
ดงั แผนภาพ

ดร.ศกั ด์ิสิน โรจน์สราญรมย์

แผนภาพโครงสรา้ งทักษะการคิด GPAS

จากโครงสรา้ งทกั ษะการคดิ นี้ สามารถน�ำมาก�ำหนดเปน็ กรดะรบ.ศวกั นดิ์สกนิ ารโรพจนฒั ส์ รนาาญทรมกั ยษ์ ะการคดิ โดยมกี ารก�ำกบั ตนเอง
(Self-Regulating) เป็นแกนในการพัฒนาทักษะดังแผนภูมิ

ดร.ศักด์ิสิน โรจน์สราญรมย์

แผนภูมิกระบวนการพฒั นาทักษะการคดิ

ความหมายของทักษะการคดิ ในโครงสรา้ ง GPAS
ทกั ษะการคดิ ในโครงสรา้ ง GPAS มที กั ษะทสี่ อดคลอ้ งกบั การจดั การเรยี นรใู้ นศตวรรษที่ 21 ทศิ ทางการศกึ ษาไทย
และหลักสตู รการเรยี นการสอนในทุกระดับการศึกษา ขอยกมาเป็นตวั อยา่ งดงั น้ี
ทักษะการคดิ ระดบั การรวบรวมขอ้ มลู (Gathering; G) ได้แก ่
1. การกำ�หนดประเด็นในการรวบรวมข้อมูล (Focusing Skill) หมายถึงการกำ�หนดขอบเขตการศึกษา
และมงุ่ ความสนใจไปในทศิ ทางตามจดุ ประสงคท์ ตี่ อ้ งการศกึ ษาใหช้ ดั เจน เพอ่ื ทจ่ี ะไดค้ ดั เลอื กเฉพาะขอ้ มลู ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง

อ้างอิงพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบบั ประมวลธรรม พระพรหมคณุ าภรณ์ (ป.อ. ปยตุ โฺ ต): 2548

14 สุดยอดคู่มอื ครู

สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด 2. การสงั เกตด้วยประสาทสมั ผัส (Observing) หมายถงึ การรับรแู้ ละรวบรวมขอ้ มูลเกีย่ วกบั ส่ิงใดส่ิงหน่งึ
โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั ทงั้ 5 เพอ่ื ใหไ้ ดร้ ายละเอยี ดเกย่ี วกบั สง่ิ นนั้ ๆ ซงึ่ เปน็ ขอ้ มลู เชงิ ประจกั ษท์ ไี่ มม่ กี ารใชป้ ระสบการณ์
และความคดิ เห็นของผูส้ งั เกตในการเสนอขอ้ มลู ขอ้ มลู จากการสงั เกตมที ั้งขอ้ มลู เชงิ ปริมาณและข้อมลู เชิงคุณภาพ
3. การเขา้ รหสั และบนั ทกึ ขอ้ มลู (Encoding & Recording) หมายถงึ กระบวนการประมวลขอ้ มลู ของสมอง
เม่ือรับสิ่งเร้าจากประสาทสัมผัสทั้ง 5 จะได้รับการบันทึกไว้ในความจ�ำระยะส้ัน หากต้องการเก็บข้อมูลไว้ใช้
ตอ่ ๆ ไป ขอ้ มลู นน้ั จะตอ้ งเปลย่ี นรปู โดยการเขา้ รหสั (Encoding) เพอ่ื น�ำไปเกบ็ ไวใ้ นความจ�ำระยะยาว ซง่ึ จะสามารถ
เรยี กข้อมลู มาใชไ้ ดภ้ ายหลังโดยการถอดรหสั (Decoding)
4. การดึงข้อมูลเดิมมาใช้และย่อความ (Retrieving & Summarizing) หมายถึงการน�ำข้อมูลท่ีมีอยู่
น�ำกลบั มาใช้ใหมแ่ ละการจับใจความส�ำคญั ของเร่อื งท่ีตอ้ งการสรปุ แล้วเรียบเรียงให้กระชับครอบคลมุ สาระส�ำคัญ
ทกั ษะการคิดระดับการจดั กระท�ำขอ้ มูล (Processing; P)
1. การจ�ำแนก (Discriminating) หมายถึงการแยกแยะสิง่ ตา่ งๆ ตามมิตทิ ก่ี �ำหนด
2. การเปรียบเทียบ (Comparing) หมายถึงการค้นหาความเหมือนหรือความแตกต่างขององค์ประกอบ
ตง้ั แต่ 2 องค์ประกอบข้ึนไป เพือ่ ใชใ้ นการอธบิ ายเรอ่ื งใดเรอ่ื งหน่ึงในเกณฑเ์ ดยี วกัน
3. การจดั กลมุ่ (Classifying)หมายถงึ การน�ำสง่ิ ตา่ งๆมาแยกเปน็ กลมุ่ ตามเกณฑท์ ไี่ ดร้ บั การยอมรบั ทางวชิ าการ
หรอื การยอมรับโดยทั่วไป
4. การจดั ล�ำดบั (Sequencing) หมายถงึ การน�ำขอ้ มลู หรอื เรอ่ื งราวทเ่ี กดิ ขนึ้ มาจดั เรยี งใหเ้ ปน็ ล�ำดบั วา่ อะไร
มากอ่ น อะไรมาหลัง
5. การสรปุ เชอื่ มโยง (Connecting) หมายถงึ การบอกความสมั พนั ธท์ เี่ กย่ี วขอ้ งเชอ่ื มโยงกนั ของขอ้ มลู อยา่ ง
มคี วามหมาย
6. การไตร่ตรองด้วยเหตุผล (Reasoning) หมายถึงความสามารถในการบอกที่มาของสิ่งใดๆ หรือ
เหตกุ ารณใ์ ดๆ หรือสง่ิ ที่เปน็ สาเหตุของพฤติกรรมนนั้ ได้
7. การวิจารณ์ (Criticizing) หมายถึงการท้าทายและโต้แย้งข้อสมมติฐานที่อยู่เบื้องหลังเหตุผลท่ีโยง
ความคดิ เหล่าน้นั เพ่อื เปิดทางสู่แนวคดิ อน่ื ๆ ทอี่ าจเป็นไปได้
8. การตรวจสอบ (Verifying) หมายถึงการยืนยันหรือพิสูจน์ข้อมูลท่ีสังเกตรวบรวมมาตามความถูกต้อง
เป็นจรงิ
ทกั ษะการคิดระดับการประยุกต์ใช้ (Applying; A)
1. การใช้ความรู้อย่างสร้างสรรค์ (Creative) หมายถึงการน�ำความรู้ท่ีเกิดจากความเข้าใจไปใช้ใน
การสร้างสรรค์ส่ิงใหมห่ รอื แกป้ ญั หาทมี่ อี ย่ใู หด้ ีข้ึน
2. การวเิ คราะห์ (Analysis) หมายถงึ ความสามารถในการแยกแยะหลกั การ องคป์ ระกอบส�ำคญั หรอื สว่ นยอ่ ย
ตลอดจนหาความสัมพันธร์ ะหวา่ งสว่ นตา่ งๆ ทีเ่ ก่ียวข้อง
3. การสังเคราะห์ (Synthesis) หมายถึงการน�ำความรู้ที่ผ่านการวิเคราะห์มาผสมผสานสร้างสิ่งใหม่ที่มี
ลักษณะต่างจากเดมิ
4. การตดั สนิ ใจ (Decision Making) หมายถงึ การพจิ ารณาเลอื กทางเลอื กตงั้ แต่ 2 ทางเลอื กขน้ึ ไป ทางเลอื ก
หรือตัวเลือกน้ันอาจเป็นวัตถุส่ิงของหรือแนวปฏิบัติต่างๆ เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือด�ำเนินการเพ่ือให้บรรลุ
ตามวัตถุประสงคท์ ี่ต้งั ไว้
5. การน�ำความรไู้ ปปรบั ใช้ (Transferring) หมายถงึ การถา่ ยโอนความรทู้ ม่ี อี ยไู่ ปปรบั ใชใ้ นสถานการณอ์ นื่
6. การแกป้ ญั หา (Problem Solving) หมายถงึ การวเิ คราะหส์ ถานการณท์ ย่ี าก เพอื่ จดุ ประสงคใ์ นการแกไ้ ข
สถานการณ์หรือขจัดใหป้ ญั หานน้ั หมดไป น�ำไปสสู่ ภาวะท่ีดีกว่าหรือมที างออก
7. การคดิ วเิ คราะหว์ จิ ารณ์ (Critical Thinking) หมายถงึ ความสามารถในการพจิ ารณา ประเมนิ และตดั สนิ
สงิ่ ตา่ งๆ หรอื เรอื่ งราวทเี่ กดิ ขนึ้ ทม่ี ขี อ้ สงสยั หรอื ขอ้ โตแ้ ยง้ โดยการพยายามแสวงหาค�ำ ตอบทม่ี คี วามสมเหตสุ มผล

สดุ ยอดค่มู ือครู 15

8. การคดิ สรา้ งสรรค์ (Creative Thinking) หมายถงึ ความสามารถในการคดิ ไดอ้ ยา่ งกวา้ งไกลหลายทศิ ทาง สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
อย่างเป็นกระบวนการ โดยใช้จินตนาการท่ีหลากหลายเพ่ือก่อให้เกิดความแปลกใหม่ในการสร้าง ผลิต ดัดแปลง
งานต่างๆ ซ่ึงจะต้องเช่ือมโยงระหว่างประสบการณ์เก่ากับประสบการณ์ใหม่ ความคิดสร้างสรรค์จะเกิดขึ้นได้
ก็ตอ่ เมื่อผ้คู ิดมีอสิ ระทางความคิด
ทักษะการคิดระดับการก�ำกับตนเอง (Self-Regulating; S)
1. การตรวจสอบและควบคุมการคิด (Metacognition) หมายถึงการที่บุคคลรู้และเข้าใจถึงความคิด
ของตนเอง ไตร่ตรองก่อนกระท�ำอะไรอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นการประเมินการคิดของตนเองและใช้ความรู้น้ัน
ในการควบคมุ หรอื ปรบั การกระท�ำของตนเอง ซง่ึ ครอบคลมุ ถงึ การวางแผนการควบคมุ ก�ำกบั การกระท�ำของตนเอง
การตรวจสอบความกา้ วหนา้ และการประเมนิ ผล
2. การสร้างค่านิยมการคิด (Thinking Value) หมายถึงการคิดเพ่ือประโยชน์ในระดับต่างๆ ได้แก่
เพอ่ื ประโยชน์ตน กลุ่มตน เพือ่ สังคม และเพือ่ ประโยชน์ของประเทศชาติและโลก ทกุ องคป์ ระกอบ
3. การสร้างนิสัยการคิด (Thinking Disposition) หมายถึงลักษณะเฉพาะของการกระท�ำของคนที่มี
สติปัญญาเมื่อเผชิญหน้ากับปัญหา การตัดสินใจท่ีจะแก้ปัญหาจะไม่กระท�ำทันทีทันใดก่อนจะมีข้อมูลหลักฐาน
ชัดเจนเพยี งพอ นิสยั แห่งการคิด คอื รู้ว่าจะใช้ปัญญาท�ำอยา่ งไรในการหาค�ำตอบ นิสยั แห่งการคดิ ทด่ี คี วรมดี ังนี้
3.1 นิสัยการคดิ ทด่ี ีตอ้ งกลา้ เสยี่ งและผจญภยั (กล้าทจี่ ะคิด)
3.2 นสิ ยั การคดิ ท่ีดีต้องคิดแปลก คิดแยกแยะ ชตี้ วั ปญั หา คิดส�ำรวจไตส่ วน
3.3 นิสัยการคิดทด่ี ีต้องสรา้ งค�ำอธบิ ายและสร้างความเขา้ ใจ
3.4 นิสยั การคิดท่ดี ตี อ้ งสรา้ งแผนงานและมกี ลยุทธ์

3.5 นสิ ัยการคดิ ทดี่ ีต้องเปน็ การใชค้ วามระมัดระวงั ทางสตปิ ัญญา ใช้สตปิ ญั ญาอย่างรอบคอบ
บันได 5 ขั้นของการจดั การเรยี นรูส้ ู่มาตรฐานสากล (Five Steps for Student Development)
โรงเรียนมาตรฐานสากลได้ปรับปรุงรูปแบบการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะและศักยภาพ
ความเปน็ สากล โดยจดั เปน็ หลักสูตรการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง (Independent Study; IS) เปน็ เคร่ืองมือส�ำคญั
ของแนวคิดในการศึกษาตลอดชีวิต มีความมุ่งหมายเพ่ือให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเองเก่ียวกับ
ประเด็นท่ีอยูใ่ นความตอ้ งการและความสนใจอย่างเปน็ ระบบ เป็นการเพ่ิมพนู ความรู้ ความเขา้ ใจ อกี ท้งั ไดพ้ ัฒนา
ทักษะกระบวนการคิด ตระหนักถึงความส�ำคัญของกระบวนการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง และสามารถน�ำไป
ประยกุ ตใ์ ช้ในการเรียนรูต้ ลอดชีวติ ได้ การศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง แบ่งเปน็ 3 สาระ ดังแผนภมู ิ

แผนภมู กิ ารจดั หลักสตู รการเรียนรู้ การศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง (Independent Study; IS)
16 สดุ ยอดคู่มอื ครู

สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด IS 1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formulation) เป็นสาระ
ทม่ี งุ่ ใหผ้ เู้ รยี นก�ำหนดประเดน็ ปญั หา ตงั้ สมมตฐิ าน คน้ ควา้ แสวงหาความรู้ และฝกึ ทกั ษะการคดิ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์
และสร้างองคค์ วามรู้
IS 2 การสอ่ื สารและการน�ำเสนอ (Communication and Presentation) เปน็ สาระทมี่ งุ่ ใหผ้ เู้ รยี นน�ำความรู้
ทไ่ี ดร้ บั มาพฒั นาวธิ กี ารถา่ ยทอด สอื่ สารความหมาย แนวคดิ ขอ้ มลู และองคค์ วามรู้ ดว้ ยวธิ กี ารน�ำเสนอทเี่ หมาะสม
หลากหลายรูปแบบ และมีประสิทธภิ าพ
IS 3 การน�ำองคค์ วามรไู้ ปใชบ้ รกิ ารสงั คม (Social Service Activity) เปน็ สาระทมี่ งุ่ ใหผ้ เู้ รยี นน�ำองคค์ วามรู้
ประยกุ ตใ์ ชอ้ งคค์ วามรไู้ ปสกู่ ารปฏบิ ตั หิ รอื น�ำไปใชใ้ หเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ สงั คม เกดิ การบรกิ ารสาธารณะ (Public Service)
กระบวนการส�ำคัญในการจัดการเรียนรู้การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองทั้ง 3 ระดับ (Independent Study; IS 1-3)
จัดกระบวนการเรยี นรูเ้ ป็น “บันได 5 ข้นั ของการจัดการเรียนรู้ในโรงเรยี นมาตรฐานสากล (Five Steps for Student
Development)” ไดแ้ ก่
ขน้ั ที่ 1 การต้ังประเด็นค�ำถามหรือการตั้งสมมติฐาน (Hypothesis Formulation) เป็นการฝึก
ให้ผู้เรียนรู้จักคิด สังเกต ตั้งค�ำถามอย่างมีเหตุผลและสร้างสรรค์ ซึ่งจะส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
ในการต้ังค�ำถาม (Learning to Question)
ขั้นท่ี 2 การสบื คน้ ความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรแู้ ละสารสนเทศ (Searching for Information) เปน็ การฝกึ แสวงหา
ความรู้ ขอ้ มลู และสารสนเทศจากแหล่งเรียนรอู้ ยา่ งหลากหลาย เชน่ ห้องสมุด อนิ เทอร์เน็ต หรอื จากการปฏบิ ตั ิ
ทดลอง เปน็ ต้น ซง่ึ สง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเกิดการเรยี นรู้ในการแสวงหาความรู้ (Learning to Search)
ขน้ั ที่ 3 การสรา้ งองคค์ วามรู้ (Knowledge Formulation) เปน็ การฝกึ ใหน้ �ำความรู้ ขอ้ มูล และสารสนเทศ
ท่ไี ดจ้ ากการแสวงหาความรู้มาอภิปราย เพ่อื น�ำไปสู่การสรุปและสร้างสรรค์องค์ความรู้ (Learning to Construct)
ขั้นท่ี 4 การส่ือสารและการน�ำเสนออย่างมีประสิทธิภาพ (Effective Communication) เป็นการฝึกให้
ผเู้ รยี นน�ำความรทู้ ไี่ ดม้ าสอ่ื สารอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ซง่ึ จะสง่ เสรมิ ใหผ้ เู้ รยี นเกดิ การเรยี นรแู้ ละมที กั ษะในการสอ่ื สาร
(Learning to Communicate)
ขั้นท่ี 5 การบริการสังคมและจิตสาธารณะ (Public Service) เป็นการนำ�ความรู้สู่การปฏิบัติ ซ่ึงผู้เรียน
จะตอ้ งเชอ่ื มโยงความรไู้ ปสกู่ ารสรา้ งประโยชนใ์ หก้ บั สงั คมและชมุ ชนรอบตวั ตามวฒุ ภิ าวะของผเู้ รยี น ซงึ่ จะสง่ เสรมิ
ให้ผู้เรยี นมีจติ สาธารณะและบรกิ ารสงั คม (Learning to Service)
จากแนวคดิ การพฒั นาทกั ษะการคดิ GPAS และการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง IS 5 Steps ทก่ี ลา่ วถงึ ขา้ งตน้ ส�ำนกั พมิ พ์
บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จ�ำกัด ได้น�ำมาสังเคราะห์หลอมรวมเป็นการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่พัฒนา
ทักษะการคดิ เน้นผู้เรียนสร้างความรู้ ใช้ความรูผ้ ลิตผลงาน เปน็ กระบวนการเรยี นรู้แบบ GPAS 5 Steps ดงั นี้
Step 1 Gathering (ข้นั รวบรวมข้อมูล)
Step 2 Processing (ขน้ั คิดวเิ คราะหแ์ ละสรปุ ความรู้)
Step 3 Applying and Constructing the Knowledge (ขั้นปฏิบัตแิ ละสรุปความรู้หลงั การปฏบิ ตั )ิ
Step 4 Applying the Communication Skill (ขั้นสือ่ สารและน�ำเสนอ)
Step 5 Self-Regulating (ขน้ั ประเมินเพือ่ เพ่มิ คุณค่าบริการสังคมและจติ สาธารณะ)

สุดยอดค่มู ือครู 17

สรปุ ไดด้ งั แผนภมู ติ อ่ ไปน้ี สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด

สำ� นกั พมิ พ์ บริษทั พัฒนาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) จ�ำกัด

การน�ำกระบวนการเรยี นรู้ GPAS 5 Steps ไปใช้ในการออกแบบการเรยี นรู้
กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps สอดคล้องกับทฤษฎีพัฒนาการทางเชาว์ปัญญาของเพียเจต์
(Jean Piaget) และของวีก๊อทสก้ี (Semyonovich Vygotsky) เป็นรากฐานส�ำคัญของทฤษฎีการสร้างความรู้
ด้วยตนเอง (Constructivism) ท่ีเน้นการเรียนรู้ท่ีผู้เรียนคิดลงมือท�ำและสรุปความรู้ด้วยตนเอง โดยการปะทะ
สัมพันธ์กับประสบการณ์ต่างๆ และมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ท�ำให้ผู้เรียนมีข้อมูลและมุมมองหลากหลาย
น�ำไปสู่การปรับโครงสร้างความรู้ ความคิดรวบยอด หรือหลักการส�ำคญั ทศ่ี กึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง (Independent
Study) เป็นแนวทางที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลทั้งในแง่ความสนใจ ประสบการณ์ วิธีการ
เรียนรู้ และการให้คุณค่าความรู้ท่ีผู้เรียนแต่ละคนสร้างขึ้นอย่างมีความหมายเพื่อน�ำไปใช้ให้เกิดประโยชน์
ต่อตนเอง ชุมชน และสังคมโลก การเรียนรู้ตามทฤษฎีการสร้างความรู้เป็นกระบวนการ “Acting on” ไม่ใช่
“Taking in” กล่าวคือเป็นกระบวนการท่ีผู้เรียนจะต้องจัดกระท�ำกับข้อมูลไม่ใช่เพียงรับข้อมูลเข้ามา และนอกจาก
กระบวนการเรียนรู้จะเป็นกระบวนการปฏิสัมพันธ์ภายในสมอง (Internal Mental Interaction) แล้วยังเป็น
กระบวนการทางสงั คมอีกดว้ ย การสร้างความร้จู งึ เป็นกระบวนการทง้ั ดา้ นสติปญั ญาและสังคมควบคกู่ นั การเรียน
การสอนตอ้ งเปลีย่ นจาก “Instruction” ไปเปน็ “Construction” คือเปลี่ยนจาก “การให้ความรู”้ เปน็ “การใหผ้ ้เู รยี น
สร้างความรู้ ใช้ความรู้ผลิตผลงาน” ซ่ึงการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับแนวคิดน้ี คือการออกแบบ
การเรยี นรแู้ บบ Backward Design แบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คอื
ขนั้ ตอนที่ 1 ก�ำหนดเปา้ หมายการเรียนรูท้ ่สี ะท้อนผลการเรียนรู้ ซ่ึงบอกให้ทราบวา่ ตอ้ งการให้ผเู้ รียนรอู้ ะไร
และสามารถท�ำอะไรไดเ้ มื่อจบหน่วยการเรยี นรู้

18 สดุ ยอดค่มู อื ครู

ขั้นตอนที่ 2 ก�ำหนดหลักฐาน ร่องรอยการเรียนรู้ที่ชัดเจนและแสดงให้เห็นว่าผู้เรียนเกิดผลการเรียนรู้
ตามเปา้ หมายการเรยี นรู้
ข้ันตอนที่ 3 ออกแบบกระบวนการ/กิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเป้าหมาย
การเรียนรู้
(รายละเอยี ดไดเ้ สนอแนะไวใ้ นค�ำแนะน�ำในการน�ำคู่มือครไู ปใชจ้ ดั การเรยี นการสอน)
การประเมนิ ตามสภาพจริง (Authentic Assessment)
การประเมนิ ผลตามสภาพจรงิ เปน็ ทางเลอื กหนงึ่ ในการประเมนิ ผลการเรยี นการสอนทเ่ี นน้ ผเู้ รยี นเปน็ ศนู ยก์ ลาง
และปฏบิ ตั จิ รงิ สามารถน�ำไปสกู่ ารพฒั นาผเู้ รยี นอยา่ งแทจ้ รงิ สามารถประเมนิ ความสามารถทกั ษะการคดิ ขนั้ สงู ทซ่ี บั ซอ้ น
ตลอดจนความสามารถในการแกป้ ญั หาและการประยกุ ตใ์ ชค้ วามรใู้ นการผลติ ผลงานชน้ิ งานตา่ งๆ ได้ วธิ กี ารประเมนิ ผล
ดังกล่าวเป็นการประเมินผลเชิงบวกเพ่ือค้นหาความสามารถ จุดเด่น และความก้าวหน้าของผู้เรียน รวมท้ังให้
ความชว่ ยเหลอื แกผ่ ู้เรียนในจุดท่ีต้องพัฒนาให้สูงข้ึนตามศักยภาพ เป็นเคร่ืองมือประเมินผลที่มีประสิทธิภาพที่ใช้
ในการประเมินผลเพ่ือพัฒนาผู้เรียน (Formative Evaluation) หรืออีกนัยหน่ึงเรียกว่า Assessment for Learning
รวมทง้ั สามารถใช้ในการประเมนิ ผลรวม (Summative Evaluation) หรอื Assessment of Learning ในสถานการณ์
การเรียนการสอนท่ีใกล้เคียงชวี ิตจรงิ
การประเมินผลตามสภาพจริงจะมีความต่อเน่ืองในการให้ข้อมูลเชิงคุณภาพที่เป็นประโยชน์ต่อผู้สอนได้ใช้
เป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการสอนให้เหมาะสมเป็นรายบุคคลได้ และท่ีส�ำคัญมีการจัดการเรียนการสอนจาก
แนวคิดทีเ่ ปล่ยี นไปจากเดิมไปส่กู ารจัดการเรียนการสอนแบบใหม่ดงั ตารางตอ่ ไปนี้
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
ตารางเปรยี บเทียบกระบวนการเรยี นการสอนจากแนวคดิ เดิมและแนวคิดใหม่

แนวคดิ เดิม แนวคดิ ใหม่

1. วางแผนโดยยึดพฤตกิ รรมเปน็ หลกั 1. วางแผนจากส่ิงที่ผู้เรียนอยากรู้และอยากท�ำ
2. สอนไปตามหัวข้อของเน้อื หา ในกรอบของหนว่ ยการเรยี นรู้
3. มีจุดประสงคก์ วา้ งๆ 2. เกิดการเรยี นรู้ท่ลี ึกซ้งึ
4. มักเนน้ เพยี ง 1-2 สมรรถภาพและวิธกี ารเรียน 3. มจี ดุ ประสงคท์ ีช่ ดั เจน
5. ผสู้ อนเป็นผู้ด�ำเนินการ 4. ใช้สมรรถภาพและวิธกี ารเรยี นท่ีหลากหลาย
6. ยดึ ต�ำราเรยี นเปน็ หลัก 5. ผู้เรียนมีความต้องการเป็นตัวกระตุ้นให้เกิด
7. ใชก้ ฎเกณฑบ์ ังคบั เสมอๆ การศกึ ษาและการเรยี นรู้
8. ภาระงานและกระบวนการถกู แบง่ เป็นสว่ นยอ่ ย 6. ใช้แหล่งการเรียนรู้
9. ผเู้ รยี นปฏบิ ตั งิ านโดยไมท่ ราบจดุ มงุ่ หมายทชี่ ดั เจน 7. สนองความต้องการของผเู้ รยี นอยา่ งเหมาะสม
10. ประเมินผลครัง้ เดยี วเมอ่ื จบบทเรียน 8. ภาระงานและกระบวนการรวมอยู่ด้วยกัน
11. ผู้สอนเป็นผปู้ ระเมิน 9. ผูเ้ รียนปฏบิ ัตงิ านโดยมจี ดุ มุ่งหมายทช่ี ัดเจน
12. ผูส้ อนร้เู กณฑ์การประเมินแต่ผู้เดยี ว 10. ประเมินผลตลอดเวลาตั้งแต่เริ่มปฏิบัติจนส้ินสุด
13. ประเมินผลเฉพาะภาคความรู้ ภาระงาน
11. ผู้เชย่ี วชาญเร่อื งนัน้ เป็นผู้ประเมิน
12. ผู้สอนและผเู้ รียนรู้เกณฑก์ ารประเมนิ ทงั้ สองฝ่าย
13. ประเมนิ ผลทง้ั ความรู้ ความเขา้ ใจ และกระบวนการ
ทผ่ี ู้เรยี นน�ำความรตู้ า่ งๆ มาประยุกตใ์ ช้

อ้างองิ จาก Kentucky Department of Education, 1998 “How to Develop a Standard-Based Unit of Study” p3.

สุดยอดคู่มอื ครู 19

การประเมนิ ตามสภาพจรงิ เปน็ ทางเลอื กอกี ทางหนง่ึ ส�ำหรบั การวดั และการประเมนิ ผลซงึ่ เขา้ มามบี ทบาททดแทน สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
แบบทดสอบมาตรฐานซ่ึงส่วนใหญ่เป็นแบบทดสอบเลือกตอบที่ไม่สามารถวัดและประเมินผลความรู้และทักษะได้
ลักษณะส�ำคญั ของการประเมนิ ตามสภาพจรงิ มอี งคป์ ระกอบส�ำคญั ดังนี้
1. เป็นงานปฏิบัติท่ีมีความหมาย (Meaningful Task) งานท่ีให้ผู้เรียนปฏิบัติต้องเป็นงานที่สอดคล้อง
กับชวี ติ ประจ�ำวัน เป็นเหตุการณ์จริงมากกว่ากจิ กรรมทจ่ี �ำลองขน้ึ เพ่อื ใชใ้ นการทดสอบ
2. เปน็ การประเมนิ รอบดา้ นดว้ ยวธิ กี ารทห่ี ลากหลาย(MultipleAssessment)เปน็ การประเมนิ ผเู้ รยี นทกุ ดา้ น
ทงั้ ความรู้ความสามารถและทกั ษะตลอดจนคณุ ลกั ษณะนสิ ยั โดยใชเ้ ครอื่ งมอื ทเ่ี หมาะสมสอดคลอ้ งกบั วธิ แี หง่ การเรยี นรู้
และพฒั นาการของผู้เรียน เน้นใหผ้ เู้ รียนตอบสนองด้วยการแสดงออก สรา้ งสรรค์ ผลิต หรอื ท�ำงาน ในการประเมิน
ของผู้สอนจึงต้องประเมินหลายๆ ครั้ง ด้วยวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสม เน้นการลงมือปฏิบัติมากกว่า
การประเมนิ ด้านองค์ความรู้
3. ผลผลิตมีคุณภาพ (Quality Products) ผู้เรียนจะมีการประเมินตนเองตลอดเวลาและพยายามแก้ไข
จุดด้อยของตนเอง จนกระท่ังได้ผลงานที่ผลิตข้ึนอย่างมีคุณภาพ ผู้เรียนเกิดความพึงพอใจในผลงานของตนเอง
มีการแสดงผลงานของผู้เรียนต่อสาธารณชน เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้อ่ืนได้เรียนรู้และชื่นชม จากการจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอน ผเู้ รยี นมโี อกาสเลอื กปฏบิ ตั งิ านไดต้ ามความพงึ พอใจ นอกจากนยี้ งั จ�ำเปน็ ตอ้ งมมี าตรฐานของงาน
หรือสภาพความส�ำเร็จของงานที่เกิดจากการก�ำหนดร่วมกันระหว่างผู้สอน ผู้เรียน และอาจรวมถึงผู้ปกครองด้วย
มาตรฐานหรอื สภาพความส�ำเรจ็ ดังกลา่ วจะเปน็ สง่ิ ทชี่ ่วยบ่งบอกว่างานของผู้เรยี นมีคณุ ภาพอย่ใู นระดบั ใด
4. ใช้ความคดิ ระดับสูง (Higher-Order Thinking) ในการประเมินตามสภาพจรงิ ผสู้ อนตอ้ งพยายามให้
ผู้เรียนแสดงออกหรือผลิตผลงานขึ้นมา ซึ่งเป็นผลงานที่เกิดจากการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ ประเมินทางเลือก
ลงมอื กระท�ำ ตลอดจนการใชท้ กั ษะการแกป้ ญั หาเมอื่ พบปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ ซง่ึ ตอ้ งใชค้ วามสามารถในการคดิ ระดบั สงู
5. มีปฏสิ ัมพันธท์ างบวก (Positive Interaction) ผ้เู รยี นต้องไมร่ ู้สกึ เครียดหรือเบ่ือหน่ายต่อการประเมิน
ผู้สอน ผู้ปกครอง และผู้เรียนต้องมีความร่วมมือที่ดีต่อกันในการประเมิน และการใช้ผลการประเมินแก้ไข
ปรบั ปรุงผเู้ รยี น
6. งานและมาตรฐานตอ้ งชัดเจน (Clear Tasks and Standard) งานและกิจกรรมที่จะให้ผเู้ รียนปฏบิ ตั ิ
มีขอบเขตชัดเจน สอดคลอ้ งกับจุดหมายหรือสภาพท่ีคาดหวังความตอ้ งการท่ีให้เกิดพฤติกรรมดังกล่าว
7. มกี ารสะท้อนตนเอง (Self-Reflections) ตอ้ งมีการเปิดโอกาสใหผ้ ูเ้ รียนแสดงความรู้สกึ ความคิดเห็น
หรือเหตุผลต่อการแสดงออก การกระท�ำหรือผลงานของตนเองว่าท�ำไมถึงปฏิบัติหรือไม่ปฏิบัติ ท�ำไมถึงชอบ
และไมช่ อบ
8. มคี วามสมั พนั ธก์ บั ชวี ติ จรงิ (Transfer into Life) ปญั หาทเี่ ปน็ สงิ่ เรา้ ใหผ้ เู้ รยี นไดต้ อบสนองตอ้ งเปน็ ปญั หา
ทส่ี อดคลอ้ งกบั ชวี ติ ประจ�ำวนั พฤตกิ รรมทปี่ ระเมนิ ตอ้ งเปน็ พฤตกิ รรมทเี่ กดิ ขน้ึ จรงิ ในชวี ติ ประจ�ำวนั ทง้ั ทสี่ ถานศกึ ษา
และทีบ่ ้านดังนน้ั ผู้ปกครองผ้เู รยี นจงึ นับว่ามบี ทบาทเปน็ อยา่ งย่ิงในการประเมินตามสภาพจริง
9. เปน็ การประเมนิ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง (Ongoing or Formative) ตอ้ งประเมนิ ผเู้ รยี นอยา่ งตอ่ เนอื่ งตลอดเวลา
และทุกสถานท่ีอย่างไม่เปน็ ทางการ ซง่ึ จะท�ำใหเ้ หน็ พฤติกรรมที่แทจ้ รงิ เห็นพัฒนาการ คน้ พบจุดเดน่ และจดุ ดอ้ ย
ของผ้เู รยี น
10. เปน็ การบรู ณาการความรู้(IntegrationofKnowledge)งานทใี่ หผ้ เู้ รยี นลงมอื ปฏบิ ตั นิ นั้ ควรเปน็ งานทต่ี อ้ งใช้
ความรู้ ความสามารถ และทกั ษะทเี่ กดิ จากการเรยี นรใู้ นหลายสาขาวชิ า ลกั ษณะส�ำคญั ดงั กลา่ วจะชว่ ยแกไ้ ขจดุ ออ่ นของ
การจดั การเรยี นรแู้ ละการประเมนิ ผลแบบเดมิ ทพ่ี ยายามแยกยอ่ ยจดุ ประสงคอ์ อกเปน็ สว่ นๆ และประเมนิ ผลเปน็ เรอ่ื งๆ
ดงั นนั้ ผเู้ รยี นจงึ ขาดโอกาสทจี่ ะบรู ณาการความรแู้ ละทกั ษะจากวชิ าตา่ งๆ เพอ่ื ใชใ้ นการปฏบิ ตั งิ านหรอื แกป้ ญั หาทพี่ บ
ซึ่งสอดคล้องกับชีวติ ประจ�ำวนั หรือปัญหานน้ั ตอ้ งใส่ความรู้ ความสามารถ และทกั ษะจากหลายๆ วชิ ามาชว่ ยใน
การท�ำงานหรอื แก้ไขปัญหา

20 สุดยอดค่มู ือครู

สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด1.4 ค�ำแนะน�ำในการนำ� ค่มู ือครไู ปใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน

สว่ นประกอบของคมู่ อื ครู
คูม่ ือครมู อี งค์ประกอบสำ�คญั 3 ส่วน ดังน้ี
ส่วนที่ 1 กระบวนการจัดการเรียนการสอนสำ�หรับครู คอื สว่ นทน่ี �ำ เสนอในเอกสารฉบับนี้ ประกอบด้วย
สาระส�ำ คญั 3 รายการ คอื
1. รูปแบบ เทคนิควิธีการจัดกระบวนการเรียนรู้ คู่มือครูฉบับนี้นำ�เสนอ “กระบวนการจัดการเรียนรู้
แตล่ ะหน่วยดว้ ยกระบวนการเรยี นรู้แบบ GPAS 5 Steps” แต่ละ Steps น�ำ เสนอขน้ั ตอน/วิธดี �ำ เนินกจิ กรรมส�ำ คัญ
ที่เป็นหัวใจสำ�คัญของการจัดการเรียนรู้แต่ละข้ันตอนที่เน้นการเรียนรู้ตามแนวคิด “ผู้เรียนร่วมกันสร้างความรู้
ด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์และลงมือปฏิบัตินำ�ความรู้ไปใช้ผลิตผลงานและตรวจสอบตนเอง” โดยยึดเน้ือหา
ในหน่วยการเรยี นรูท้ ี่กำ�หนดในหนงั สือเรยี นเปน็ หลัก

ถ้าหนังสือเรียนหน่วยใดมีเนื้อหาสาระท่ีจัดให้เรียนรู้ในหลายความคิดรวบยอดแตกต่างกัน หรือจำ�นวน
หัวเรอ่ื งมากจนไมส่ ามารถใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ให้ครอบคลมุ หัวเรือ่ งทงั้ หมดในหน่วยนัน้ ได้
จะจัดดำ�เนนิ การออกแบบการเรียนรู้แยกเปน็ เรอ่ื งๆ 2 หรือ 3 เรอ่ื ง เพอื่ ใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps ให้จบ
เน้ือหาน้นั ตามความแตกตา่ งของความคดิ รวบยอดหรอื หัวขอ้ เรือ่ ง แตจ่ ะรวมการประเมินไวใ้ นหน่วยเดียวกนั ตาม
ต้นฉบบั หนังสือเรียนเพื่อไมใ่ หส้ บั สนในการประเมนิ จดุ ประสงคป์ ระจ�ำ หน่วยการเรยี นรู้ ดังรายละเอียดในเอกสาร
2. การบูรณาการการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ทุกหน่วยการเรียนรู้ได้นำ�เสนอ “การบูรณาการกิจกรรม
การเรียนรู้” ไว้ต่อจากคำ�แนะนำ�ในการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้แต่ละหน่วยการเรียนรู้ หรือหากเน้ือหา
ในหน่วยการเรียนรู้ถูกแบ่งกลุ่มหัวข้อเนื้อหาเป็นหลายเร่ืองเพ่ือจัดกระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps
แยกจากกัน ก็ให้มีการน�ำ เสนอ “การบูรณาการกิจกรรมการเรียนรู้” ทุกหัวข้อเร่ือง กิจกรรมบูรณาการการเรียนรู้
มหี วั ขอ้ สำ�คัญดงั นี้
2.1 สมรรถนะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ไดแ้ ก่ ความตระหนกั ร้ใู นตน (Personal Spirit) การคดิ (Thinking)
การแกป้ ญั หา (Problem Solving) การท�ำ งานเปน็ ทมี (Team) การสอื่ สาร (Communication) และอน่ื ๆ ซงึ่ จดั บรู ณาการ
เข้าไปในกระบวนการจัดกิจกรรมแต่ละข้ันตอน เช่น การให้ผู้เรียนทำ�งานและเรียนรู้เป็นกลุ่ม ผลัดเปล่ียนกัน
แบง่ บทบาทหนา้ ทใี่ หร้ บั ผดิ ชอบในกลมุ่ เรยี นรรู้ ว่ มกนั คดิ วเิ คราะห์ แกป้ ญั หา และประเมนิ ตนเอง ซงึ่ จดั ไวใ้ นกจิ กรรม
การเรียนรทู้ กุ หนว่ ยการเรียนร้แู ลว้
2.2 การเรยี นรสู้ อู่ าเซยี น สว่ นใหญเ่ นน้ ไปทก่ี ารบรู ณาการคำ�ศพั ทภ์ าษาองั กฤษเกย่ี วกบั เนอ้ื หาทก่ี ำ�หนด
ใหใ้ นหนว่ ยการเรยี นรู้ ชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ พม่ิ พนู ความรภู้ าษาองั กฤษ และมเี จตคตทิ ด่ี ตี อ่ การสอื่ สารดว้ ยภาษาองั กฤษ
ซง่ึ เปน็ ภาษากลางทใี่ ชส้ อื่ สารในกลมุ่ ประเทศอาเซยี น และอาจจดั ใหศ้ กึ ษาภมู ปิ ระเทศ ภมู ปิ ญั ญา ศลิ ปะ วฒั นธรรม
การปกครอง และงานอาชีพของประเทศในอาเซยี น ในประเดน็ ท่สี อดคล้องกบั เนือ้ หาในหนว่ ยการเรียนรนู้ ้ันๆ
2.3 ทกั ษะชวี ติ เปน็ การบรู ณาการทง้ั ความรใู้ นสาระทเี่ รยี น ทกั ษะและคา่ นยิ มไปใชป้ ระโยชนใ์ นชวี ติ จรงิ
หรือสถานการณ์จำ�ลองในกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ หรือประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วัน เพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต
และพัฒนาธุรกิจให้ประสบความสำ�เร็จ ได้แก่ การสร้างมนุษยสัมพันธ์ การรู้จักตนเองและเรียนรู้ผู้อื่น การคิด
แก้ปัญหาและตัดสินใจเชิงบวก ซึ่งช่วยพัฒนาด้วยจิตปัญญาให้ผู้เรียนเฉพาะส่วนท่ีสอดคล้องกับเน้ือหาในหน่วย
การเรียนรู้
2.4 คา่ นยิ มหลกั 12 ประการ เน้นการปลูกฝงั จริยธรรมค่านิยมทด่ี ีงามตามลักษณะทด่ี ขี องคนไทย โดย
เลอื กมาใชแ้ ตล่ ะหนว่ ยการเรยี นรดู้ ว้ ยการใหผ้ เู้ รยี นไดต้ ระหนกั ถงึ จรยิ ธรรม คา่ นยิ มทเ่ี ลอื กมาก�ำ หนดในกระบวนการ
จัดกิจกรรมท่ีสัมพันธก์ บั เน้อื หาในหน่วยท่เี รยี นและกระบวนการเรียนร้ทู กุ ข้ันตอน

สุดยอดคูม่ อื ครู 21

2.5 กิจกรรมท้าทาย เป็นกิจกรรมเสริมความถนัด ความสนใจของผู้เรียนท่ีเพิ่มเติมจากกิจกรรมใน สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
หนว่ ยการเรยี นรซู้ ง่ึ อาจทำ�เปน็ กลมุ่ หรอื รายบคุ คลกไ็ ด้ กจิ กรรมทา้ ทายจะเปน็ สว่ นเตมิ เตม็ ความรทู้ กั ษะของผเู้ รยี น
เสริมสร้างสมรรถนะให้สูงข้ึนต่อเน่ืองจากกิจกรรมในหน่วยการเรียนรู้ ผู้เรียนที่สนใจสามารถใช้เวลานอกหน่วย
การเรยี นรู้ปฏิบตั กิ ิจกรรมนด้ี ้วยความรบั ผดิ ชอบของตน
3. แผนการประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้และสมรรถนะประจำ�หน่วย เป็นส่วนท่ีออกแบบไว้สำ�หรับ
ผู้สอนใช้ในการประเมินจุดประสงค์การเรียนรู้ในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ เน้นการประเมินสภาพจริง (Authentic
Assessment) โดยนำ�เอาภาระงาน/ช้ินงาน/การแสดงออกของผู้เรียนที่ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ตามขั้นตอน
ของกระบวนการเรียนรู้แบบ GPAS 5 Steps ที่สอดคล้องสัมพันธ์กับจุดประสงค์การเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้
แต่ละหน่วยมากำ�หนดระดับคุณภาพหรือคะแนนในภาระงาน/ชิ้นงาน/การแสดงออกของผู้เรียนแต่ละเร่ืองตามที่
ออกแบบไว้ เพื่อสรปุ ผลการประเมินในหนว่ ยการเรียนร้นู น้ั ดังนี้
3.1 ภาระงาน/ช้ินงาน/การแสดงออกของผู้เรียนระหว่างเรียน ได้แก่ ภาระงานในการรวบรวมข้อมูล
(G; Gathering) การวเิ คราะหข์ อ้ มลู สรุปความร้คู วามเขา้ ใจ (P; Processing และ A; Applying and Constructing
Knowledge) การนำ�เสนอผลการนำ�ไปใช้และสรุปความรู้ความเข้าใจ (A; Applying the Communication Skill)
ทเี่ กดิ ขนึ้ ในระหวา่ งปฏบิ ตั กิ จิ กรรมในแตล่ ะขนั้ ตอน สว่ นใหญเ่ ปน็ การประเมนิ เชงิ คณุ ภาพจดั ระดบั คณุ ภาพไว้ 4 ระดบั
คือดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) และต้องปรับปรุง (1) และอาจให้ค่าน้ําหนักแต่ละรายการคิดเป็นคะแนน ท้ังนี้
ขึ้นอยู่กับผสู้ อนจะพจิ ารณาเพิ่มเติมใหเ้ หมาะสมกับบริบทของการจดั การเรยี นรู้
3.2 ภาระงาน/ชิ้นงานรวบยอดเมื่อจบหน่วยการเรียนรู้ อยู่ในข้ันการประเมินตนเองเพ่ือเพ่ิมคุณค่า
บรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ (S; Self-Regulating) ได้แก่ คะแนนจากผลการปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจ
คะแนนจากผลการปฏบิ ตั กิ จิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ คะแนนจากผลการประเมนิ ตนเอง และคะแนนจากแบบทดสอบ
(ศึกษาเอกสารในเล่มประกอบ)
ส่วนที่ 2 การออกแบบการจัดการเรียนรู้ระดับหน่วยการเรียนรู้ ในส่วนนี้ได้นำ�กระบวนการจัด
การเรียนรู้สำ�หรับผู้สอน ในส่วนท่ี 1 มาขยายให้เห็นรายละเอียดในวิธีจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ชัดเจนมากข้ึน
โดยประยุกตใ์ ชแ้ นวทางการออกแบบการเรียนรู้แบบ Backward Design ของ Grant Wiggins and Jay McTighe
ก�ำ หนดไว้ 3 ข้ันตอน ได้แก่
ข้นั ตอนท่ี 1 กำ�หนดเป้าหมายคณุ ภาพผเู้ รียน (Stage 1-Desired Results) ในการออกแบบการเรยี นรู้
ระดับหนว่ ยการเรยี นรู้ ในทีน่ ไ้ี ด้ก�ำ หนดเป้าหมายคณุ ภาพผเู้ รียนเป็นเป้าหมายย่อยๆ ไว้ ดงั น้ี
1. ความคดิ รวบยอด/ความเข้าใจท่ีคงทน
2. สาระการเรียนรู้
3. สมรรถนะประจำ�หน่วย
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
ข้ันตอนท่ี 2 ก�ำ หนดหลกั ฐานรอ่ งรอยภาระงาน/ชิ้นงาน/การแสดงออกของผู้เรยี นสำ�หรับการประเมิน
(Stage 2-Assessment Evidence) ในทีน่ ้ไี ดก้ ำ�หนดสาระส�ำ คญั ในการประเมินผล ได้แก่
1. วธิ ีประเมินทส่ี อดคล้องจดุ ประสงค์การเรยี นรใู้ นหน่วยการเรียนรู้ ไดแ้ ก่ ภาระงาน/ช้นิ งาน/การแสดงออก
ของผู้เรยี น แยกเปน็
• ภาระงาน/ชิ้นงานระหว่างเรยี น
• ภาระงาน/ชน้ิ งานรวบยอดในหน่วยการเรียนรู้

22 สุดยอดคูม่ อื ครู

สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด 2. เกณฑป์ ระเมนิ จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรจู้ ากภาระงาน/ชน้ิ งาน/การแสดงออกของผเู้ รยี นระหวา่ งเรยี น กำ�หนด
เป็นระดับคุณภาพ 4 ระดับ ดังได้กล่าวแล้วข้างต้น มีคำ�อธิบายเกณฑ์การประเมินแต่ละระดับทุกจุดประสงค์
การเรียนรู้ เพ่ือให้ผู้ประเมินสามารถประเมินได้เท่ียงตรงสอดคล้องกับความเป็นจริง ได้นำ�เสนอในหน่วย
การเรยี นรทู้ ุกหน่วยอย่างละเอียด
ข้นั ตอนท่ี 3 ออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรู้ (Stage 3-Learning Plan) ในที่น้ไี ด้ก�ำ หนดกระบวนการเรียนรู้
ทเี่ นน้ ทกั ษะการคดิ การปฏบิ ตั จิ รงิ ทผี่ เู้ รยี นเปน็ ผสู้ รา้ งความรู้ ใชค้ วามรผู้ ลติ ผลงาน ดว้ ยกระบวนการ GPAS 5 Steps
ดงั นี้
Step 1 Gathering (ขัน้ รวบรวมข้อมลู )
Step 2 Processing (ขั้นคดิ วิเคราะห์และสรปุ ความรู)้
Step 3 Applying and Constructing the Knowledge (ข้นั ปฏิบตั ิและสรปุ ความร้หู ลังการปฏิบตั ิ)
Step 4 Applying the Communication Skill (ข้นั สอ่ื สารและนำ�เสนอ)
Step 5 Self-Regulating (ขนั้ ประเมนิ เพอื่ เพ่มิ คณุ คา่ บรกิ ารสงั คมและจิตสาธารณะ)
รายละเอยี ดน�ำ เสนอใน CD สือ่ ส่งเสรมิ การเรยี นรูท้ ่ีใช้คกู่ ับเอกสารฉบับน้ี
ส่วนท่ี 3 แผนการจัดการเรียนรู้ ได้จัดทำ�เป็นแผนรายชั่วโมงท่ีแสดงรายละเอียดการดำ�เนินกิจกรรม
แตล่ ะขนั้ ตอนตาม GPAS 5 Steps ใหช้ ดั เจนมากขน้ึ ผสู้ อนสามารถปรบั ใชใ้ หเ้ ขา้ กบั บรบิ ทของผเู้ รยี นและหอ้ งเรยี น
แต่ละแห่งในแตล่ ะโอกาส ในแผนการจดั การเรียนรไู้ ด้นำ�เสนอรายละเอียดดงั นี้
1. สาระส�ำ คญั ของเรอ่ื งหรอื เนอ้ื หาท่ีเรยี น
2. ค�ำ ถามทผี่ สู้ อนใชถ้ ามผเู้ รยี นเพอ่ื กระตนุ้ ใหแ้ สวงหาขอ้ มลู ค�ำ ตอบ หรอื ขอ้ สรปุ ดว้ ยตนเองในแตล่ ะขน้ั ตอน
ในช่ัวโมงสอน
3. แบบบนั ทึก ผังกราฟิก (Graphic Organizers) ที่ใหผ้ ูเ้ รยี นนำ�ไปใช้ในข้ันตอนตา่ งๆ ของการจัดการเรยี นรู้
ตามกระบวนการเรียนร้แู บบ GPAS 5 Steps เช่น ผังกราฟกิ ในการสังเกตรวบรวมและบันทึกข้อมูล ผงั กราฟิกการ
วิเคราะหข์ อ้ มูลและสรปุ ความรใู้ นรปู แบบตา่ งๆ เป็นตน้
4. ส่อื อุปกรณแ์ ละแหลง่ เรียนรู้ สำ�หรับผสู้ อนและผเู้ รียนทจ่ี ะหาความรู้เพม่ิ เตมิ ในเนือ้ หาแต่ละหน่วย
5. กจิ กรรมเสนอแนะ ส�ำ หรบั ผสู้ อนเสรมิ ความรแู้ ละทกั ษะใหก้ บั ผเู้ รยี นทม่ี จี ดุ เดน่ ทจี่ ะเรยี นรใู้ หเ้ ตม็ ตามศกั ยภาพ
6. บันทึกหลังสอน สำ�หรับผู้สอนประเมินการจัดการเรียนรู้ในแต่ละแผน เป็นแบบบันทึกการประเมิน
เชงิ ระบบประกอบด้วยหวั ข้อส�ำ คญั คือ
• ความพร้อมก่อนด�ำ เนินกจิ กรรม (สอื่ วสั ดุอุปกรณ์ การเข้าชั้นเรยี น พ้นื ฐานความรเู้ ดิมของผู้เรยี น)
• บรรยากาศการเรยี นรู้ (ความสนใจ ปฏสิ มั พนั ธใ์ นหอ้ ง ความราบรน่ื ในการด�ำ เนนิ กจิ กรรมการเรยี นการสอน)
• ผลการเรยี นรู้ (จ�ำ นวนผเู้ รยี นทม่ี ผี ลงานระหวา่ งเรยี นและผลการประเมนิ บรรลวุ ตั ถปุ ระสงคแ์ ตล่ ะระดบั
ผเู้ รยี นท่ีเปน็ ผูน้ ำ� ผูเ้ รยี นที่ตอ้ งให้ความสนใจเพ่มิ เติม)
• แนวทางการพฒั นาในคร้ังต่อไป (สิ่งท่ตี ้องยตุ ิ ส่ิงที่นำ�มาใชต้ ่อ สงิ่ ที่ตอ้ งปรับปรุงเพ่มิ เตมิ )
รายละเอียดนำ�เสนอใน CD สอื่ ส่งเสรมิ การเรียนรู้ท่ีใชค้ กู่ ับเอกสารฉบับน้ี
หมายเหตุ: ส่วนท่ี 2 และสว่ นที่ 3 ทางส�ำนกั พิมพ์ บรษิ ทั พฒั นาคณุ ภาพวิชาการ (พว.) จ�ำกดั ได้จัดท�ำเป็น
ไฟล์เอกสาร Word บันทึกลงในแผ่น CD ผู้สอนสามารถคัดลอก ดัดแปลง หรือปรับเปล่ียน
รายละเอียดเพื่อน�ำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา
ตรงตามความตอ้ งการความพร้อม และความสนใจของผู้เรยี นแตล่ ะคนหรือแตล่ ะหอ้ งเรียน

สดุ ยอดคู่มือครู 23

สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัดพฒั นาความน�ำ ข้อมูลมาจ�ำ แนกสร้างความรขู้ ้ันสูง คอืคดิ ออกแบบ
สามารถในการ จัดกลมุ่ วิเคราะห์ ความรู้ระดับคุณธรรม หลายๆ แบบ
เก็บข้อมูล พิสูจน์ ทดลอง จริยธรรม โดยใหน้ �ำ เพอื่ สรา้ ง
รวบรวมขอ้ มูลจาก วิจยั ให้เห็นล�ำ ดับ ผลการคดิ ของตนเอง ทางเลือกหรือ
การฟัง การอา่ น ความสำ�คัญและ มาไตรต่ รองวา่ วธิ ีคิด เพ่ือหาวิธี
การดูงาน การส�ำ รวจ ความสัมพนั ธ์ ดังกล่าวจะน�ำ ไป หลายๆ วิธี
การสัมภาษณ์ เชอื่ มโยง ใหร้ ู้วา่ ส่ผู ลส�ำ เร็จหรอื ไม่ ทจ่ี ะนำ�ความรู้
การไปดเู หตกุ ารณ์ อะไรคือปัญหา สง่ ประโยชน์ถึงสงั คม ไปปฏบิ ตั ใิ ห้
หรอื สถานการณ์ ที่แทจ้ ริง อะไรคือ สาธารณะและ เตม็ ศกั ยภาพ
ที่เกิดขน้ึ จริง เพ่อื นำ� สาเหตุท่นี ำ�สู่ปัญหา สิง่ แวดลอ้ มหรอื ไม่ และงดงาม
ขอ้ มลู ไปจัดกระทำ� เกิดผลกระทบ ถา้ ไมถ่ ึงจะปรบั และนำ�ผลไปสู่
ใหเ้ กดิ ความหมาย จากปญั หา ตรงไหน อย่างไร ความส�ำ เร็จ
ผ่านกระบวนการ หาวธิ ีแกป้ ญั หา จงึ จะเปน็ ไปตาม แบบคงทน
คิดวิเคราะห์ แนวทางป้องกนั วตั ถปุ ระสงค์ จึงกล้า อย่างมลี ำ�ดบั
สาเหตไุ ม่ให้ วิจารณ์ กลา้ เสนอแนะ ขัน้ ตอน เพอื่ การ
เกิดข้นึ และ อยา่ งสร้างสรรค์ ตรวจสอบทม่ี ี
ไม่นำ�สู่ปัญหา รบั ฟงั ขอ้ เสนอแนะ ประสทิ ธิภาพ
ข้อวิจารณ์ จากเพ่ือน และแกป้ ัญหาใน
ครู พอ่ แม่ อยา่ งมี แต่ละขัน้ ตอนได้
เหตผุ ล ทบทวน ตรงวตั ถุประสงค์
ปรบั ปรงุ ดว้ ยความยินดี
มีคา่ นิยมในความเปน็
ประชาธิปไตยเสมอ

ออกแบบ
Activeคณุ ธปรรระมเมคิน่านยิ ม
สวงั ิเเคครราาะะหห์ ์

ขอ้ มลู แผนการสอน ค่มู ือครู Active Learning ตามแนว

สรปุ รายงานผล เป้าหมายการเรยี นรู้ Portfolio

24 สุดยอดคูม่ อื ครู

สามารถคิด กอ่ นลงมอื ปฏิบัติ การปฏิบตั ทิ ีด่ จี ึงต้องปฏบิ ัติ เมือ่ งานส�ำ เร็จ รจู้ กั
ตัดสินใจเลือก น�ำ แนวคิดและ ตามแผนทว่ี างไว้ ผ่าน ประเมนิ งานทัง้ ด้วย
แนวทางหรือ ตดั สนิ ใจมาจดั การวเิ คราะห์ การไตรต่ รอง เหตุผลควบค่กู ับการ
วธิ ที ่ดี ีท่สี ดุ ที่ ลำ�ดบั ขั้นตอน ไวอ้ ยา่ งดแี ล้ว การปฏบิ ัติ ประเมนิ ตนเองเสมอ
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัดน�ำ ไปสูค่ วาม การทำ�งานจรงิ จึงเป็นการพัฒนาถ้ากระบวนการนน้ั
ส�ำ เรจ็ ได้จรงิ เพ่อื สามารถ การทำ�งานรว่ มกบั ผ้อู น่ื หรอื น�ำ ไปสู่ผลจริง ก็จะ
น�ำ ประโยชน์ ดำ�เนนิ งานไป ท�ำ งานเปน็ ทีม ท่ตี ้องมกี าร น�ำ กระบวนการน้ัน
ไปสสู่ ังคม ตามแผนการคิด จัดการแบง่ งานให้ตรงตาม ไปพัฒนาหรือ
สาธารณะ ที่ผา่ นการ ความถนัด แชร์ความคดิ ท�ำ งานในกลุ่มสาระ
สิง่ แวดล้อม ไตรต่ รองมา ประสบการณ์ ร้จู ักรับฟงั อน่ื ๆ เพอื่ ใหไ้ ดง้ าน
เปน็ วธิ ที ่ี อยา่ งดีแลว้ และ รจู้ กั เสนอแนะ มคี ่านยิ ม ทม่ี ีคุณภาพและ
ค้มุ คา่ เพอื่ พสิ ูจนใ์ ห้ แสดงออกเปน็ ประชาธิปไตย คุณค่าเพมิ่ ขึ้นเสมอ
ตัง้ อยู่บน เหน็ ว่าส่ิงทคี่ ดิ ร้จู กั อดทน ขยัน รับผดิ ชอบ ขัน้ ตอนใดที่มีจุดอ่อน
หลกั การของ ไว้เมอ่ื น�ำ ไป ในหน้าที่การทำ�งานหรือ กต็ ้องปรบั ปรงุ
ปรัชญา ปฏิบัติจริงแล้ว ปฏบิ ัติ มงุ่ หวังเพ่ือให้ ใหด้ ยี ง่ิ ขึ้น เมอ่ื ได้
เศรษฐกิจ สามารถด�ำ เนิน ไดง้ านที่ดขี ้นึ เพอื่ ประโยชน์ กระบวนการทด่ี ีแล้ว
พอเพียง การได้ตาม ของสังคมสว่ นรวมที่กว้างไกล กส็ รุปกระบวนการ
ทีค่ ิดไวห้ รอื ไม่ ขนึ้ ค�ำ นึงถึงผลกระทบ นน้ั ใหเ้ ปน็ หลกั การ
เพอ่ื น�ำ ไปสู่ ต่อสาธารณะและสง่ิ แวดลอ้ ม พฒั นางานท่ดี ีของ
การแกป้ ัญหา มากยงิ่ ข้ึน อกี ท้งั ยังน�ำ กรอบ ตนเอง เปน็ เครอ่ื งมอื
และพฒั นาการ ความคดิ มาปฏิบัติเพือ่ การเรยี นรู้
เกบ็ ข้อมูลและ การออกแบบ สร้างนวตั กรรม ใชเ้ รยี นรขู้ อ้ มูลได้
การคิดตอ่ ไป ดว้ ยสื่อเทคโนโลยไี ด้อยา่ ง ทกุ โอกาสท่ัวโลก
ทัดเทียมกบั ความเป็นสากล และทกุ สถานการณ์
ทกุ เงื่อนไข
วางแผน ได้ตลอดชวี ติ

Learningตดั สนิ ใจ ปฏิบัติ

Backward Design ใชก้ ระบวนการ GPAS 5 Steps ความรู้

AKP 123 4 ประเมินตนเอง เพม่ิ ค่านิยม คุณธรรม

Rubrics

สดุ ยอดค่มู ือครู 25

การศกึ ษาในศตวรรษท่ี ๒๑ - Thailand 4.0

หนง่ึ คาถามมหี ลายคาตอบ คน้ หาคณุ ธรรม คา่ นิยม ลงมือทา
ค้นหาความรู้ดว้ ยตนเอง ประเมนิ ตนเอง / ร้จู ักตนเอง เรยี นให้รจู้ ริง
พัฒนาความคิดสรา้ งสรรค์ จิตสานกึ ตอ่ โลก เศรษฐกิจ เรียนร้จู ากการทางาน
คิดสกู่ ารสรา้ งนวัตกรรม ธรุ กจิ การประกอบการ ทาโครงงาน
ตกผลึกความเปน็ ผนู้ า ความเป็นพลโลก สุขภาพ ส่ิงแวดลอ้ ม ทาเปน็ ทมี
พัฒนาความสามารถการใช้ คดิ เชิงวพิ ากษ์และการแกป้ ญั หา คน้ หาวธิ กี าร
สื่อ / สารสนเทศ ความร่วมมือในการทางาน ใชก้ ระบวนการสรา้ งความรู้
ความรับผดิ ชอบตอ่ การเปน็ ผนู้ า เกดิ ทกั ษะครบทกุ ด้าน
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด ใช้ทกั ษะเรียนรู้ขา้ มวฒั นธรรม
การเพ่มิ ผลผลิต สรา้ งนวัตกรรม
นาเสนอจาก After Action
Review (AAR)
เกิดทักษะพน้ื ฐานดา้ นเทคโนโลยี
สารสนเทศและการสอื่ สาร ICT
สือ่ สารมากกวา่ 2 ภาษา

ประเมินเพือ่ การพัฒนาและเพม่ิ คา่ นยิ ม คณุ ธรรม

สถาบนั พัฒนาคุณภาพวชิ าการ(พว.) เข้าใจความรูท้ ั้งสามมิติและหลากหลาย ดร.ศักดส์ิ ิน โรจน์สราญรมย์
ประเมินเพอื่ การพัฒนาความรู้ท้งั สามมติ ิ

26 สุดยอดคูม่ ือครู

1. ขG้ันaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2. ขP้ันrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

A3. ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ข้ันสื่อสารและน�ำเสนอ 5 . ขSั้นeปlรf-ะRเมeินgเพu่ือlaเพtiิ่มnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ทักษะชีวิต ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก
asean

1หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัดพฒั นาการของวยั รุ่น หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1

สาระสำาคัญ พัฒนาการของวยั รุ่น
วัยรุ่นเป็นวัยท่ีมีการเปลี่ยนแปลงหลายด้าน ทำาให้ต้องมีการปรับตัวหลายด้านพร้อมๆ กัน 
การปรบั ตัวจะช่วยใหว้ ัยรุ่นได้พัฒนาตนเอง ซึง่ จะเป็นพ้นื ฐานสำาคญั ของการดำาเนินชวี ิต การเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้
พฒั นาการวยั รนุ่ จงึ มปี ระโยชนต์ อ่ การสง่ เสรมิ ใหว้ ยั รนุ่ เตบิ โตเปน็ ผใู้ หญท่ ม่ี สี ขุ ภาพทดี่ ที งั้ ทางรา่ งกาย 1. ความหมายและความส�ำคัญของพัฒนาการ
จติ ใจ และสงั คม ชว่ ยปอ้ งกันปญั หาตา่ งๆ เช่น ปัญหาทางเพศ ปัญหาการใชส้ ารเสพติด  (หนังสือเรยี น หนา้ 3)
2. พฒั นาการดา้ นตา่ งๆ ของวยั รนุ่ (หนงั สอื เรยี น
หนา้ 3-5)
3. ปัญหาและวิธีการจัดการกับปัญหาในวัยรุ่น
(หนงั สือเรยี น หน้า 6-8)
สมรรถนะประจ�ำหน่วย
1. แสดงความรู้เกยี่ วกับพัฒนาการของวัยรนุ่
2. ปฏบิ ตั ติ นตามพฒั นาการของวยั รุ่น
จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. บอกความหมายและความส�ำคัญของ
พัฒนาการได้
2. อธิบายพฒั นาการดา้ นต่างๆ ของวยั รนุ่ ได้
3. อธิบายปัญหาและแสดงวิธีการจัดการกับ
ปญั หาในวยั รุน่ ได้
4. อธิบายการเปลย่ี นแปลงของวัยรนุ่ ได้

สาระการเรียนรู้
1. ความหมายและความสาำ คญั ของพฒั นาการ
2. พัฒนาการดา้ นตา่ งๆ ของวัยร่นุ
3. ปัญหาและวธิ กี ารจัดการกบั ปัญหาในวยั รนุ่
4. การเปลย่ี นแปลงของวัยรนุ่

การประเมินผล ภาระงาน/ชิ้นงานรวบยอดในหน่วยการเรยี นรู้
1. ผลการปฏบิ ัติกิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
ภาระงาน/ช้ินงาน/การแสดงออกของผเู้ รียน 2. ผลการปฏบิ ัติกิจกรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรู้
ภาระงาน/ช้ินงานระหวา่ งเรียน 3. ผลการประเมนิ ตนเอง
1. ผงั กราฟกิ แสดงการเกบ็ รวบรวมข้อมลู เก่ียวกับพฒั นาการของวัยรนุ่ 4. คะแนนผลการทดสอบ
2. ผงั กราฟิกสรุปความรคู้ วามเข้าใจเกยี่ วกบั พฒั นาการของวยั รุ่น
3. การนำ� เสนอผลการสรุปความรคู้ วามเขา้ ใจเกี่ยวกบั พัฒนาการของวยั ร่นุ

สุดยอดคมู่ ือครู 27

1 . ขGั้นaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขP้ันrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิต

ep 1 ข้ันรวบรวมข้อมูล 2 เพศวิถีศกึ ษา

Gathering สมรรถนะประจำาหน่วย
1. แสดงความร้เู กยี่ วกับพฒั นาการของวยั รุน่
1. แบ่งกลุ่มผู้เรียนร่วมกันศึกษาเอกสาร 2. ปฏิบัตติ นตามพัฒนาการของวยั รนุ่
หนังสือเรียนเรื่องความหมายและ
ความสำ� คญั ของพฒั นาการ(หนงั สอื เรยี น จดุ ประสงค์การเรียนรู้
หน้า 3) พัฒนาการด้านต่างๆ ของ 1. บอกความหมายและความสำาคัญของพฒั นาการได้
วัยรุ่น (หนังสือเรียน หน้า 3-5) 2. อธิบายพฒั นาการด้านต่างๆ ของวยั รนุ่ ได้
ปัญหาและวิธีการจัดการกับปัญหา 3. อธบิ ายปัญหาและแสดงวิธีการจัดการกบั ปัญหาในวัยรนุ่ ได้
หนังสือเรียน หนา้ 6-8) 4. อธบิ ายการเปล่ยี นแปลงของวัยรุ่นได้
2. ต้ังค�ำถามเพ่ือให้ผู้เรียนได้เก็บรวบรวม
ขอ้ มลู เกยี่ วกบั ความหมาย ความสำ� คญั ผงั สาระการเรียนรู้
St พัฒนาการด้านต่างๆ ของวัยรุ่น เช่น
ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจและสงั คม ปญั หาและ พฒั นาการ ความหมายและความสาำ คัญของพฒั นาการ
สงวนลิขสิท ิธ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ำจ�กัด วธิ ีการจัดการปญั หาของวัยรนุ่ เช่น ของวยั ร่นุ พัฒนาการด้านตา่ งๆ ของวยั รุ่น
- วยั รนุ่ มีพฒั นาการอย่างไรบ้าง
- พฒั นาการแตล่ ะดา้ นมลี กั ษณะอยา่ งไร ปญั หาและวธิ กี ารจดั การกบั ปญั หาในวยั รนุ่
- ในเรอ่ื งความสมั พนั ธ์ การใชส้ ารเสพตดิ การเปลยี่ นแปลงของวัยรุ่น
ปัญหาทางเพศ บุคลิกภาพ มีลักษณะ
วิธีการแก้ปัญหาที่เกิดกับวัยรุ่นได้ บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21
อย่างไรบา้ ง
3. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันบันทึกผล การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา
การเก็บรวบรวมข้อมูลให้ครอบคลุม ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจากสถานการณ์จริงในชีวิตประจ�ำวันและ
สาระ ตามหัวขอ้ ทกี่ �ำหนด ลงผงั กราฟกิ การด�ำเนินชีวิตร่วมกันในสังคมท่ีผู้เรียนเผชิญอยู่ เป็นการเสริมสร้าง
(เลือกออกแบบและใช้ผังกราฟิกให้ สมรรถนะที่ดีท่ีใช้ประโยชน์ได้จริง หากมีการร่วมมือกันท�ำงานเป็นก
เหมาะสมกับลักษณะของข้อมูล) ลมุ่ มกี ารสอื่ สารระหวา่ งกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพจะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเรยี น
ดงั ตวั อย่าง รู้ตนเองและผู้อื่น และเพิม่ พูนสมรรถนะของการเป็นมนุษย์ท่ีสมบรู ณ์

28 สุดยอดค่มู อื ครู

A3. ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ขั้นสื่อสารและน�ำเสนอ 5 . ขS้ันeปlรf-ะRเมeินgเพu่ือlaเพtiิ่มnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

พัฒนาการของวัยร่นุ 3 ep 2 ขนั้ คดิ วิเคราะหแ์ ละสรปุ ความรู้

1. ความหมายและความสำาคัญของพัฒนาการ Processing

1.1 ความหมายของพัฒนาการ 1. ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเปรียบเทียบความเหมือน
ความต่างท่ีรวบรวมได้จากนิยามท่ีศึกษาค้นคว้าและ
พัฒนาการ หมายถึงการเปล่ียนแปลงหรือกระบวนการเปลี่ยนแปลงของมนุษย์อย่างเป็น ความคดิ เหน็ ของสมาชกิ เกยี่ วกบั พฒั นาการของวยั รนุ่
ระบบตั้งแต่แรกเกิด มคี วามตอ่ เนื่องกนั ในช่วงระยะเวลาหนง่ึ ๆ จนตลอดชวี ิต และวธิ กี ารจดั การกับปัญหาในวยั รุน่
พัฒนาการของวัยรุ่น หมายถึงการเปล่ียนแปลงหรือกระบวนการเปล่ียนแปลงของมนุษย์ที่ 2. เชื่อมโยงความคล้ายคลึง/แตกต่างของข้อมูลที่น�ำมา
มอี ายรุ ะหวา่ ง 11 – 17 ปี ประกอบด้วยการเปลีย่ นแปลงดา้ นรา่ งกาย อารมณ์ และจติ ใจ เป็นการพฒั นาจาก อภิปรายและร่วมกันสรุปความรู้ตามหัวข้ออภิปราย
วยั เดก็ สู่วัยผ้ใู หญ่ แสดงเป็นความคิดรวบยอดหรือหลักการลงใน
ผังกราฟิก
1.2 ความสาำ คญั ของพฒั นาการ

พฒั นาการของด้านตา่ งๆ ของวยั รุ่น มคี วามสำาคญั ดังน้ี
1.2.1 การมีร่างกายที่สมบูรณ์แข็งแรง มีภูมิต้านทานโรคและปราศจากภาวะเส่ียงต่อปัญหา
ทางกายตา่ งๆ
1.2.2 ร่างกายมีเอกลักษณ์แห่งตนเอง เช่น การมีบุคลิกภาพดี มีทักษะส่วนตัวและทักษะ
สังคมดี และมเี อกลกั ษณ์ทางเพศท่เี หมาะสม
1.2.3 การปรับตัว เพ่ือดำาเนินชีวิตให้สอดคล้องกับความชอบความถนัด มีมนุษยสัมพันธ์
ทีด่ ีกบั ผู้อื่น
1.2.4 การสร้างมโนธรรม มีความรับผิดชอบ เช่น การมีความรับผิดชอบต่อตนเอง ผู้อื่น
ประเทศชาติ และสิง่ แวดล้อม
1.2.5 การบริหารและจัดการตนเอง เช่น การมีความสามารถบริหารจัดการตนเองโดย
ไมต่ อ้ งพ่งึ พาผอู้ ื่นไดด้ ีกว่าวยั เดก็
สงวนลิขสิท ิธ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ำจ�กัด St
2. พฒั นาการด้านตา่ งๆ ของวัยรุ่น 3. บันทึกผลข้อสรุปเป็นความเข้าใจของกลุ่มและ
รายบุคคล
เม่ือเด็กมีอายุประมาณ 12 – 13 ปีจะเริ่มมีพัฒนาการ โดยวัยรุ่นเพศหญิงจะเข้าสู่วัยรุ่นเร็วกว่า
เพศชายประมาณ 2 ปี วัยรุ่นจะมีพัฒนาการไปจนถึงอายุประมาณ 18 ปี จึงจะเข้าสู่วัยผู้ใหญ่ โดย 4 เพศวิถศี ึกษา
จะเกดิ การเปล่ยี นแปลงในพัฒนาการดา้ นต่างๆ ดงั นี้

2.1 พฒั นาการทางด้านร่างกาย

พัฒนาการด้านรา่ งกายของวยั ร่นุ ไดแ้ ก่
2.1.1 พฒั นาการทางรา่ งกายทว่ั ไป (Physical  Change) วยั รนุ่ จะมรี า่ งกายทเ่ี ตบิ โตขนึ้ อยา่ ง
รวดเร็ว แขนขาจะยาวขึน้ ก่อนจะเห็นการเปล่ยี นแปลงดา้ นอนื่ ๆ เด็กผูช้ ายจะเปลย่ี นแปลงเข้าสวู่ ยั รุ่นโดย
เร่ิมมีชว่ งอกทข่ี ยายใหญข่ ึน้ นมขึน้ พาน เสียงแตก มหี นวดเครา สว่ นเด็กผู้หญิงจะเขา้ สวู่ ัยรุ่นโดยเริ่มจาก
เตา้ นมมีขนาดโตขึ้น สะโพกผายออก เริม่ มีทรวดทรงเพ่ิมขนึ้

เป็นโรคผิวหนังที่พบบ่อยในวัยรุ่น เกิดจากการอักเสบ 2.1.2 การเปล่ียนแปลงทางเพศ (Sexual
ของระบบตอ่ มไขมนั ต�ำแหนง่ ที่พบสวิ มาก ได้แก่ ใบหน้า Change) เด็กผู้ชายจะเปล่ียนแปลงเข้าสู่วัยรุ่นโดยเกิด
หน้าอก หลงั เป็นต้น ฝนั เปยี ก1 สว่ นเดก็ ผหู้ ญงิ จะเขา้ สวู่ ยั รนุ่ โดยเรมิ่ มปี ระจำาเดอื น2
ทั้งสองเพศจะมีอวัยวะเพศขยายใหญ่ขึ้นและเปลี่ยนเป็น
แบบผู้ใหญ ่ มีขนขนึ้ บรเิ วณอวัยวะเพศ  มกี ลน่ิ ตัว  เกดิ สิว

เป็นแนวความคิด ความเช่ือที่บุคคลในสังคมยึดถือเป็น 2.2 พัฒนาการทางดา้ นจติ ใจ  ภาพที ่ 1.1 พัฒนาการของวยั รนุ่
เคร่อื งตัดสนิ ใจและกำ� หนดการกระท�ำของตนเอง
พฒั นาการทางดา้ นจิตใจของวยั รนุ่ ได้แก่
2.2.1 สติปัญญา (Intellectual Development) สติปัญญาในวัยรุ่นจะพัฒนาสูงข้ึน
จนมีความคิดที่เป็นรูปธรรม เริ่มคิดเหมือนผู้ใหญ่ มีเหตุผลเชิงวิทยาศาสตร์ เรียนรู้และเข้าใจ

เหตกุ ารณ์ต่างๆ ไดล้ ึกซง้ึ วเิ คราะห ์ และสงั เคราะหส์ ่งิ ต่างๆ ได้มากขึน้ ตามลำาดบั แต่อาจขาดความย้งั คดิ

ขาดการไตรต่ รองท่รี อบคอบ

2.2.2 ความคิดเก่ียวกบั ตนเอง (Self Awareness) วยั รนุ่ เร่มิ มกี ารรับรู้ตนเองในด้านต่างๆ
ไดแ้ ก่

1) เอกลักษณ์ (Identity) เป็น
การแสดงออกถึงสิ่งท่ีตนเองชอบและถนัด แสดง

ความเปน็ ตวั ตน เชน่ ชอบเรียน ชอบเลน่ ชอบใช้เวลาวา่ ง

กับกลุ่มเพ่ือนสนิท เลือกคบคนท่ีมีส่วนคล้ายคลึงกัน

หรือเข้ากันได้ เกิดการเรียนรู้ส่ิงต่างๆ และถ่ายทอด

แบบอย่างจากกลุ่มเพื่อนในด้านต่างๆ จนกลายเป็น

เอกลักษณ์และบุคลิกภาพของตน เช่น ความคดิ คา่ นยิ ม

จรยิ ธรรม และการแสดงออก ภาพท่ี 1.2 การยอมรับจากเพอ่ื น

1ฝันเปียก (Nocturnal Ejaculation) การหลั่งนำา้ อสุจใิ นขณะหลบั และฝันเกี่ยวกับเรือ่ งทางเพศ 
2ประจาำ เดือน (Menarche)  เลอื ดที่มีการไหลออกมาจากช่องคลอดทกุ รอบเดอื น เกิดจากการสลายตวั ของเย่ือบภุ ายในโพรงมดลกู
โดยเริ่มเกิดข้ึนกับผ้หู ญิงเมือ่ เขา้ สูว่ ัยเจริญพันธ์ุ

สดุ ยอดคู่มอื ครู 29

1 . ขG้ันaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขP้ันrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิต

พฒั นาการของวัยรุ่น 5 ep 3 ขนั้ ปฏิบัตแิ ละสรปุ ความรู้
หลังการปฏบิ ตั ิ
สงิ่ ทแ่ี สดงถงึ ความเปน็ เอกลกั ษณม์ อี กี หลายดา้ น เชน่ เอกลกั ษณท์ างเพศ3 การแตง่ กาย สงวนลิขสิท ิธ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ำจ�กัด St AthpeplKyninogwlaenddgeConstructing
ความเชอื่ ในศาสนา และเป้าหมายในการดำาเนนิ ชวี ติ  
2) การมองภาพลกั ษณข์ องตนเอง (Self Image) เปน็ ความสนใจหรอื การใหเ้ วลากบั 1. ผู้เรียนน�ำข้อสรุปความรู้ความเข้าใจที่ได้แลกเปล่ียน
การมองภาพของตนเองในดา้ นตา่ งๆ  เชน่ รปู รา่ ง ผวิ พรรณ ความสวย ความหลอ่ ขอ้ ด-ี ขอ้ ดอ้ ยของรา่ งกาย  เรียนรู้ร่วมกันระหว่างกลุ่มในช้ันเรียนมาวิเคราะห์
3) การยอมรับจากผู้อ่ืน (Acceptance)  เป็นความต้องการการยอมรับจาก เก่ียวกับพัฒนาการของวัยรุ่น และวิธีการจัดการกับ
กล่มุ เพอื่ นหรือสังคมที่ชว่ ยใหว้ ัยรุ่นเกดิ ความรู้สึกมน่ั ใจ มัน่ คง ปลอดภยั   เห็นคณุ ค่าของตนเอง  ปญั หาในวยั รนุ่
4) ความภาคภูมิใจในตนเอง (Self Esteem) เป็นความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า 2. ผเู้ รยี นรว่ มกนั อภปิ รายตรวจสอบความสมบรู ณถ์ กู ตอ้ ง
เป็นคนด ี มปี ระโยชน์แก่ผูอ้ น่ื ทาำ อะไรไดส้ าำ เร็จ เกิดจากการเป็นท่ยี อมรบั ของเพ่ือนหรอื สังคม  ของความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับพัฒนาการของ
5) ความเป็นอิสระ (Independent) เป็นความต้องการเสรีภาพ ความเป็นตัวเอง วยั รนุ่ และวธิ กี ารจดั การกบั ปญั หาในวยั รนุ่ และรว่ มกนั
ความอยากรอู้ ยากลอง เชอ่ื ในความคดิ ตนเอง วยั น้ีจะเรม่ิ มปี ฏกิ ิริยาตอบโต้ผ้ใู หญ่ท่บี ีบบงั คบั ท�ำกิจกรรมส่งเสริมการเรียนรู้ (หนังสือเรียน หน้า
6) การควบคุมตนเอง (Self Control) เป็นการเรียนรูท้ ่จี ะควบคุมความคดิ การหยดุ ย้งั 12-16)
ความคิด สร้างการคิดท่ีเปน็ ระบบ เพอื่ ใช้ความคิดได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพและการอย่รู ว่ มกบั ผู้อ่ืนได้ 
2.2.3 อารมณ์ (Mood) วัยรุ่นจะมีอารมณ์ 6 เพศวถิ ีศกึ ษา
ทเ่ี ปลย่ี นแปลงงา่ ย เชน่ หงดุ หงดิ งา่ ย เครยี ดงา่ ย โกรธงา่ ย
แต่จะคอ่ ยๆ ปรบั ตวั ไดด้ ีขนึ้ เมอ่ื อายุมากข้นึ อารมณ์เพศ 3. ปัญหาและวิธีการจัดการกบั ปัญหาในวยั รุน่
วัยนี้จะมีมาก ทำาให้มีความสนใจเร่ืองทางเพศ แต่
พฤตกิ รรมบางอยา่ งอาจเปน็ ปญั หา เชน่ การมเี พศสมั พนั ธ์ พัฒนาการด้านต่างๆ ของวัยรุ่นก่อให้เกิดปัญหาตามมา เช่น ปัญหาด้านความสัมพันธ์กับสมาชิก
กอ่ นวยั อนั ควร เป็นตน้ ในครอบครัวหรอื กล่มุ เพื่อน ปญั หาการปรับตัว และอ่นื ๆ ถา้ ใชว้ ิธกี ารจดั การไมถ่ ูกตอ้ ง เช่น บิดามารดา
หรือผู้เกี่ยวข้องใช้วิธีดุด่า ตำาหนิ ลงโทษ หรือบังคับ จะเกิดปฏิกิริยาต่อต้านผู้ปกครอง และวัยรุ่นควร
ภาพท ่ี 1.3 พัฒนาการด้านอารมณ์ เรียนรู้ปัญหาและวิธีการจัดการกับปัญหาด้านต่างๆ ของตนเอง เพื่อนำามาใช้ในการแก้ปัญหาที่เหมาะสม
ปญั หาและวิธกี ารจัดการกับปัญหาในวัยรุ่นด้านตา่ งๆ ไดแ้ ก่
2.2.4 จรยิ ธรรม (Moral Development) วยั รนุ่ จะมคี วามคดิ เชงิ อดุ มคต4ิ เพราะเรม่ิ แยกแยะ
ความผิดชอบชั่วดี มีมโนธรรม5ของตนเอง ต้องการความถูกต้องชอบธรรมในสังคม ต้องการเป็นคนดี  3.1 ความสมั พนั ธ์ (Relationship)
เป็นท่ีช่ืนชอบของคนอ่ืน จะรู้สึกอึดอัดใจกับความไม่ถูกต้องในสังคมหรือภายในบ้าน บางคร้ังจะแสดง วัยรุ่นจะแสดงความเป็นตัวของตวั เอง มอี ารมณ์แปรปรวนเปลย่ี นแปลงงา่ ย ทำาใหเ้ กดิ ปญั หา
อารมณท์ ร่ี ุนแรงและตอ่ ตา้ น
ด้านความสัมพันธ์กับพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูอาจารย์ และเพ่ือน ถ้าใช้วิธีการจัดการกับความสัมพันธ์
2.3 พฒั นาการทางด้านสังคม ทไี่ ม่ถูกต้อง เช่น ใชว้ ธิ ีตาำ หนหิ รือลงโทษรนุ แรง จะเกิดปฏกิ ิริยาต่อต้าน
วิธีการจัดการกับปัญหา ควรเร่ิมต้นจากการทำาความเข้าใจความต้องการ ประนีประนอม
พฒั นาการทางดา้ นสงั คมของวยั รนุ่ ไดแ้ ก ่ การสนใจเพอื่ นมากกวา่ พอ่ แม ่ การใชเ้ วลาสว่ นใหญ่ ยืดหยุ่นอย่างมีขอบเขต สร้างแรงจูงใจและให้ความร่วมมือมากกว่าการบังคับหรือใช้ความรุนแรง
กับเพ่ือน เร่ิมมีความสนใจเพศตรงข้าม เร่ิมปรับตัวเองให้เข้ากับกฎเกณฑ์และกติกาของกลุ่มของสังคม สรา้ งมนุษยสมั พันธ์กับผอู้ ่นื
ไดด้ ีขนึ้ การโอนอ่อนผ่อนตามสมาชิกในกลุ่ม และการทำางานรว่ มกบั ผอู้ น่ื
3.2 การใช้สารเสพตดิ (Substance Use Disorder)
3เอกลักษณ์ทางเพศ หรืออตั ลกั ษณ์ทางเพศ (Gender Identity) หมายถึงความรู้สกึ ท่มี ตี อ่ ตนเองวา่ ตนเองเป็นหญงิ หรอื เปน็ ชาย วัยรุ่นจะมีความอยากรู้อยากลอง หากอยู่ในกลุ่มเพื่อนที่ใช้สารเสพติดและถูกชักชวนให้ลอง
4ความคิดเชิงอุดมคติ (Idealism) ในทางจริยศาสตร์ใช้คำาว่า Idealist หมายถึงบุคคลท่ีมองเห็นเป้าหมายของชีวิตและพยายาม
จะเข้าสู่เป้าหมายน้ันให้ได้ แต่ในทางอภิปรัชญา Idealist หมายถึงผู้ศึกษาค้นคว้าว่าอะไรคือความจริง อะไรคือสภาพมูลฐานของสิ่ง ถ้าหากขาดการยับยั้ง ไม่กล้าปฏิเสธ ต้องการการยอมรับจากกลุ่ม หรือเมื่อลองแล้วเกิดความพอใจ
ท่เี ข้ากนั ไดใ้ นความรูส้ ึกนกึ คดิ และจติ ใจของมนุษย์ กจ็ ะติดสารเสพตดิ ได ้
5มโนธรรม (Conscience) เป็นระบบความคิดและความรสู้ กึ ท่คี วบคุมภายในจติ ใจของบุคคล ช่วยในการตดั สนิ ว่าการกระทาำ อะไรถูก วิธีการจัดการกับปัญหา ควรเร่ิมต้นจากการที่ครอบครัวให้การอบรมเล้ียงดูอย่างถูกต้อง
อะไรผิด อะไรควรทาำ ไมค่ วรทาำ ให้ความรัก ความอบอุ่น ฝึกให้แก้ไขปัญหาอย่างถูกต้อง วัยรุ่นจะมีทักษะในการปฏิเสธสิ่งที่ไม่ถูกต้อง
และการรู้จกั คบเพื่อน 
ฮอร์โมน คือสารเคมีที่สร้างมาจากต่อมไร้ท่อแล้วเข้าสู่
ระบบหมนุ เวยี นเลอื ด ลำ� เลยี งไปยงั สว่ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย 3.3 ปัญหาทางเพศ (Sexual Problem)
เพอ่ื ควบคุมการทำ� งานของอวัยวะเปา้ หมาย
3.3.1 ปญั หารกั รว่ มเพศ (Homosexuality) เปน็ พฤตกิ รรมทเ่ี กดิ จากปญั หาความรนุ แรงใน
ครอบครัวหรือการเลียนแบบของสมาชิกในครอบครัว การเลียนแบบจากสังคม การต่อต้านเพศตรงข้าม
หรือความผิดปกตขิ องฮอร์โมนในรา่ งกาย
วิธีการจัดการกับปัญหา ควรปรับทัศนคติทางเพศให้เหมาะสม ปรึกษาจิตแพทย์
ผู้ปกครองควรให้ความรัก ความเข้าใจ เพ่ือช่วยให้บุตรหลานสามารถปรับตัวให้อยู่ในสังคมได้อย่างมี
ความสุข
3.3.2 ความรูส้ ึกทางเพศ (Sexual Feeling) วัยรุ่นเรม่ิ มีความรู้สึกทางเพศ ความต้องการ
ทางเพศ และเริ่มรู้จักการสำาเร็จความใคร่ด้วยตนเอง ซ่ึงเป็นความต้องการทางธรรมชาติ ไม่มีอันตราย
หากไม่ใชว้ ัตถสุ ิง่ ของต่างๆ และไม่กระทาำ ด้วยความรนุ แรง
วธิ กี ารจดั การกับปญั หา ควรหากจิ กรรมดา้ นอ่ืนทาำ เพอื่ ลดความเครียด เช่น เล่นดนตรี
เลน่ กฬี า

30 สดุ ยอดคูม่ อื ครู

A3. ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ข้ันส่ือสารและน�ำเสนอ 5. ขSั้นeปlรf-ะRเมeินgเพu่ือlaเพti่ิมnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

พัฒนาการของวยั รุ่น 7 สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด รอบรู้อาเซียนและโลก

3.3.3 การมีเพศสัมพันธ์ (Sexual Relation) เป็นพฤติกรรมในวัยรุ่นท่ีเกิดจาก asean
การขาดการยับยั้งไตร่ตรอง การทำาตามแบบอย่างหรืออยู่ภายใต้ฤทธ์ิของสารเสพติด จะทำาให้เกิดปัญหา
ตา่ งๆ ตามมา เช่น โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ ์ การต้ังครรภ ์ การทาำ แท้ง • การบูรณาการค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษท่ีเกี่ยวข้องกับ
วิธีการจัดการกับปัญหา หลีกเล่ียงการดื่มแอลกอฮอล์หรือใช้สารเสพติดทุกชนิด เนื้อหาในบทเรียนช่วยให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนความรู้
หลกี เลยี่ งการอยกู่ บั เพอ่ื นตา่ งเพศตามลาำ พงั ในทลี่ บั ตาคน หลกี เลย่ี งการนดั หมายกบั เพอ่ื นตา่ งเพศหรอื ไป ภาษาอังกฤษ และมีเจตคติท่ีดีในการสื่อสารด้วย
กับเพอื่ นต่างเพศในยามวกิ าล หลีกเล่ยี งการคบเพือ่ นหรอื เท่ียวกบั เพอ่ื นต่างเพศที่ไมร่ ู้จกั ดพี อ  ภาษาอังกฤษที่ใช้เป็นภาษากลางในการท�ำงานของ
อาเซียน
3.4 ปญั หาบคุ ลกิ ภาพ (Personality Problem) • การเรยี นรพู้ ฤตกิ รรมวยั รนุ่ ในบคุ คลตา่ งชาติ ตา่ งภาษา
วัยรุ่นจะเป็นวัยที่มีพัฒนาการของบุคลิกภาพที่ชัดเจนทั้งความคิดและการกระทำา ถ้าได้รับ ต่างวัฒนธรรม ช่วยใหผ้ เู้ รียนเกิดการประเมินตนเอง
เปรียบเทียบคุณค่าของการกระท�ำและผลของ
การเรียนรู้และอยู่ในสภาพแวดล้อมด้านต่างๆ ที่ดี วัยรุ่นจะมีบุคลิกภาพท่ีดี แต่ถ้าได้รับการเรียนรู้มา การกระท�ำคิดตัดสินใจปรับปรุงพฤติกรรมของตน
แบบผิดๆ กจ็ ะปรับตวั ได้ยาก ปญั หาบคุ ลกิ ภาพในวยั รุน่ ไดแ้ ก่ ในเชิงบวกเป็นการเตรียมตัวสู่การร่วมมือและ
3.4.1 การค้นหาเอกลักษณ์ ได้แก่ การค้นหาสิ่งต่างๆ ท้ังท่าทาง คำาพูด การแสดงออก การแข่งขนั ในประชาคม อาเซยี นในอนาคต
การแตง่ กาย การเข้าสงั คม
วิธีการจัดการกับปัญหา การใช้สติปัญญาเผชิญกับเหตุการณ์ต่างๆ มากกว่าการใช้ 8 เพศวิถศี กึ ษา
อารมณ ์ เลือกเผชญิ หน้ากบั ปัญหามากกวา่ หลีกเลย่ี งปัญหา รเู้ ทา่ ทันธรรมชาติหรือความต้องการของตน
3.4.2 การเอาชนะตวั เอง ได้แก ่ การควบคุมพฤตกิ รรมและอารมณใ์ หเ้ หมาะสม ในระยะแรก 3.5 การตอ่ ตา้ นสงั คม (Conduct Disorder) 
วัยรุ่นจะมีลักษณะสองจิตสองใจระหว่างความอยากเป็นเด็กต่อไปกับความอยากเป็นผู้ใหญ่ วัยรุ่นมักจะ การฝ่าฝืนกฎระเบียบของสังคมหรือความประพฤติที่ต่อต้านสังคมของวัยรุ่น อาจเกิดจาก
มองว่าผูใ้ หญพ่ ึ่งตนเองได ้ ตัดสนิ ใจได้ มีอสิ ระมาก วัยรุ่นบางคนมอี าการวติ กกังวลไมต่ อ้ งการเป็นผใู้ หญ่
เน่อื งจากติดพอ่ แม่ คร ู หรือเพอ่ื นเหมือนเด็ก ปัญหาในครอบครัว ปัญหาการใช้อารมณ์ท่ีรุนแรง เช่น การเกเร การทำาร้ายผู้อ่ืน การละเมิดสิทธิผู้อื่น
วธิ ีการจัดการกบั ปญั หา การเรยี นร ู้ การฝึกระเบยี บวนิ ัย การปฏบิ ตั ติ นและแสดงออก หรอื ทำาลายข้าวของ  
ใหเ้ หมาะสมกบั วัย รจู้ กั การควบคมุ อารมณแ์ ละพฤติกรรมของตนเอง การร้จู กั คบเพ่อื นและการฝึกทกั ษะ วิธีการจัดการกับปัญหา ควรเริ่มต้นด้วยการปรับทัศนคติ การพูดคุยเพื่อสร้างความเข้าใจ
การเขา้ สังคม ต่อกัน การฝึกสมาธิเพื่อให้มีอารมณ์ท่ีมั่นคงและค้นหาวิธีการแก้ปัญหา การพูดคุยกับผู้ที่ให้
3.4.3 การแยกตัวเอง ได้แก่ การเก็บตัว การแยกตัวเน่ืองจากเกิดความสับสนจาก ความไว้วางใจหรือพบจิตแพทย์เพ่ือขอคำาปรกึ ษา
การเปล่ียนแปลงทางอารมณ ์ การตดั สินใจ การขาดความย้งั คดิ ไตร่ตรอง
วิธีการจัดการกับปัญหา การรู้จักปรับตัว มีเหตุผล มีความยืดหยุ่นทั้งอารมณ์และ 3.6 การปรับตวั ในวยั รนุ่ (Adaptation)
พฤติกรรม มกี ารสือ่ สารทีด่ ี รู้จกั ปรึกษาหารือบุคคลในครอบครวั หรือญาตพิ น่ี ้อง ยอมรับฟงั ความคิดเหน็ วัยรุ่นมักมีความขัดแย้งในจิตใจท่ีต้องเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆ อาจทำาให้เกิด
ของผอู้ ่ืน
3.4.4 ความเป็นตัวของตัวเอง วัยรุ่นหลายคนยอมทำาตามเพ่ือนเพราะกลัวไม่ได้รับ ความเครยี ด ความวิตกกังวล มีอารมณ์ฉนุ เฉียว วู่วาม ก้าวร้าว ต่อตา้ น
การยอมรับจากกลุ่มเพื่อน แม้การทำาตามน้ันจะขัดต่อความรู้สึกของตัวเอง เป็นสาเหตุท่ีทำาให้ไม่ม่ันใจ วิธกี ารจดั การกบั ปัญหา การฝึกระเบียบวินัย การควบคุมตวั เอง ฝกึ บุคลกิ ภาพดา้ นต่างๆ เชน่
และไม่เปน็ ตวั ของตวั เอง คำาพูด การแสดงออก การแต่งกาย การเข้าสังคม การแสดงอารมณ์ในรูปแบบที่เหมาะสม การใช้สิทธิ
วิธีการจัดการกับปัญหา การฝึกความเป็นตัวของตัวเอง ควบคุมตัวเอง พ่ึงพาตัวเอง แสดงความคิดเห็น การตัดสินใจในสถานการณ์ต่างๆ ที่เหมาะสม รับฟังเหตุผล ฝึกการแก้ปัญหา
การช่วยเหลอื ผ้อู ่นื การคดิ ตดั สินใจในเหตุการณ์ต่างๆ ฝกึ ความยบั ยัง้ ช่ังใจ ด้วยสติ ลดการใช้อารมณ์ สร้างความมั่นใจในตนเอง กล้าพูด กล้าคิด กล้าแสดงออก โดยยึดหลักการ
ทีถ่ กู ตอ้ ง รวมถึงการคน้ หากิจกรรมทชี่ อบ
ผู้สอนให้ผู้เรียนร่วมกันอภิปรายเก่ียวกับวิธีการจัดการ
ปัญหาความเครยี ดและความวิตกกงั วล 4. การเปล่ยี นแปลงของวยั รนุ่

4.1 การแบ่งช่วงอายขุ องวัยรุน่

วัยรุน่ แบ่งเปน็ 3 ชว่ งอาย ุ ไดแ้ ก่
4.1.1 วัยแรกรุ่น (11-13 ปี) เป็นช่วงท่ีมีการเปล่ียนแปลงทางร่างกายทุกระบบ วัยน้ีจะ
มีความกังวลเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงทางร่างกาย จึงส่งผลกระทบไปยังจิตใจ ทำาให้อารมณ์หงุดหงิด
และแปรปรวนง่าย
4.1.2 วยั รนุ่ ตอนกลาง (14-16 ป)ี เปน็ ชว่ งทยี่ อมรบั การเปลยี่ นแปลงดา้ นตา่ งๆ ของรา่ งกาย
มีความคิดท่ีลึกซงึ้ ในการหาเอกลกั ษณข์ องตนเอง
4.1.3 วยั รุ่นตอนปลาย (17-19 ปี) เป็นชว่ งที่
สภาพร่างกายเปล่ียนแปลงเติบโตโดยสมบูรณ์เต็มท่ี
และบรรลุนิติภาวะในเชิงกฎหมาย เป็นช่วงเวลาท่ีจะมี
ความสัมพันธ์กับเพื่อนตา่ งเพศ

ภาพที ่ 1.4 วัยรุ่นตอนปลาย

สุดยอดคมู่ อื ครู 31

1 . ขGั้นaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขP้ันrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิต

พฒั นาการของวัยรุ่น 9 ep 4 ขน้ั สือ่ สารและน�ำเสนอ

CApopmlyminugnitchaetion Skill

1. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มแลกเปล่ียนผลงานกับกลุ่มอื่นโดยส่งผู้แทน
น�ำช้ินงานไปร่วมน�ำเสนอแลกเปล่ียนกลุ่มใกล้เคียง เพ่ือเปิด
โอกาสใหผ้ ู้เรยี นไดแ้ ลกเปล่ยี นเรยี นรู้ซ่งึ กันและกัน แล้วน�ำผล
การเรียนรู้กลับไปเสนอสมาชิกในกลุ่มเดิม ช่วยกันปรับปรุง
ความเขา้ ใจใหต้ รงกัน และปรบั ผลงานให้สมบูรณ์
2. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันคิด ออกแบบวิธีการน�ำเสนอความรู้
ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั พฒั นาการและวธิ กี าร จดั การกบั ปญั หาใน
วัยรุ่น เลือกใช้เทคนิควิธีการน�ำเสนอที่คิดว่าเหมาะสมและ
สื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยบูรณาการค�ำศัพท์
ภาษาองั กฤษในการนำ� เสนอดว้ ย
3. สมาชิกกลุ่มส่งตัวแทนน�ำเสนอและรับฟังการน�ำเสนอ
ของกลุ่มอื่นๆ ผู้สอนให้ข้อคิดเห็นข้อเสนอแนะเพ่ิมเติม
สงวนลิขสิท ิธ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ำจ�กัด St 4.2 การเปลีย่ นแปลงในวยั รุ่น

การเปล่ียนแปลงในวยั รุ่นม ี 3 ด้าน ไดแ้ ก ่
4.2.1 การเปลี่ยนแปลงทางรา่ งกาย มดี ังน้ี
1) ขนาดและความสูง เด็กผู้หญิงและเด็กผู้ชายจะมีความกว้างของไหล่และ
สะโพกใกล้เคียงกัน แต่เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น ผู้ชายจะมีการเจริญเติบโตของไหล่ ทำาให้มีไหล่กว้าง ในขณะที่
วัยรุ่นผูห้ ญงิ มกี ารเจรญิ เติบโตของสะโพก ความสูง คอ แขน ขา (การเจรญิ เติบโตหรือการขยายขนาดของ
ร่างกายในแต่ละสว่ น อาจเกิดขน้ึ ไมพ่ รอ้ มกนั )
2) ไขมันและกล้ามเน้ือ เด็กผู้ชายและเด็กผู้หญิงมีความหนาของไขมันท่ีสะสมอยู่
ใต้ผิวหนังใกล้เคียงกัน จนกระท่ังอายุประมาณ 8 ปี ร่างกายจะเจริญเติบโตอย่างรวดเร็ว วัยรุ่นชาย
จะมีกำาลังของกล้ามเน้ือและพละกำาลังของกล้ามเนื้อ โดยเฉพาะท่ีขา น่อง และแขน สำาหรับวัยรุ่นหญิง
มีการเพ่ิมขึ้นของกล้ามเน้ือน้อยกว่า แต่จะมีการสะสมของไขมันใต้ผิวหนังร้อยละ 25 ของน้ำาหนัก
โดยเฉพาะบริเวณเต้านมและสะโพก
3) โครงสร้างใบหน้า ในวัยรุ่นชาย ช่วงกระดูกของจมูกจะโตข้ึน ทำาให้ดั้งจมูก
เป็นสัน กระดูกขากรรไกรบนและขากรรไกรล่าง กล่องเสียง ลำาคอ และกระดูกอัยลอยด์ เจริญเติบโต
เรว็ กว่าวยั รุน่ หญิงอยา่ งชดั เจน เปน็ เหตใุ หว้ ัยรุ่นชายเสยี งแตก
4) ระดับฮอร์โมน ท้ังฮอร์โมนการเติบโต6 ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์7 และฮอร์โมน
ทางเพศ8 จะมผี ลโดยตรงตอ่ พฒั นาการทางอารมณ์ การเรยี นร ู้ และอนื่ ๆ การเปลยี่ นแปลงของระดบั ฮอรโ์ มน
จะส่งผลตอ่ ตอ่ มไขมนั ใตผ้ วิ หนงั และต่อมเหงอ่ื ให้ทำาหน้าทเ่ี พ่ิมขน้ึ เปน็ สาเหตใุ หเ้ กดิ ปัญหาสวิ และกล่นิ ตัว

ต่อมใต้สมอง

ต่อมไทรอยด์
ตอ่ มพาราไทรอยด์

ตอ่ มไทมสั

ต่อมหมวกไต
ตับออ่ น

ตอ่ มเพศ (รังไข)่ ตอ่ มเหงอ่ื ในรา่ งกายมปี ระมาณ 2 ลา้ นตอ่ ม กระจายอยทู่ ว่ั รา่ งกาย
ตอ่ มเพศ (ลูกอัณฑะ) ท�ำหน้าที่หลั่งเหงื่อเพื่อระบายความร้อนออกจากร่างกาย

เพศหญงิ เพศชาย
ภาพที่ 1.5 ระบบต่อมไรท้ อ่ ในเพศหญงิ และเพศชาย

6ฮอรโ์ มนการเตบิ โต (Growth Hormone) คอื ฮอรโ์ มนทถ่ี กู ผลติ ขน้ึ จากตอ่ มใตส้ มองสว่ นหนา้ และมผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โตของรา่ งกาย  10 เพศวถิ ศี ึกษา
7ฮอรโ์ มนจากตอ่ มไทรอยด ์ (Thyroid Gland) ผลติ ฮอร์โมนที่ทาำ หนา้ ทรี่ ักษาสมดุลของแคลเซยี มในร่างกายใหค้ งที่
8ฮอรโ์ มนทางเพศ ม ี 2 ลกั ษณะ คอื ฮอรโ์ มนเพศชาย ไดแ้ ก ่ แอนโดรเจน ทาำ หนา้ ทค่ี วบคมุ ลกั ษณะตา่ งๆ แหง่ ความเปน็ ชาย และควบคมุ 5) ระบบประสาท เม่ือเข้าสู่วัยรุ่นท้ังเพศหญิงและเพศชาย ระบบประสาทจะ
การทำางานของอวัยวะต่างๆ ท่ีสัมพันธ์กับความเป็นชาย ฮอร์โมนเพศหญิง ได้แก่ เอสโตรเจน ทำาหน้าท่ีควบคุมการเกิดลักษณะต่างๆ เจริญเติบโตต่อเนื่องจากวัยเด็กและเติบโตเต็มท่ีเม่ืออายุ 18-20 ปี ระบบประสาททำาหน้าท่ีควบคุม
ของเพศหญงิ เช่น มีเสียงแหลมเลก็ สะโพกผาย หน้าอกขยายใหญ่ขน้ึ มขี นขน้ึ ตามรักแร้และอวยั วะเพศ มดลูกมกี ารเจริญเตบิ โต การทำางานต่างๆ ของร่างกายให้ประสานสัมพันธ์กับการรับรู้ ความรู้สึก ความทรงจำา ความคิด
อารมณ์ โครงสร้างของระบบประสาทแบ่งเป็น 2 ส่วน คือระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ สมอง
เป็นต่อมไร้ท่อท่ีมีขนาดใหญ่ท่ีสุด อยู่บริเวณล�ำคอด้านหลังกล่อง และไขสันหลงั และระบบประสาทส่วนปลาย ไดแ้ ก่ เสน้ ประสาทสมอง เสน้ ประสาทอัตโนมตั ิ เส้นประสาท
เสยี ง ทำ� หน้าทีค่ วบคุม การเผาผลาญพลงั งาน และอุณหภมู ิของ และไขสันหลัง
ร่างกาย ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ระดบั ไขมนั ในเลอื ด รวมท้งั
อารมณ์และความรสู้ กึ สมองสว่ นหน้า เซรีบรมั

ทักษะชีวิต ทาลามสั

ไฮโพทาลามสั

การน�ำความรู้เรื่องพัฒนาการและวิธีการจัดการกับปัญหา สมองสว่ นกลาง
พอนส์
ในวัยรุ่นรวมถึงการเปล่ียนแปลงของวัยรุ่นมาประยุกต์ใช้ในชีวิต
ประจ�ำวัน เพื่อให้สามารถแก้ปัญหาและปรับตัวได้เหมาะสมกับ สมองสว่ นทา้ ย เมดัลลาออบลองกาตา
การเปลย่ี นแปลงของรา่ งกายและอารมณ์ เปน็ การเสรมิ สรา้ งทกั ษะ เซรเี บลลัม
ชีวติ ทม่ี ีผลดตี อ่ ตนเองและสังคม
เปน็ สว่ นทต่ี อ่ จากสมอง อยภู่ ายในกระดกู สนั หลงั ทำ� หนา้ ทก่ี ระตนุ้ ภาพที ่ 1.6 ส่วนประกอบของสมอง
ให้อวยั วะทุกสว่ นมีความรูส้ กึ
เป็นแรงดันของกระแสเลือดที่กระทบต่อผนังหลอดเลือด ซึ่งเกิด สมองประกอบดว้ ยสว่ นต่างๆ ดงั นี้
จากการสูบฉีดของหวั ใจสามารถวดั ได้ 2 ค่า คือ ความดนั โลหิตค่า (1) สมองส่วนหน้า (Forebrain) ประกอบด้วยเซรีบรัม (Cerebrum) ทาลามัส
บน เปน็ แรงดนั โลหติ ขณะทห่ี วั ใจ บบี ตวั และความดนั โลหติ คา่ ลา่ ง (Thalamus) และไฮโพทาลามสั (Hypothalamus)
เป็นแรงดันโลหติ ขณะที่หัวใจคลายตวั
สมองสว่ นหนา้ หน้าท่ี
เซรบี รัม
ทาำ หนา้ ทด่ี า้ นความคดิ ความจาำ เชาวนป์ ญั ญา เปน็ ศนู ยก์ ลางควบคมุ การทาำ งาน
ทาลามสั ดา้ นตา่ งๆ การสัมผสั การพดู การมองเหน็ การรบั รส การได้ยิน การดมกลิน่
ไฮโพทาลามัส และการทาำ งานของกล้ามเนือ้

ทำาหน้าท่ีเป็นศูนย์รวบรวมกระแสประสาทที่ผ่านเข้าออก และแยกกระแส-
ประสาทไปยงั สมอง

เป็นศูนย์ควบคุมกระบวนการต่างๆ ของร่างกาย เช่น การทำางานพื้นฐาน
ของร่างกาย ได้แก่ ความหิว ความดันโลหิต ความต้องการทางเพศ
การหล่งั ฮอรโ์ มนของตอ่ มไรท้ ่อ และการแสดงอารมณค์ วามรู้สึก

32 สดุ ยอดคูม่ อื ครู

A3. ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ข้ันส่ือสารและน�ำเสนอ 5. ขS้ันeปlรf-ะRเมeินgเพuื่อlaเพti่ิมnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

พฒั นาการของวยั รนุ่ 11 เป็นการขับลมออกจากปอดผ่านทางจมูกและปากอย่าง
รวดเร็ว ซ่ึงเป็นการตอบสนองโดยอัตโนมัติทางกายภาพ
(2) สมองส่วนกลาง (Midbrain) ทำาหน้าท่ีเก่ียวกับการมองเห็น การได้ยิน และ เพื่อขจัดสารกอ่ ความระคายเคอื ง
การสมั ผสั
(3) สมองสว่ นทา้ ย (Hindbrain) ประกอบดว้ ย พอนส์ (Pons) เมดลั ลาออบลองกาตา เป็นระบบของอวัยวะในร่างกายส่ิงมีชีวิตซ่ึงท�ำงานร่วม
(Medulla Oblongata) และเซรีเบลลัม (Cerebellum) กันโดยมีจุดประสงค์เพื่อการสืบพันธุ์เพ่ิมจ�ำนวนส่ิงมีชีวิต
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด ให้มากขึ้น ในระบบนี้จ�ำเป็นต้องอาศัยสารต่าง ๆ อาทิ
สมองสว่ นท้าย หนา้ ท่ี ของเหลว ฮอร์โมน และฟีโรโมนหลายชนิดเพือ่ ชว่ ยเหลือ
ในการท�ำงาน
พอนส์ ทำาหน้าท่คี วบคมุ การเคีย้ วอาหาร การหล่งั น้าำ ลาย การเคล่ือนไหวของใบหน้า
และควบคุมการหายใจ 12 เพศวถิ ศี กึ ษา
4.2.3 การเปลยี่ นแปลงทางจติ ใจ การเปลยี่ นแปลงทางรา่ งกายจะทาำ ใหเ้ กดิ ผลกระทบตอ่ จติ ใจ
เมดลั ลาออบลองกาตา ทำาหน้าที่ควบคุมการทำางานของระบบประสาทอัตโนมัติ เช่น การหายใจ วัยรุ่นจะเกิดความรู้สึกอยากจะถูกรัก อยากได้รับความเอาใจใส่ แต่มักจะมีข้อแม้ว่าจะต้องไม่ใช่
ความดันโลหิต การกลืน การจาม การสะอกึ และการอาเจียน การแสดงออกของพอ่ แมท่ ใี่ หค้ วามรกั ราวกบั เดก็ เลก็ ๆ อยากทาำ ในสงิ่ ทต่ี วั เองคดิ วา่ ด ี ชอบอยใู่ นกลมุ่ เพอ่ื น
วัยเดยี วกนั บางคร้ังอาจเกดิ ความรสู้ ึกสับสน สองจติ สองใจ ต้องการเปน็ ตวั ของตวั เอง อยากรู ้ อยากเห็น
เซรเี บลลมั ทำาหน้าที่ประสานการเคลื่อนไหวของร่างกาย และควบคุมการทรงตัว อยากลองสิ่งแปลกใหม ่ สรา้ งความตื่นเต้นท้าทายตอ่ การกระทำาทผ่ี ิดกฎเกณฑต์ ่างๆ
ของร่างกาย
สรุป
6) ระบบสบื พันธ์ ุ วัยร่นุ หญงิ มกี ารเจรญิ เตบิ โตอย่างรวดเรว็ เต้านมเรม่ิ ขยายเมอ่ื อายุ
ประมาณ 9-13 ปี ช่วงอายุ 11-13 ปี จะมีประจำาเดือนแสดงให้เห็นว่ามดลูกและช่องคลอดเจริญเติบโต วยั รนุ่ เปน็ วยั ทมี่ กี ารเปลยี่ นแปลงเกดิ ขนึ้ หลายดา้ น ทาำ ใหต้ อ้ งมกี ารปรบั ตวั หลายดา้ นไปพรอ้ มๆ กนั
เตม็ ท่ ี แต่ในระยะ 1-2 ปแี รกของการมีประจำาเดอื นจะมีไม่สมำ่าเสมอหรอื ขาดหาย เม่ือมปี ระจำาเดือนแลว้
จะมีอาการปวดท้องน้อย รวมทั้งความสูงจะมีในลักษณะท่ีสูงช้าลงและจะเติบโตเต็มท่ีเมื่ออายุ จึงเป็นวัยท่ีจะเกิดปัญหาได้มาก การปรับตัวได้สำาเร็จจะช่วยให้วัยรุ่นพัฒนาตนเองเกิดบุคลิกภาพท่ีดี
ประมาณ 15-17 ปี ซ่ึงจะเปน็ พนื้ ฐานสาำ คญั ของการดำาเนินชีวติ ต่อไป การเรียนรู้พัฒนาการของวยั รนุ่ จึงมีประโยชน์ทัง้ ต่อการ
การเจริญเติบโตของวัยรุ่นชายเมื่อเข้าสู่ช่วงอายุ 10-13 ปี ระบบสืบพันธุ์จะเร่ิมมี ส่งเสริมให้วัยรุ่นเจริญเติบโตเป็นผู้ใหญ่ท่ีมีสุขภาพดีทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคม และช่วยป้องกันปัญหา
การเปลย่ี นแปลง และจะใชเ้ วลา 2 - 4 ปจี งึ จะเจรญิ เตบิ โตเตม็ ท ี่ ในขณะทรี่ ปู รา่ งภายนอกมกี ารเจรญิ เตบิ โต ตา่ งๆ ในวยั รนุ่ ได ้ เชน่ ปญั หาทางเพศ ปญั หาการใชส้ ารเสพตดิ นอกจากนวี้ ยั รนุ่ ยงั พบปญั หาไมไ่ ดร้ บั โอกาส
ช้ากวา่ วัยรุ่นผหู้ ญงิ ท่จี ะแสดงความคดิ เหน็ และมสี ่วนรว่ มในการตัดสนิ ใจในเร่ืองท่ีสง่ ผลกระทบตอ่ ชีวิตของตนเองอีกดว้ ย

4.2.2 การเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ กิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ
การเปลี่ยนแปลงทางร่างกายจะส่งผลกระทบ
ต่ออารมณ์ ทำาให้เกิดความวิตกกังวล หงุดหงิด คำาชแี้ จง กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจเป็นกิจกรรมฝึกทักษะเฉพาะด้านความรู้-ความจำา เพ่ือใช้ใน
ความไม่พอใจในรูปร่างท่ีเปลี่ยนไป ความกังวลใน การตรวจสอบความเข้าใจตามจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
เรื่องความสวยความหล่อ การเปลี่ยนแปลงของ คาำ สั่ง
ระดับฮอร์โมนทางเพศจะส่งผลทำาให้วัยรุ่นเกิด ตอนที่ 1 จงตอบคาำ ถามตอ่ ไปนใ้ี หถ้ กู ต้อง
อารมณ์ทางเพศบ่อยครัง้ 1. จงอธิบายความหมายและความสาำ คัญของพัฒนาการของวยั รุ่น
2. พฒั นาการของวยั รุ่นมอี ะไรบา้ ง การเรียนร้พู ฒั นาการของวยั รุน่ เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนในด้านใด
ภาพท่ี 1.7 การแสดงความวิตกกังวลทีม่ ผี ลจากการเปล่ยี นแปลง 3. จงวเิ คราะหพ์ ฒั นาการของวัยรุ่นตามแนวคดิ ของผเู้ รียน พรอ้ มยกตัวอย่างประกอบ
ร่างกายของวัยรนุ่ 4. จงระบุปญั หาและเสนอแนวทางการแกไ้ ขปัญหาของวัยรุ่นในปจั จุบัน

ค่านิยมหลัก 12 ประการ ปัญหา แนวทางแก้ไข

• รกั ษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม
• มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อ่ืน เผ่ือแผ่
และแบง่ ปัน
• ใฝ่หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม
• มีความเข้มแข็งท้ังร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้ต่อ
อ�ำนาจฝ่ายต่�ำหรือกิเลส มีความละอายเกรงกลัว
ตอ่ บาปตามหลักของศาสนา

5. จงอธบิ ายการเปลีย่ นแปลงในวัยรุน่ โดยสงั เขป

สดุ ยอดคมู่ อื ครู 33

1 . ขG้ันaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2. ขP้ันrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ทักษะชีวิต

พฒั นาการของวัยรนุ่ 13

ตอนท่ ี 2 จงนาำ ตวั เลขจากคาำ ตอบด้านลา่ งมาใส่ลงในช่องว่างให้ถกู ต้อง

การเปลี่ยนแปลง : วัยรนุ่

ด้านร่างกาย ด้านจิตใจและอารมณ์ ดา้ นสงั คม ด้านสตปิ ญั ญา
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
1. มนี ้าำ หนักและ 1. มกี ารเปล่ียนแปลง 1. มคี วามต้องการเป็น 1. มกี ารเจรญิ เติบโต

เพ่มิ ข้นึ อย่างรวดเรว็ ของอารมณอ์ ยา่ งรวดเรว็ อสิ ระจากครอบครวั และ อย่างเต็มท ่ี สง่ ผลให้

แขนขายาว มอื ใหญ่ข้ึน และรนุ แรง อารมณ์ พอ่ แม ่ และไดร้ ับ เซลลส์ มองได้รับ

ขนาดของหัวใจและ ไม่คงทเ่ี นือ่ งมาจาก อิทธิพลจากเพือ่ น การพฒั นา

ปอดเพ่ิมข้นึ การเปลี่ยนแปลงทาง อยา่ งมาก ทง้ั ดา้ น 2. มีช่วงความสนใจ

2. มีลักษณะทางเพศ ด้านรา่ งกายและ การแต่งกาย คำาพูด นานขึ้น

ให้เห็นชดั เจนขึ้น เช่น การเปลยี่ นแปลงทางเพศ กริ ยิ าทา่ ทาง 3. สามารถปรบั ตวั

ผู้หญงิ จะม ี 2. เร่มิ สนใจเพศ 2. สนใจเพอื่ นต่างเพศ ให้เขา้ กบั สถานการณ์

หนา้ อกขยายใหญ่ขึ้น ตรงข้าม ต้อง ต้องการเปน็ ทย่ี อมรับ ใหมๆ่ ไดด้ ีขน้ึ

มปี ระจาำ เดอื น ผชู้ ายจะมี เพื่อน ของกลมุ่ เพอ่ื น 4. มคี วามเขา้ ในส่งิ ท่ี

กล้ามเนื้อใหญ่กวา้ ง 3. มีความรสู้ ึกรุนแรง เป็น มากขึ้น

และแข็งแรงข้ึน มขี น ไม่ว่าจะเป็นความรกั 5. เข้าใจและรู้จักการพูด

ตามแขน หนา้ แขง้ ความโกรธ ความอิจฉา ถ้อยคาำ ที่ลกึ ซึ้งหรอื

และมีการผลิต รษิ ยา เปรียบเทียบได้ดขี ้นึ

4. มี สงู 6. มีความจำาดี แต่อาจ

ไม่เชอื่ ฟงั ใคร ขาดความรอบคอบและ

5. มีความอยากรู้ การยบั ยง้ั ชัง่ ใจ

อยากเห็น ตอ้ งการ 7. เป็นวัยที่ชอบเรียนรู้

ความเปน็ อิสระ โดย

คาำ ตอบ 4. ความเชือ่ มั่นในตนเอง 7. สะโพกผาย 10. ส่วนสงู
5. นา้ำ อสุจ ิ 8. พฤติกรรม
1. เสียงห้าว 6. นามธรรม 9. การลงมือปฏิบัติ
2. การเปน็ ท่ียอมรบั ของกลุม่
3. ตดิ เพอ่ื น

14 เพศวิถีศึกษา

กิจกรรมท้าทาย ตอนท่ี 3 จงจบั ค่ใู หถ้ กู ต้อง ก. พัฒนาการด้านร่างกาย
ข. self Esteem
ให้ผู้เรียนแต่ละคนเขียนค�ำขวัญ “วิสัยทัศน์วัยรุ่น 1. มนุษยม์ ีการเจริญเติบโตและเปล่ียนแปลงไปตามวยั ค. ไฮโพทาลามสั
ยคุ ใหม”่ และน�ำมาประกวดให้รางวัล 2. การวิเคราะหแ์ ละสังเคราะหส์ ิ่งตา่ งๆ ฅ. พอนส์
3. การมองเห็นเป้าหมายของชวี ติ ฆ. มโนธรรม
4. การฝา่ ฝืนกฎระเบยี บของสงั คม ง. การใช้สตปิ ญั ญา
5. ฮอรโ์ มนที่ถกู ผลติ ขน้ึ จากตอ่ มใต้สมองสว่ นหน้า จ. เซรีเบลลัม
6. การเปน็ ท่ียอมรับของเพื่อนหรือสงั คม ฉ. การเปลยี่ นแปลงทางอารมณ์
7. ทำาหน้าทเ่ี ป็นศูนยค์ วบคุมกระบวนการต่างๆ ช. ความคดิ เชิงอดุ มคติ
ของรา่ งกาย ซ. การต่อตา้ นสงั คม
8. ความวติ กกังวล หงุดหงิด ฌ. เอกลักษณ์ทางเพศ
9. ระบบความคดิ และความรู้สึกท่คี วบคมุ จิตใจ ญ. Growth Hormone
10. ทาำ หน้าทคี่ วบคมุ การทรงตัวของรา่ งกาย

กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นรู้

คำาชี้แจง กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นรปู้ ระกอบดว้ ยกจิ กรรมหลากหลายทฝ่ี กึ ทกั ษะทกุ ดา้ นตามจดุ ประสงค์
เชิงพฤติกรรมเพื่อให้เกิดสมรรถนะในการเรียนร ู้ สามารถปฏิบัติกิจกรรมท้ังในและนอกสถานท ี่
ตามความเหมาะสมกับผู้เรียนและส่งิ แวดล้อมของสถานศกึ ษา

1. ให้ผู้เรียนสัมภาษณ์เพื่อนต่างห้องเรียนจาำ นวน 3 คน ในเร่ืองพัฒนาการด้านต่างๆ ที่เกิดข้ึนในวัยรุ่น
ด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และนำาผลที่ได้จากการสัมภาษณ์มาเปรียบเทียบความเหมือน
และแตกต่าง

ความเปลี่ยนแปลง คนท่ี 1 คนท ่ี 2 คนท ่ี 3

รา่ งกาย

จติ ใจ

อารมณ์

สงั คม

ปัญหาท่ีพบ

34 สดุ ยอดคู่มอื ครู

A3. ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ข้ันส่ือสารและน�ำเสนอ 5. ขS้ันeปlรf-ะRเมeินgเพu่ือlaเพtiิ่มnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

พฒั นาการของวัยรุน่ 15 ep 5 บข้ันรปิกราระเสมังินคเพมแ่อื ลเพะจิม่ ิตคสุณาคธ่าารณะ
สงวนลิขสิท ิธ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ำจ�กัด St
2. ให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่มเป็น 4 กลุ่ม จับฉลากเลือกหัวข้อและศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ Self-Regulating
เชน่ อนิ เทอรเ์ น็ต หนงั สือ วารสาร จดั ทาำ สรุปผลการศกึ ษา และสง่ ตัวแทนนาำ เสนอข้อมูลหน้าชนั้ เรยี น
กลุ่มละ 5-10 นาที พรอ้ มท้ังเปดิ โอกาสให้เพือ่ นร่วมชนั้ เรยี นซกั ถาม 1. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มและรายบุคคลตรวจสอบความรู้
กลมุ่ ท่ ี 1 ความหมาย ความสำาคัญของพัฒนาการ พัฒนาการของวัยรุ่นตอนต้น ปัญหา ความเขา้ ใจของตนเอง หลงั จากรบั ฟงั การนำ� เสนอของ
และวิธกี ารจดั การกับปัญหา ตวั แทนกลมุ่ อน่ื ปรบั ปรงุ ชนิ้ งานของตนเองใหส้ มบรู ณ์
กลุ่มที่ 2 ความหมาย ความสำาคัญของพัฒนาการ พัฒนาการของวัยรุ่นตอนกลาง ปัญหา ยง่ิ ขนึ้
และวิธกี ารจดั การกับปัญหา 2. น�ำผลงานแสดงในป้ายแสดงผลงานเพื่อเผยแพร่
กลุ่มที่ 3 ความหมาย ความสำาคัญของพัฒนาการ พัฒนาการของวัยรุ่นตอนปลาย ปัญหา สู่ห้องเรียนอ่ืนหรือสูส่ าธารณะ
และวธิ กี ารจดั การกบั ปญั หา 3. ผู้เรียนแต่ละคนท�ำแบบทดสอบ (หนังสือเรียน
กลมุ่ ท่ี 4 การเปลี่ยนแปลงดา้ นตา่ งๆ ในวัยรุน่ หนา้ 17-19) แลกเปลี่ยนกันตรวจให้คะแนน จากนน้ั
ป ร ะ เ มิ น ส รุ ป ผ ล ก า ร ท� ำ กิ จ ก ร ร ม ข อ ง ต น เ อ ง
3. ให้ผู้เรียนเสนอแนวทางการพัฒนาตนเองให้เจริญเติบโตสมวัยและอธิบายผลจากการเจริญเติบโต (หนังสือเรียน หน้า 16) ประเมินผลการเรียนรู้ของ
โดยจดั ทำาเป็นผงั ความคิด และนาำ เสนอรายงานหน้าชัน้ เรียน ตนเอง (หนังสอื เรียน หน้า 19) และก�ำหนดแนวทาง
ตัวอยา่ ง แผนภาพความคดิ พัฒนาตนเอง

แนวทางการพัฒนาตนเอง ผลจากการเจริญเตบิ โตสมวัย
ให้เจริญเติบโตสมวยั

4. ใหผ้ ูเ้ รียนจับครู่ ่วมกบั เพือ่ นร่วมชนั้ เรียนและรว่ มกันหาคำาตอบของคำาถามต่อไปน้ี
4.1 การเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ในวัยเรียนและวัยรุ่น
มคี วามแตกตา่ งกนั อย่างไร
4.2 เพราะเหตุใด จงึ ตอ้ งมีการศกึ ษาถงึ การเปล่ียนแปลงในแตล่ ะช่วงวยั
4.3 การแข่งขันมอี ิทธิพลต่อการเปล่ียนแปลงของวยั ร่นุ อยา่ งไร
4.4 ผูเ้ รียนได้รบั ความคาดหวงั จากพ่อแมอ่ ย่างไร
4.5 เพราะเหตใุ ด สอื่ โฆษณาจึงมีอิทธิพลต่อการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของวยั รนุ่

16 เพศวิถศี กึ ษา

5. ใหผ้ เู้ รยี นแบง่ เปน็ 2 กลมุ่ ศกึ ษาขอ้ มลู ความรเู้ กยี่ วกบั ระบบประสาทและระบบตอ่ มไรท้ อ่ รวมทงั้ เสนอ
วิธีการดูแลรักษาระบบประสาทและระบบต่อมไร้ท่อให้ทาำ งานปกติ โดยจัดทำาเป็นแผนภาพความคิด
ตัวอย่าง แผนภาพความคิด

ระบบประสาท ผลทเ่ี กดิ ขึ้น
วธิ กี ารดแู ลรกั ษา
ระบบตอ่ มไรท้ อ่
วธิ กี ารดแู ลรกั ษา

สรปุ ผลการทำากิจกรรม

คำาช้ีแจง ใหผ้ ู้เรยี นประเมินผลการทาำ กิจกรรม โดยเขยี นเครือ่ งหมาย ✓ลงในชอ่ ง ตามความเปน็ จริง

ความรู ้ (K) ทักษะ (P) คณุ ลักษณะ (A) เกณฑก์ ารประเมิน
การมีมนุษยสมั พันธใ์ น ทาำ เครื่องหมาย ✓
ความรู้ ความเขา้ ใจ การปฏิบัติงานท่ีไดร้ บั
การนำาไปใช ้ การวเิ คราะห์ มอบหมายเสรจ็ ตามเวลา การปฏิบตั ิกจิ กรรม ในแตล่ ะตอน 3 ข้อ
การสงั เคราะห์ ทกี่ ำาหนด ความมวี ินัย ตรงต่อเวลา คือ ผา่ นการประเมนิ
การประเมินคา่ การปฏิบัตงิ านด้วยความ ความซือ่ สตั ย์สุจริต
ละเอียด รอบคอบ ปลอดภยั ในการทำางาน 1. ความรู้ (K)
การศึกษาคน้ คว้า เรียบรอ้ ย สวยงาม ประพฤติตนดว้ ยความ ผ่าน ไม่ผ่าน
การแสวงหาแหล่งข้อมลู
และการรวบรวมขอ้ มูล ความสมบรู ณ์ของงาน ถูกตอ้ งตามศลี ธรรม 2. ทักษะ (P)
การแสดงความคดิ เหน็ การปฏบิ ตั งิ านท่ีทาำ ใหเ้ กดิ อนั ดีงาม
อย่างมเี หตผุ ล หรอื แสดง สมรรถนะแก่ผู้เรยี น เจตคตทิ ่ีดีในการปฏบิ ัติ ผ่าน ไม่ผ่าน
กิจกรรม
ขน้ั ตอนและกระบวนการ ทกั ษะการวางแผน การคิด ความพอเพยี งและความ 3. คณุ ลกั ษณะ (A)
ทาำ กจิ กรรม สรา้ งสรรค ์ การออกแบบ ผา่ น ไมผ่ ่าน

การหาประสบการณ์ การผลติ พอประมาณ
ความรูใ้ หม ่ การตดั สินใจในการแก้ปัญหา

หมายเหตุ เกณฑ์การประเมินผลการทำากิจกรรม มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินว่า ผู้เรียนเกิดสมรรถนะจากการเรียนรู้
ตามบริบทต่างๆ หรือไม่ โดยแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ความรู้หรือพุทธิพิสัย = Knowledge (K) ทักษะหรือ
ทกั ษะพสิ ัย = Practice (P) คณุ ลกั ษณะหรือจติ พิสยั = Attitude (A)

สดุ ยอดค่มู อื ครู 35

1 . ขGั้นaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขPั้นrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิต

พัฒนาการของวัยร่นุ 17 ผู้สอนให้ผู้เรียนท�ำแบบทดสอบ จากน้ันให้ผู้เรียนแลกกัน
ตรวจคำ� ตอบ โดยผู้สอนเป็นผเู้ ฉลย
แบบทดสอบ
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
คาำ ส่งั จงเลือกคาำ ตอบท่ีถูกตอ้ งทสี่ ดุ เพยี งคาำ ตอบเดยี ว

1. ความหมายของพฒั นาการวัยรนุ่ ตรงกับข้อใด
1. การเปลี่ยนแปลงทางรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ ์ และสังคม
2. การมีรา่ งกายทีส่ มบรู ณแ์ ข็งแรง
3. การมีจิตใจและอารมณแ์ จม่ ใส
4. การปรับตัวอยใู่ นสงั คมได้อยา่ งมคี วามสุข
5. การเปน็ ทีร่ กั ในกล่มุ เพือ่ น

2. ขอ้ ใดเปน็ การเปลี่ยนแปลงทางเพศดา้ นร่างกายของวัยรุ่นชายทเ่ี ห็นไดช้ ัด
1. มกี ลิน่ ตวั
2. เกิดสวิ
3. เสียงห้าว
4. ฝนั เปียก
5. รา่ งกายสูงใหญ่

3. ในเพศหญิงมกี ารเปลี่ยนแปลงทางเพศดา้ นร่างกายท่เี ห็นเด่นชดั คอื ขอ้ ใด
1. มีกล่ินตัว
2. สวยใส
3. เสยี งแตก
4. มปี ระจำาเดือน
5. สะโพกขยายขึ้น

4. ในวยั รุ่นมีอารมณ์เปน็ อย่างไร
1. สงบนิ่ง
2. เรียบงา่ ย
3. หงดุ หงิดง่าย
4. มองโลกสวย
5. ความจาำ ดี

18 เพศวถิ ศี ึกษา

5. พัฒนาการทางด้านสงั คมของวัยรุ่นเป็นอยา่ งไร
1. เช่อื ฟงั พ่อแม่
2. สนใจเพื่อนมากกวา่ พ่อแม่
3. เร่ิมสนใจเพศตรงข้าม
4. เขา้ กับคนได้ง่าย
5. ถกู ท้งั ข้อ 2. และข้อ 3.

6. ปญั หาของวยั ร่นุ ดา้ นยาเสพตดิ มกั เกดิ จากขอ้ ใด
1. อยากลอง
2. ถกู ชักชวน
3. ไมก่ ล้าปฏิเสธ
4. ต้องการการยอมรบั
5. ถูกทกุ ข้อ

7. ฮอร์โมนเพศชายตรงกบั ขอ้ ใด
1. แอนโดรเจน
2. เอสโตรเจน
3. Growth Hormone
4. Thyroid Gland
5. ถกู ทุกขอ้

8. ฮอร์โมนเพศหญงิ ตรงกบั ขอ้ ใด
1. แอนโดรเจน
2. เอสโตรเจน
3. Growth Hormone
4. Thyroid Gland
5. ถูกทุกขอ้

9. สมองส่วนใดทาำ หน้าท่เี ม่อื มีความต้องการทางเพศ
1. เซรีบรมั
2. ทาลามัส
3. ไฮโพทาลามสั
4. พอนส์
5. เซรีเบลลมั

36 สุดยอดค่มู ือครู

A3. ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ข้ันส่ือสารและน�ำเสนอ 5. ขSั้นeปlรf-ะRเมeินgเพuื่อlaเพtiิ่มnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

พัฒนาการของวัยรนุ่ 19 เฉลยแบบทดสอบ
1. ตอบ 1. เนอื่ งจากพัฒนาการของวยั รนุ่
10. สมองท่ีทำาหนา้ ท่ดี า้ นความคิด ความจำา เชาวนป์ ญั ญา ตรงกบั ขอ้ ใด ต้องมีการเปลี่ยนแปลงครบท้ัง 3 ด้าน
1. เซรีบรมั คอื ดา้ นรา่ งกาย ดา้ นจติ ใจ และดา้ นสงั คม
2. ทาลามสั 2. ตอบ 5. การเปล่ียนแปลงทางเพศ
3. ไฮโพทาลามัส ด้านร่างกายของวัยรุ่นชายที่เห็นได้ชัด
4. พอนส์ คือมรี ่างกายสงู ใหญข่ ึน้
5. เซรเี บลลัม 3. ตอบ 5. การเปล่ียนแปลงทางเพศด้าน
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด รา่ งกายของวัยรนุ่ ชหญิงทเ่ี หน็ ไดช้ ดั คอื
แบบประเมินตนเอง มีสะโพกขยายใหญ่ขน้ึ
คาำ ชี้แจง ตอนที่ 1 ใหผ้ ้เู รยี นประเมนิ ผลการเรียนรู้ โดยเขยี นเครอ่ื งหมาย ✓ ลงในชอ่ งระดบั คะแนน 4. ตอบ 3. ในวัยรุ่นจะมีการเปลี่ยนแปลง
และเตมิ ขอ้ มูลตามความเป็นจรงิ และความแปรปรวนด้านอารมณ์ค่อน
ระดับคะแนนตอนท ี่ 1 5 : มากท่ีสุด 4 : มาก 3 : ปานกลาง 2 : น้อย 1 : ควรปรับปรุง ข้างมาก เช่น หงุดหงิดง่าย เครียดง่าย
ตอนที่ 2 ใหผ้ เู้ รยี นนาำ คะแนนจากแบบทดสอบมาเตมิ ลงในชอ่ งวา่ ง และเขยี นเครอ่ื งหมาย ✓ โกรธง่าย และมีอารมณ์ทางเพศค่อน
ลงในช่องสรุปผล ขา้ งมาก
5. ตอบ 5. เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น จะเป็นวัยของ
ตอนท ่ี 1 (ผลการเรยี นรู้) ตอนท ่ี 2 (แบบทดสอบ) การอยากรอู้ ยากเห็น ดงั นนั้ พัฒนาการ
ในด้านสังคมของวัยรุ่นมักมีความสนใจ
รายการ 5 4 3 2 1 แบบทดสอบ เพศตรงข้าม และชอบอยู่กับกลุ่มเพื่อน
มากกว่าครอบครัว
1. ผ้เู รยี นมคี วามร ู้ ความเข้าใจในเนื้อหา คะแนน 6. ตอบ 5. ปญั หาของวยั รนุ่ ด้านยาเสพติด
มักเกิดจากความอยากลอง ถูกชักชวน
2. ผูเ้ รยี นได้ทาำ กจิ กรรมส่งเสริมการเรยี นร้ทู ี่สอดคลอ้ งกบั เนือ้ หา (ขอ้ ละ 1 คะแนน) ไม่มีทักษะการปฏิเสธ และต้องการ
และจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ การยอมรับ
สรุปผล 7. ตอบ 1. ฮอร์โมนที่แสดงลักษณะความ
9 - 10 (ดมี าก) เปน็ เพศชาย คือ แอนโดรเจน
3. ผเู้ รยี นไดเ้ รยี นและทาำ กิจกรรมส่งเสริมการเรียนรทู้ ี่สง่ เสริม 7 - 8 (ด)ี 8. ตอบ 2. ฮอร์โมนท่ีแสดงลักษณะความ
กระบวนการคดิ เกิดการคน้ พบความรู้ 5 - 6 (พอใช)้ เปน็ เพศหญงิ คอื เอสโตรเจน
4. ผเู้ รียนสามารถประยกุ ต์ความรู้เพ่ืีอใช้ประโยชน์ในชวี ิตประจาำ วนั ได้ ตำา่ กว่า 5 9. ตอบ 3. ไฮโพทาลามัส เป็นสมองส่วน
5. ผ้เู รยี นได้เรยี นร้อู ะไรจากการเรียน (ควรปรับปรุง) ทแ่ี สดงความตอ้ งการและตอบสนองใน
ดา้ นความต้องการทางเพศ
6. ผูเ้ รียนตอ้ งการทำาสิง่ ใดเพอื่ พัฒนาตนเอง 10. ตอบ 1. เซรีบรัมเป็นสมองส่วนที่ท�ำ
หน้าที่ด้านความจ�ำ ความคิด และ
7. ความสามารถท่ถี อื วา่ ผา่ นเกณฑ์ประเมินของผเู้ รยี น คือ สติปญั ญา

สุดยอดคมู่ ือครู 37

ตารางสรปุ คะแนนการประเมินจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
และสมรรถนะประจำ� หน่วย

หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 1 พฒั นาการของวยั รุ่น

คะแนนตาม จปส. รายหน่วยการเรียนรู้
1. สงวนลิขสิท ์ธิ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชอ ิธบายความหมายและความส�ำคัญของาการ (พว.) ำจ�กัด
พัฒนาการไ ้ดช้ินงาน/การแสดงออก รวม
2. อ ิธบายพัฒนาการด้านต่างๆ ของ ัวยรุ่นที่ก�ำหนดในหนว่ ยการเรยี นรหู้ รือหนว่ ยยอ่ ย
ไ ้ด
3. อ ิธบาย ัปญหาและแสดงวิธีการจัดการกับ
ปัญหาใน ัวย ุ่รนไ ้ด
4. อ ิธบายการเป ี่ลยนแปลงใน ัวย ุ่รนไ ้ด
ภาระงาน/ช้นิ งานระหวา่ งเรียน
เร่อื งท่ี 1 พัฒนาการของวัยรนุ่ และวธิ ีการจดั การปัญหาในวยั ร่นุ
1. ผงั กราฟกิ แสดงการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู เกย่ี วกบั พฒั นาการของวยั รนุ่ และ
วธิ กี ารจัดการกบั ปัญหาในวัยร่นุ
2. ผังกราฟิกสรุปความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับพัฒนาการของวัยรุ่นและ
วธิ กี ารจัดการกับปญั หาในวยั รนุ่
3. การนำ�เสนอผลการสรุปความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพัฒนาการ
ของวยั ร่นุ และวธิ กี ารจดั การกบั ปัญหาในวัยรนุ่
เรอ่ื งที่ 2 การเปลย่ี นแปลงของวยั รนุ่
1. ผังกราฟิกแสดงการเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลงของ
วยั รุ่น
2. ผังกราฟิกสรุปความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเปล่ียนแปลงของ
วัยรุ่น
3. การนำ�เสนอผลการสรุปความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการเปลี่ยนแปลง
ของวยั รุน่
การประเมินรวบยอด
1. ผลการปฏิบตั กิ จิ กรรมตรวจสอบความเข้าใจ
2. ผลการปฏิบัตกจิ กรรมส่งเสรมิ การเรียนรู้
3. ผลการประเมินตนเอง
4. คะแนนผลการทดสอบ

รวม

หมายเหตุ: คะแนนการประเมินจุดประสงคก์ ารเรียนรูข้ ึน้ อยู่กบั การออกแบบแผนการจัดการเรยี นรู้ของผู้สอน

38 สุดยอดค่มู ือครู

1. ขG้ันaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขP้ันrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

A3. ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ขั้นส่ือสารและน�ำเสนอ 5 . ขSั้นeปlรf-ะRเมeินgเพu่ือlaเพtiิ่มnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ทักษะชีวิต ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก
asean

สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด2หน่วยการเรยี นรู้ที่ หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 2
เพศและการดแู ลสขุ ภาพทางเพศ
เพศและการดแู ลสุขภาพทางเพศ
สาระสำาคญั
เพศเป็นเรื่องสำ�คญั เปน็ สง่ิ ท่ีตดิ ตัวม�ต�มธรรมช�ต ิ คือก�รเกิดม�เปน็ เพศช�ยหรือเพศหญิง สาระการเรยี นรู้
และเป็นผลจ�กอิทธิพลของสังคมและวัฒนธรรม ได้แก่ ก�รกำ�หนดบทบ�ทท�งเพศในสังคม 1. เพศ (หนงั สอื เรยี น หนา้ 22-27)
นอกจ�กน้ีก�รเปล่ียนแปลงท�งเพศยังเกิดขึ้นในช่วงวัยต่�งๆ จึงมีคว�มจำ�เป็นอย่�งย่ิงที่จะต้อง 2. พฤตกิ รรมทางเพศ (หนงั สอื เรยี น หนา้ 27-29)
เรยี นร้แู ละเข้�ใจสังคมต่�งๆ ทีเ่ กิดข้นึ เพ่อื ปฏิบัติตนให้ถกู ต้องเหม�ะสม 3. การดูแลสุขภาพทางเพศ (หนังสือเรียน หน้า
29-33)
สาระการเรียนรู้ สมรรถนะประจ�ำหนว่ ย
1. เพศ 1. แสดงความรู้เก่ียวกับเพศและการดูแลสุขภาพ
2. พฤตกิ รรมท�งเพศ ทางเพศ
3. ก�รดแู ลสขุ ภ�พท�งเพศ 2. ดแู ลและปฏบิ ตั ติ นใหม้ สี ขุ ภาพทางเพศทด่ี ี
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
1. อธบิ ายความสำ� คญั เกย่ี วกบั สขุ อนามยั ของระบบ
สบื พนั ธไ์ุ ด้
2. แสดงพฤติกรรมทางเพศและดูแลสุขภาพที่
เหมาะสมตามวถิ แี ละสงั คมไทยได้
3. ประเมนิ โอกาสเสย่ี งจากพฤตกิ รรมทางเพศและ
ปญั หาจากการมเี พศสมั พนั ธท์ ไี่ มพ่ รอ้ มได้

การประเมนิ ผล ภาระงาน/ชน้ิ งานรวบยอดในหน่วยการเรียนรู้
1. ผลการปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ
ภาระงาน/ชนิ้ งาน/การแสดงออกของผเู้ รยี น 2. ผลการปฏิบัตกิ จิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้
ภาระงาน/ชิ้นงานระหวา่ งเรียน 3. ผลการประเมนิ ตนเอง
1. ผังกราฟิกแสดงการเก็บรวบรวมข้อมูลเก่ียวกับเพศและการดูแลสุขภาพ 4. คะแนนผลการทดสอบ
ทางเพศ
2. ผังกราฟิกสรุปความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับเพศและการดูแลสุขภาพ สดุ ยอดค่มู อื ครู 39
ทางเพศ
3. การนำ� เสนอผลการสรปุ ความรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั เพศและการดแู ลสขุ ภาพ
ทางเพศ

1. ขGั้นaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขP้ันrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิต

ep 1 ข้ันรวบรวมข้อมลู

Gathering
St เพศและการดแู ลสขุ ภาพทางเพศ 21

สงวนลิขสิท ิธ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ำจ�กัด1. แบ่งกลุ่มผู้เรียนร่วมกันศึกษาเอกสารสมรรถนะประจำาหนว่ ย
หนังสือเรียนเกี่ยวกับเพศและการดูแล 1. แสดงคว�มรูเ้ กย่ี วกบั เพศและก�รดแู ลสขุ ภ�พท�งเพศ
สุขภาพทางเพศ 2. ดแู ลและปฏิบตั ิตนใหม้ ีสุขภ�พท�งเพศทด่ี ี
2. ตั้งค�ำถามให้ผู้เรียนเสนอข้อมูลจาก
ประสบการณ์ที่รับรู้เก่ียวกับเพศและ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
การดูแลสุขภาพทางเพศตามหัวข้อ 1. อธบิ �ยคว�มส�ำ คญั เกี่ยวกับสุขอน�มัยของระบบสืบพนั ธไ์ุ ด้
ที่ก�ำหนดให้ (ศึกษารายละเอียดค�ำถาม 2. แสดงพฤตกิ รรมท�งเพศและดูแลสุขภ�พทเ่ี หม�ะสมต�มวิถีและสงั คมไทยได้
จากแผนการจดั การเรียนรู้) 3. ประเมินโอก�สเสยี่ งจ�กพฤติกรรมท�งเพศและปญั ห�จ�กก�รมเี พศสมั พนั ธท์ ่ไี ม่พร้อมได้
3. แตล่ ะกลมุ่ บนั ทกึ ผลการศกึ ษาตามหวั ขอ้
ท่ีก�ำหนดลงผังกราฟิก (เลือกออกแบบ ผงั สาระการเรียนรู้
และใชผ้ งั กราฟกิ ใหเ้ หมาะสมกบั ลกั ษณะ
ของขอ้ มลู ) ดงั ตัวอย่าง เพศและการดูแล เพศ
สขุ ภาพทางเพศ พฤติกรรมท�งเพศ
ก�รดแู ลสุขภ�พท�งเพศ

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21

การจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นกระบวนการคิด กระบวนการแก้ปัญหา
ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจากสถานการณ์จริงในชีวิตประจ�ำวันและ
การด�ำเนินชีวิตร่วมกันในสังคมท่ีผู้เรียนเผชิญอยู่ เป็นการเสริมสร้าง
สมรรถนะที่ดีที่ใช้ประโยชน์ได้จริง หากมีการร่วมมือกันท�ำงานเป็น
กลมุ่ มกี ารสอ่ื สารระหวา่ งกนั อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพจะชว่ ยใหผ้ เู้ รยี นเรยี น
รู้ตนเองและผอู้ นื่ และเพมิ่ พนู สมรรถนะของการเปน็ มนษุ ย์ทส่ี มบูรณ์

40 สดุ ยอดคมู่ ือครู

A3. ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ข้ันสื่อสารและน�ำเสนอ 5 . ขS้ันeปlรf-ะRเมeินgเพu่ือlaเพti่ิมnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

22 เพศวถิ ศี กึ ษา สงวนลิขสิท ิธ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ำจ�กัด St ep 2 ข้นั คิดวิเคราะหแ์ ละสรุปความรู้

1. เพศ Processing

1.1 ความหมายและความสาำ คญั ของเพศ 1. ผู้เรียนร่วมกันวิเคราะห์และอภิปรายเก่ียวกับเพศและ
การดูแลสขุ ภาพทางเพศ โดยใช้ขอ้ มูลความรู้ท่ีได้จาก
1.1.1 ความหมายของเพศ การศกึ ษาคน้ ควา้ จากหนงั สอื เรยี น เอกสาร แหลง่ เรยี นรู้
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานได้ให้ความหมายไว้ว่า เพศ เป็นรูปท่ีแสดงให้รู้ว่า อ่นื ๆ หรือประสบการณข์ องผู้เรียน
หญงิ หรือชาย 2. ผู้เรียนร่วมกันเชื่อมโยงความคล้ายคลึงของข้อมูล
เพศ หมายถึงลักษณะทางกายภาพที่บอกว่าเป็นเพศชายหรือเพศหญิง หรือแรงขับ ท่ีน�ำมาอภิปราย และร่วมกันสรุปความรู้ตามหัวข้อ
หรือสญั ชาตญาณตามธรรมชาติของมนษุ ยท์ ี่แสดงออกเปน็ พฤติกรรม หรอื พฤติกรรมทางเพศ อภิปราย แสดงเป็นความคิดรวบยอดหรือหลักการ
อนามัยทางเพศ หมายถึงภาวะความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกายและจิตใจท่ีเป็นผล ลงในผังกราฟกิ
จากกระบวนการ และการทำาหน้าท่ีเจริญพันธ์ุท่ีสมบูรณ์ทางเพศของชายและหญิงทุกช่วงอายุ อันส่งผล
ให้มีชีวติ อยใู่ นสงั คมอย่างมคี วามสุข 3. ผู้เรียนบันทึกผลข้อสรุปเป็นความเข้าใจของกลุ่มและ
1.1.2 ความสำาคญั ของเพศ รายบุคคล
การเรียนเร่ืองเพศเป็นกระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับบุคคล โดยเฉพาะ
บุคคลในช่วงวัยท่ีมีความเปลี่ยนแปลงทางเพศ ความแตกต่างทางเพศ และการมีบทบาทหน้าท่ีทางเพศ เพศและการดแู ลสขุ ภาพทางเพศ 23
ตามวัยของตนอย่างถูกตอ้ งและเหมาะสม
เพศเปน็ เรอื่ งสาำ คัญที่ติดตวั มาตามธรรมชาติ คอื การเกิดมาเป็นเพศชายหรอื เพศหญงิ
และเป็นผลจากอิทธิพลของสงั คม วฒั นธรรม และการกำาหนดบทบาททางเพศในสังคม การเปลยี่ นแปลง
ทางเพศจะเกดิ ขึน้ ในช่วงวยั ตา่ งๆ ความสาำ คญั ของเพศสามารถสรุปได้ดังนี้
1) ภาพลักษณ์เกี่ยวกบั รา่ งกายตามเพศ เป็นการทาำ หน้าทีข่ องรา่ งกายตามเพศ ได้แก่
เพศหญิง และเพศชาย
2) ความสามารถในการปฏิบัติตามบทบาททางเพศอย่างเหมาะสม เป็นการยอมรับ
ตามวยั และการยอมรับของสังคม
3) ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสมและมีเหตุผล  การมีความสัมพันธ์
ทางเพศที่ดีเป็นส่ิงท่ีมีความสำาคัญ เพราะจะส่งผลต่อสุขภาพดีท้ังทางร่างกายและจิตใจ มีการปรับตัว
ท่ดี ี เป็นทย่ี อมรบั ของสงั คม

1.2 การเปลี่ยนแปลงทางเพศ

การเปลยี่ นแปลงทางเพศเปน็ กระบวนการตลอดชวี ติ กอ่ ใหเ้ กดิ การเปลยี่ นแปลงทง้ั ทางรา่ งกาย
จติ ใจ อารมณ ์ และสงั คม โดยการเปลยี่ นแปลงทางเพศในวยั รนุ่ เปน็ การเปลย่ี นแปลงทเ่ี หน็ ไดอ้ ยา่ งชดั เจน
ท่สี ุด และส่งผลตอ่ สุขภาพในทุกๆ ดา้ นมากท่สี ดุ

ตวั อสจุ ิ คอื เซลลส์ บื พนั ธท์ุ แี่ บง่ ตวั ดว้ ยกระบวนการไมโอซสิ เมื่อเขา้ ส่วู ยั รุ่น คืออายตุ ัง้ แต่ 12 ปจี นถึงอายปุ ระมาณ 19 ปี เป็นชว่ งวยั ท่มี กี ารเปลีย่ นแปลง
จากร่างกายของเพศชาย โดยการปฏิสนธิจะเกิดขึ้นเม่ือ อย่างมาก การเปลยี่ นแปลงในวยั รุ่นมลี กั ษณะสำาคัญดังนี้ 
ตัวอสจุ ิผสมกับเซลลไ์ ขใ่ นเพศหญงิ 1.2.1 การเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย เป็นการแสดงให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่าง
เพศชายกับเพศหญิงท่ีมีลักษณะเฉพาะของเพศอย่างชัดเจน เช่น เพศหญิงจะมีประจำาเดือน เพศชาย
จะเร่ิมมกี ารหล่งั ของน้าำ อสุจ ิ
1.2.2 การเปล่ียนแปลงทางจิตใจและอารมณ์ จะมี
ควบคู่ไปกับการเปล่ียนแปลงทางร่างกาย เริ่มจากความสนใจ
เพศตรงข้ามพร้อมๆ กับมีความสนใจในตนเอง มีความต้องการ
ทางเพศ และแสวงหาวิธีการแสดงออกทางเพศท่เี หมาะสม
1.2.3 การปรับตัวทางสังคม เป็นการวางตน เช่น
การคบเพื่อน และการควบคุมตนเองในการแสดงออกให้เป็น
ทย่ี อมรบั ของสงั คม เปน็ ตน้
ลักษณะการเปล่ียนแปลงดังกล่าวเป็นส่ิงจำาเป็นที่จะ
ต้องรักษาสุขภาพท้ังทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และสังคม ภาพท่ี 2.1 การปรบั ตัวของวัยรนุ่
อยา่ งถกู ตอ้ ง เหมาะสม

1.3 อวัยวะสบื พันธุ์

อวยั วะสบื พนั ธ์ของวัยรนุ่ ไดแ้ ก่
1.3.1 อวัยวะสืบพันธ์ุของเพศชาย ระบบสืบพันธ์ุเป็นระบบท่ีมีการเปล่ียนแปลงมากที่สุด
ในวัยรนุ่ ซ่ึงพฒั นาจนสมบูรณ์และพร้อมจะทำาหนา้ ทีไ่ ด้ ระบบสืบพันธุใ์ นเพศชายแบ่งออกเป็น 2 สว่ น คอื
1) อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก ประกอบด้วยถุงอัณฑะและอวัยวะเพศชายที่เรียกว่า
ลึงค์หรือองคชาต อวัยวะเพศมีลักษณะเป็นกล้ามเน้ือเป็นแท่งที่มีลักษณะคล้ายฟองนำ้า สามารถยืด
และหดได ้ มหี นงั หมุ้ อยบู่ รเิ วณดา้ นหนา้ ของถงุ อณั ฑะ ภายในอวยั วะเพศมที อ่ ปสั สาวะโดยตลอดและมเี สน้
ประสาทมาหลอ่ เลยี้ ง ทำาใหไ้ วต่อความรสู้ กึ จะแข็งตัวและมขี นาดใหญ่ข้ึนเมอ่ื มอี ารมณ์ทางเพศ ถุงอณั ฑะ
ห่อหมุ้ ลกู อัณฑะ 2 ขา้ ง ภายในมีเนอื้ เย่อื และหลอดเลอื ดเลก็ ๆ อณั ฑะทาำ หนา้ ทผี่ ลิตอสจุ ิ
2) อวัยวะสืบพันธ์ุภายใน ประกอบด้วยลูกอัณฑะ ภายในถุงอัณฑะมีหน้าที่ผลิต
ตัวอสุจแิ ละฮอร์โมนเพศชาย ต่อมลูกหมากอยู่ด้านล่างของกระเพาะปัสสาวะ มีหน้าที่ผลิตของเหลวชนิด
หนึ่งเพื่อผสมกับตัวอสุจิ และนำ้าเมือกจากท่อน้ำาอสุจิเป็นของเหลวข้นสีขาว เรียกว่า น้ำากาม จะถูกขับ
ออกมาในขณะรว่ มเพศ ครั้งละประมาณ 2-5 มิลลิลิตร (ซีซ)ี

สุดยอดค่มู ือครู 41

1 . ขGั้นaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขPั้นrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ทักษะชีวิต

24 เพศวิถศี ึกษา ep 3 ขน้ั ปฏิบตั แิ ละสรปุ ความรู้
หลงั การปฏบิ ตั ิ
ท่อไต สงวนลิขสิท ิธ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ำจ�กัด St AthpeplKyninogwlaenddgeConstructing
ทอ่ นำาอสุจิ
กระเพาะปัสสาวะ 1. ผู้เรียนน�ำข้อสรุปความรู้ความเข้าใจท่ีได้แลกเปลี่ยน
ตอ่ มลกู หมาก เรียนรู้ร่วมกันระหว่างกลุ่มในช้ันเรียนมาวิเคราะห์
ลกู อัณฑะ โดยการทำ� กิจกรรมตรวจสอบความเขา้ ใจ
2. กลุ่มผู้เรียนร่วมกันสรุปแนวคิดเก่ียวกับเพศและ
อวยั วะเพศ การดูแลสุขภาพทางเพศ จากนั้นร่วมกันท�ำกิจกรรม
สง่ เสริมการเรียนรู้
ภาพที่ 2.2 อวัยวะสืบพันธ์ุภายในของเพศชาย
เพศและการดูแลสขุ ภาพทางเพศ 25
1.3.2 อวัยวะสืบพนั ธุข์ องเพศหญงิ ประกอบด้วยอวยั วะสืบพันธภ์ุ ายนอกและภายใน ดงั น้ี
1) อวยั วะสบื พนั ธภ์ุ ายนอก ได้แก่ (2) มดลกู มลี กั ษณะคล้ายลกู ชมพูค่ วำ่า อย่รู ะหว่างด้านหลังของกระเพาะปสั สาวะ
(1) เนนิ หวั หนา่ ว มลี กั ษณะเปน็ รปู สามเหลย่ี มปลายแหลมลง อยบู่ นกระดกู หวั หนา่ ว และทวารหนัก ตัวมดลูกประกอบดว้ ยกล้ามเนอ้ื 3 ชนั้ ชั้นในเป็นชน้ั ทม่ี กี ารเปล่ยี นแปลงจากการสลายตัว
ประกอบดว้ ยไขมนั เมื่อเข้าสวู่ ยั รุน่ จะมีขนขน้ึ ปกคลมุ ในบริเวณนี้ ตามวงจรของประจำาเดือน ภายในสุดเป็นโพรงมดลูกมีความยาวประมาณ 3-4 ซม สามารถขยาย
(2) แคมใหญ่ มีลักษณะเป็นกลีบเน้ือนูนทอดจากเนินลงมาท้ัง 2 ข้าง จรดกัน เพม่ิ ขึ้นไดเ้ มื่อตัง้ ครรภ ์ โพรงมดลูกน้ีจะตอ่ กบั ท่อรังไข่
ทบี่ รเิ วณฝีเย็บ กลบี เนื้อทัง้ สองข้างนีจ้ ะอย่ตู ดิ กัน และปดิ อวยั วะสืบพนั ธภุ์ ายในไว้ (3) ทอ่ รงั ไขห่ รอื ปกี มดลกู มลี กั ษณะเปน็ ทอ่ ตอ่ จากมดลกู ทอดออกไปทางดา้ นขา้ ง
(3) แคมเล็ก มีลักษณะเป็นกลีบเนื้อเช่นเดียวกับแคมใหญ่ แต่มีขนาดเล็กกว่า 2 ข้าง ภายในมีรูกลวงต่อกับโพรงมดลูก ภายในท่อรังไข่เป็นบริเวณท่ีเชื้ออสุจิผสมกับไข่ แล้วไข่จะ
ซอ่ นอยู่ด้านในลงมาจรดกนั ท่บี ริเวณอวยั วะเพศ เดนิ ทางไปฝังตัวที่ผนังของมดลูก
(4) คลิตอริส มีลักษณะเป็นเป็นเนินตุ่มเล็กๆ ประกอบด้วยกล้ามเนื้อท่ียืดหดได้ (4) รังไข่ มีลักษณะคล้ายเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ อยู่ชิดปลายของท่อรังไข่ติดกับ
มเี ส้นประสาทมาก เปน็ จดุ ท่ีไวต่อความรู้สึก มดลูก รังไข่มีหน้าที่ผลิตฮอร์โมนภายในรังไข่ ทำาให้อวัยวะสืบพันธ์ุเจริญเติบโตเต็มที่เม่ือเข้าสู่วัยรุ่นและ
(5) ช่องคลอด เป็นอวัยวะที่ต่อเนื่องมาจากแคมเล็ก สามารถยืดขยายตัวได้ ผลิตไข่ออกมาเดือนละ 1 ฟอง ซึ่งพร้อมที่จะถูกผสมและมีการปฏิสนธิต่อไป ถ้าไข่ไม่ได้รับการผสม
ภายในช่องคลอดจะมสี ภาพเปน็ กรด จะสลายไปเอง
(6) เย่ือพรหมจาร ี คือเย่อื บุปากช่องคลอด เป็นเนื้อเยอ่ื ท่อี ยถู่ ัดจากแคมเลก็ เขา้ ไป
ทาำ หน้าทปี่ อ้ งกันสง่ิ สกปรกและสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในชอ่ งคลอด มดลกู
(7) ฝเี ย็บ เปน็ บรเิ วณสว่ นลา่ งของช่องคลอดลงมาถึงทวาร
2) อวัยวะสบื พนั ธุภ์ ายใน ได้แก่ ทอ่ นาำ ไข่หรือปีกมดลูก
(1) ช่องคลอด มีลกั ษณะเปน็ ท่อยาวต่อจากปากช่องคลอดถึงปากมดลูกประมาณ รังไข่
6 น้ิว (15 เซนติเมตร) ผนังด้านหน้าจะสั้นกว่าด้านหลัง 2-3 เซนติเมตร ประกอบด้วยกล้ามเน้ือ และ ปากมดลกู
เนื้อเยื่อพงั ผืด มีเสน้ เลอื ดและเสน้ ประสาทหลอ่ เล้ยี งมาก มสี ภาวะเป็นกรดอ่อนๆ สามารถตอ่ ตา้ นเชือ้ โรค ชอ่ งคลอด
บางชนดิ ได ้ ภายในชอ่ งคลอดจะมคี วามชมุ่ ชน้ื จากนาำ้ เมอื กของตอ่ มปากมดลกู และตอ่ มบาโธลนิ ชอ่ งคลอด
เป็นทางผ่านของประจาำ เดือน เป็นชอ่ งทางผ่านของเชื้ออสุจิ และเป็นช่องทางให้ทารกคลอดออกมา ปากช่องคลอด

ต่อมบาโธลิน (Bartholin’s gland) เป็นต่อมท่ีผลิตเมือก ภาพท่ี 2.3 อวยั วะสบื พนั ธุภ์ ายในของเพศหญิง
ในสตรี เปน็ ตอ่ มขนาดเลก็ มี 2 ตอ่ ซา้ ยและขวา อยดู่ า้ นลา่ ง
ของแคมใหญท่ ั้ง 2 ข้าง ใตผ้ วิ หนงั บรเิ วณปากช่องคลอด 1.4 วิธีปฏบิ ัติตนเพ่อื สขุ ภาพ
ต�ำแหนง่ ประมาณ 4 และ 8 นาฬกิ า ต่อมมลี กั ษณะคลา้ ย
เมล็ดถ่ัว ขนาด 0.5-1.5 ซม. (เซนติเมตร) และมีท่ายาว การปฏิบัติตนในการดูแลรักษาสขุ ภาพอยา่ งถกู ต้อง มดี ังนี้
1.5-2 ซม. มาเปดิ บรเิ วณในชอ่ งคลอดสว่ นอยใู่ กลป้ ากชอ่ ง 1.4.1 การรักษาความสะอาด อวัยวะเพศอยู่ในที่อับชื้น จึงทำาให้เกิดกลิ่นได้ง่าย ดังนั้น
คลอดเมอื กจะถกู ผลติ ออกมามากเมอ่ื มกี ารกระตนุ้ ใหเ้ กดิ การรักษาความสะอาดและซับให้แห้งจึงเป็นส่ิงสาำ คัญและจำาเป็นอย่างย่ิง ควรทำาความสะอาดอย่างน้อย
อารมณท์ างเพศขณะมเี พศสมั พนั ธ์ เพอ่ื ช่วยหล่อล่นื วนั ละ 2 ครั้ง
1.4.2 การใช้กางเกงชั้นใน ควรเลือกใส่กางเกงในท่ีเป็นผ้าดูดซับเหงื่อได้ดีและระเหย
คือกระบวนการท่ีเซลล์ของเพศชาย (อสุจิ) เข้าไปรวมกับ ได้งา่ ย เพอ่ื ป้องกนั ไมใ่ หบ้ รเิ วณอวยั วะเพศเปยี กชน้ื อยตู่ ลอดเวลา ซึ่งอาจจะทำาใหเ้ กดิ ผ่นื คนั ได้งา่ ย
เซลลข์ องเพศหญิง (ไข่) ทำ� ให้เกดิ เซลล์ใหม่ข้นึ มา 1.4.3 การรับประทานอาหาร ควรรบั ประทานอาหารที่ดี มีประโยชน์ และดื่มนาำ้ สะอาด

42 สดุ ยอดคมู่ อื ครู

A3. ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ขั้นส่ือสารและน�ำเสนอ 5. ขS้ันeปlรf-ะRเมeินgเพuื่อlaเพti่ิมnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

26 เพศวิถศี ึกษา รอบรู้อาเซียนและโลก

1.4.4 การออกกาำ ลงั กายและการพกั ผอ่ น asean
ควรพักผ่อนให้เพียงพอแก่ความต้องการของ
ร่างกาย และออกกำาลังกายหรือเล่นกีฬาได้ การบูรณาการค�ำศัพท์ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวข้องกับ
ตามสมควร เช่น ว่ายน้ำา วิ่ง ฟุตบอล และควร เน้ือหาในบทเรียนช่วยให้ผู้เรียนได้เพิ่มพูนความรู้ภาษา
หางานอดิเรกทำา เช่น อ่านหนังสือ ฟังเพลง อังกฤษ และมีเจตคติท่ีดีในการสื่อสารด้วยภาษาอังกฤษ
เพื่อไม่ให้มีความวิตกกังวลในการปรับตัวของช่วง ทใี่ ช้เป็นภาษากลางในการท�ำงานของอาเซียน
วัยร่นุ
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด เพศและการดแู ลสขุ ภาพทางเพศ 27
ภาพท่ี 2.4 การออกกำาลังกาย
1.5 การปรบั ตัวทางสงั คม
1.4.5 การปฏบิ ตั ติ นในระหวา่ งมปี ระจาำ เดอื นของวยั รนุ่ หญงิ วยั รนุ่ หญงิ จะเรม่ิ มปี ระจำาเดอื น
เม่ืออายุย่างเข้า 11 ปี ควรดูแลสุขภาพร่างกายโดยการพักผ่อน ออกกำาลังกายเบาๆ ไม่เครียดหรือ วยั รนุ่ เปน็ วยั ทม่ี กี ารเปลยี่ นแปลงทกุ ดา้ น การปรบั ตวั ทางสงั คมเปน็ สงิ่ ทส่ี ำาคญั เมอ่ื เขา้ สวู่ ยั รนุ่
วติ กกงั วลมาก จะเร่ิมสนใจคบเพื่อนต่างเพศ วัยรุ่นจึงต้องระวังอย่างมากในเร่ืองการคบเพ่ือนต่างเพศ การไปเที่ยวกับ
1.4.6 การปฏิบัติตนในวัยรุ่นชาย เม่ือเข้าสู่วัยรุ่นจะมีสัญญาณท่ีบอกถึงความสมบูรณ์ เพ่ือนต่างเพศควรอยู่ในขอบเขตที่เหมาะสมและไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย โดยเฉพาะวัยรุ่นหญิง
ของระบบสืบพันธ์ุ ซึ่งนอกจากจะเห็นความเจริญเติบโตจากลักษณะภายนอกแล้ว สัญญาณของเพศชาย ควรไปกันเป็นกลมุ่ ๆ ไม่ไปในสถานท่ีท่ไี มส่ มควร เช่น สถานบันเทงิ ต่างๆ 
คือมีการหลั่งนำ้าอสุจิในช่วงท่ีนอนหลับ ซึ่งเป็นส่ิงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เรียกว่า ฝันเปียก ควรดูแล
สขุ ภาพร่างกายโดยการพักผ่อน ออกกาำ ลงั กายเบาๆ ไมเ่ ครยี ดหรือวติ กกังวลมาก

1.4.7 การเกิดสิว เป็นปัญหาที่สาำ คัญของ ภาพที่ 2.5 การเกดิ สวิ
วัยรุ่นทั้งชายและหญิง เพราะเม่ือเกิดสิวจะก่อให้เกิด
ความรู้สึกวิตกกังวล สิวเกิดจากการเปลี่ยนแปลง
ทางฮอร์โมน การใช้เครื่องสำาอางที่ไม่เหมาะสม
เกิดจากความสกปรกของผิวหนังบริเวณใบหน้า
ความเครียด และความวิตกกังวล ควรดูแลรักษา
ความสะอาดใบหน้าอย่างน้อยวันละ 2 ครั้ง
รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ ลดอาหารท่ีมีมันมาก
และพกั ผ่อนใหเ้ พียงพอ

1.4.8 การรกั ษาความสะอาดของรา่ งกายและการแตง่ กาย วยั รนุ่ มกี ารเจรญิ เตบิ โตทางรา่ งกาย
อย่างรวดเร็ว ประกอบกับเริ่มให้ความสนใจกับการดูแลตนเอง ต้องการการเป็นท่ียอมรับ จึงควร
เลือกเสื้อผ้าให้เหมาะสม ไม่ควรสวมเส้ือผ้าซำ้า เพราะเหง่ือท่ีร่างกายขับออกมาจะเกิดกลิ่นอับช้ืนและ
แบคทีเรีย จึงควรทำาความสะอาดร่างกายอย่างน้อยวันละ 2 คร้ัง และใส่เส้ือผ้าท่ีสะอาด เหมาะสมกับ
กาลเทศะ

หมายถึง สารใดก็ตามที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือสารที่
สงั เคราะหข์ นึ้ เมอื่ นำ� เขา้ สรู่ า่ งกายไมว่ า่ โดยวธิ รี บั ประทาน
ดม สูบ ฉีด หรือด้วยวิธีการใดๆ แล้วท�ำให้เกิดผล
ตอ่ ร่างกายและจิตใจ

เป็นอุปกรณ์คุมก�ำเนิด ที่นิยมใช้กันมากที่สุดในขณะร่วม ภาพท ่ี 2.6 การปรับตวั ทางสงั คม
เพศ ท�ำด้วยวัสดุจากยางพารา โดยมีทั้งแบบส�ำหรับ
ผู้ชายและผู้หญิง ส่วนใหญ่ฝ่ายชายจะเป็นฝ่ายใช้ 2. พฤตกิ รรมทางเพศ
โดยการสวมครอบอวัยวะเพศชายที่ก�ำลังแข็งตัวในขณะ
ร่วมเพศ โดยเม่ือฝ่ายชายหลั่งนํ้าอสุจิแล้ว นํ้าอสุจิจะถูก ผู้ที่มีพฤติกรรมเสี่ยงทางเพศจะมีโอกาสเสี่ยงต่อการติดโรคทางเพศสัมพันธ์ พฤติกรรมเสี่ยง
เก็บไว้ในถุงยางอนามัยช่วยป้องกันการต้ังครรภ์ และยัง ได้แก ่ การมเี พศสมั พันธ์กอ่ นวัยอันควร การมคี ู่รกั หลายคน การมเี พศสัมพันธ์กับเพศเดียวกัน
ชว่ ยปอ้ งกนั โรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์ เชน่ ซฟิ ลิ สิ หนองใน
และเอดสไ์ ดด้ อี กี ดว้ ย 2.1 พฤตกิ รรมเสยี่ งต่อการติดโรคทางเพศสมั พนั ธ์

พฤตกิ รรมเสี่ยงตอ่ การติดโรคทางเพศสัมพันธ ์ หมายถึงพฤตกิ รรมท่จี ะทาำ ใหม้ ีโอกาสตดิ โรค
ทางเพศสมั พนั ธ์ต่างๆ ดังนี้
2.1.1 การเปลี่ยนคนู่ อนหลายคน
2.1.2 เปน็ โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพนั ธ ์
2.1.3 คู่ครองเป็นโรคตดิ ต่อทางเพศสัมพันธ์
2.1.4 รว่ มเพศกับคนทไ่ี มร่ จู้ กั
2.1.5 ดมื่ สรุ าหรือใช้สารเสพติดก่อนร่วมเพศ อาจทำาใหก้ ารร่วมเพศเสี่ยงตอ่ การติดโรค
2.1.6 ร่วมเพศกบั ผ้ตู ดิ ยาเสพติด
2.1.7 ร่วมเพศทางทวารหนัก
2.1.8 ไมส่ วมถงุ ยางขณะรว่ มเพศกับคนทไี่ มใ่ ชภ่ รรยา
ฯลฯ

สุดยอดค่มู อื ครู 43

1. ขG้ันaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2. ขPั้นrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ทักษะชีวิต

ep 4 ขนั้ สอ่ื สารและนำ� เสนอSt 28 เพศวิถีศกึ ษา

CApopmlyminugnitchaetion Skillสงวนลิขสิท ิธ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ำจ�กัด 2.2 ปัญหาทีเ่ กยี่ วกบั พฤติกรรมทางเพศของวยั ร่นุ
ปัญหาสำาคัญประการหน่ึงท่ีส่งผลกระทบโดยตรงและโดยอ้อม เช่น การต้ังครรภ์ที่
1. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มออกแบบหรือหาวิธี
นำ� เสนอใหผ้ อู้ น่ื รบั รแู้ ละสอื่ สารไดอ้ ยา่ ง ไม่พึงปรารถนา โรคทางเพศสัมพันธ์ การทำาแท้ง ปัญหาเด็กถูกทอดทิ้ง ปัญหาท่ีเก่ียวกับพฤติกรรม
มีประสิทธิภาพด้วยเทคนิควิธีท่ีเหมาะ ทางเพศของวยั ร่นุ มีดังนี้
สมบูรณาการการใช้ส่ือ/เทคโนโลยี/ 2.2.1 พฤติกรรมทางเพศในวัยรุ่นชาย ไดแ้ ก่
ค�ำศัพท์เพิ่มเติม/ส่ิงท่ีน่าสนใจแทรกใน 1) การอ่านหนังสือการ์ตูนลามกและดูส่ือลามกเพื่อเรียนรู้เก่ียวกับเรื่องเพศ
การรายงาน สื่อเหล่านี้มักจะแสดงพฤติกรรมทางเพศที่ผิดไปจากความจริงเพ่ือจะดึงดูดความสนใจของผู้ด ู การดูสื่อ
2. สุ่มกลุ่มผู้เรียนน�ำเสนอผลการสรุป ลามกอาจทำาให้ขาดความยบั ย้งั ชั่งใจ หรือทำาใหม้ พี ฤติกรรมทางเพศที่ผดิ ปกตไิ ด ้
ความรคู้ วามเข้าใจ 2) การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควร โดยอาจจะเป็นเพื่อนหญิง คู่รัก หรือ
หญิงขายบรกิ ารทางเพศ อาจทาำ ให้ตดิ โรคทางเพศสัมพนั ธ์ได้ ควรใช้ถุงยางอนามยั เพือ่ ปอ้ งกนั โรคติดต่อ
คือการใช้อุบายทุจริตให้ผู้อ่ืนหลงเช่ือหรือ ทางเพศสมั พนั ธ์
กระท�ำตามเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเอง 3) การมีคู่นอนหลายๆ คน จะมีความเส่ียงสูงต่อการติดโรคทางเพศสัมพันธ์
ฝา่ ยเดียว หากไมใ่ ชถ้ ุงยางอนามยั
2.2.2 พฤตกิ รรมทางเพศในวัยรนุ่ หญิง ได้แก่
1) การแต่งตัวให้เป็นท่ีดึงดูดความสนใจของเพศตรงข้าม โดยไม่คำานึงถึง
ความเหมาะสมและความปลอดภัย จะเส่ียงต่อการเกิดอาชญากรรมทางเพศ เช่น ใส่เส้ือสายเดี่ยว
เส้ือเกาะอก กางเกงขาส้นั กางเกงเอวตา่ำ
2) การยอมมีเพศสัมพันธ์กับคู่รัก โดยคิดว่าความสัมพันธ์จะยาวนานม่ันคง หรือ
ทำาให้คนรักไม่ไปมีคนอื่น เป็นการแสดงออกที่ไม่ถูกต้อง เพราะความรักจะมีองค์ประกอบด้านอ่ืนๆ เช่น
ความเข้าใจ ความเห็นใจ ความเออ้ื อาทร มีนสิ ยั ใจคอท่เี ข้ากนั ได้
3) การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ท่ีไม่เคยรู้จัก อาจเกิดจากการล่อลวง ความมึนเมา และ
การถูกขม่ ขนื ซึ่งจะต้องไปพบแพทย์ให้ตรวจรา่ งกาย เพ่ือใชเ้ ปน็ หลักฐานลงโทษผกู้ ระทาำ ผิดตอ่ ไป

2.3 ปจั จัยและสถานการณ์เส่ยี งตอ่ การมเี พศสัมพนั ธ์

ปจั จยั และสถานการณเ์ สย่ี งต่อการมีเพศสมั พนั ธท์ ส่ี าำ คญั มีดังนี้
2.3.1 การจับคู่ ปัจจุบันวัยรุ่นจำานวนมากนิยมที่จะมีคู่รัก หากวัยรุ่นมีความรักแล้วรู้จัก
ปฏิบัติและวางตัวอย่างเหมาะสม มีความรับผิดชอบในเรื่องเรียน ก็จะไม่มีสิ่งเสียหาย แต่วัยรุ่นบางคู่
ชักนำากันมีพฤติกรรมทางเพศที่ไม่เหมาะสม โดยการชวนกันไปเท่ียวกลางคืน ด่ืมสุรา เสพสารเสพติด
ซึง่ จะนาำ ไปสู่การมีเพศสัมพนั ธใ์ นทสี่ ดุ
2.3.2 การเสพสารเสพติด เป็นปัจจัยสำาคัญอีกประการหนึ่งที่ชักนำาให้วัยรุ่นมีเพศสัมพันธ์
ไดง้ า่ ย ไดแ้ ก ่ การดม่ื สรุ าหรอื เครอื่ งดม่ื ทม่ี แี อลกอฮอลจ์ ะทาำ ใหม้ นึ เมาและขาดสต ิ หรอื การเสพยาอ ี ยาเลฟิ
เมื่อเสพเข้าไปแล้วจะไปกระตุ้นประสาท ทำาให้เกิดความเคลิบเคลิ้ม สับสน งุนงง และชักนำาไป
ส่กู ารมเี พศสัมพันธ์ในท่ีสุด

ทักษะชีวิต

การนำ� ความรเู้ รอ่ื งเพศและการดแู ลสขุ ภาพทางเพศมาประยกุ ตใ์ ช้
ในชีวิตประจ�ำวัน เพ่ือให้สามารถแก้ปัญหาและปรับตัวได้เหมาะสม
กบั การเปลย่ี นแปลงของรา่ งกายและอารมณ์ เปน็ การเสรมิ สรา้ งทกั ษะ
ชีวติ ท่มี ีผลดตี อ่ ตนเองและสงั คม

44 สดุ ยอดคมู่ ือครู

A3. ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ขั้นส่ือสารและน�ำเสนอ 5 . ขSั้นeปlรf-ะRเมeินgเพu่ือlaเพtiิ่มnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

เพศและการดูแลสุขภาพทางเพศ 29 การแทง้ ตามความหมายขององคก์ ารอนามยั โลก (WHO)คอื
การสิ้นสุดการตั้งครรภ์ก่อนเด็กจะสามารถด�ำรงชีวิต
2.4 ปญั หาทเี่ กดิ จากพฤตกิ รรมเสี่ยงทางเพศ อยู่ไดน้ อกครรภ์มารดา โดยถอื เอาการสิน้ สดุ การต้งั ครรภ์
กอ่ นอายุ 28 สปั ดาห์ ซึ่งเป็นชว่ งเวลาทเ่ี ด็กยงั หนักไม่ถงึ
พฤตกิ รรมเส่ยี งทางเพศจะก่อใหเ้ กิดปญั หาต่างๆ ดังน้ี 1,000 กรัม
2.4.1 ปัญหาการต้ังครรภ์ก่อนวัยอันควร การอยู่ด้วยกันสองต่อสองระหว่างชายหญิง เกิดจากเชื้อไวรัส VZV ซ่ึงเป็นเช้ือไวรัสชนิดเดียวกับ
ในทล่ี บั ตาคน และในบรรยากาศทจ่ี ะนำาไปสกู่ ารมเี พศสมั พนั ธ์ ทาำ ใหเ้ กดิ ปญั หาการตง้ั ครรภก์ อ่ นวยั อนั ควร ที่ท�ำให้เกิดโรคอีสุกอีใส โดยลักษณะอาการจะมีผื่นแดง
2.4.2 ปัญหาการทำาแท้ง สาเหตุของการทำาแท้งในวัยรุ่นเกิดจากความไม่พร้อมใน ข้ึนตามแนวเส้นประสาทของผิวหนัง ในบางรายอาจมี
การตั้งครรภ์ การขาดความรู้ ความเข้าใจในการปอ้ งกนั ขณะมเี พศสมั พนั ธ ์ อาการคันหรอื เปน็ ไขร้ ่วมด้วย
2.4.3 ปัญหาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เกิดจากการขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ืองเพศ สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
และไม่ตระหนักถึงความสำาคัญของปัญหาท่ีจะเกิดข้ึนตามมา เน่ืองจากไว้ใจคู่นอนของตนเองมากเกินไป 30 เพศวถิ ีศกึ ษา
จึงไมส่ วมถงุ ยางอนามัยขณะมเี พศสัมพนั ธ์
3.2 การดแู ลสุขภาพโดยการปอ้ งกนั ปจั จยั ท่ที าำ ให้เกดิ ปญั หาสุขภาพทางเพศ
3. การดูแลสุขภาพทางเพศ การป้องกันปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาเก่ียวกับสุขภาพทางเพศ ได้แก่ โรคติดต่อ หรือโรค
ไม่ตดิ ต่อบางชนดิ ท่ีอาจเกิดขึน้ กับสขุ ภาพทางเพศ ดังนี้
การดแู ลสุขภาพทางเพศมหี ลายวิธีและหลายรปู แบบ ในที่นี้ขอนาำ เสนอ 2 รปู แบบ ไดแ้ ก่ 3.2.1 โรคตดิ ต่อทางเพศสัมพนั ธ ์
1) โรคเอดส์ (AIDS : Acquired Immuno Deficiency Syndrome) เป็นกลุ่ม
3.1 การดแู ลสขุ ภาพทวั่ ไป อาการเจ็บป่วยเน่ืองจากร่างกายไดร้ ับเช้ือไวรัสเอชไอวี (HIV : Human Immunodeficiency Virus) จาก

3.1.1 การดูแลตนเองให้เจริญเติบโตสมวัย โดยการวิเคราะห์น้ำาหนัก ส่วนสูง และอายุกับ การมีเพศสัมพันธ์กับผู้ที่ติดเช้ือ หรือการได้รับเลือดที่มีเชื้อเอชไอวี ซ่ึงจะทำาลายเม็ดเลือดขาวท่ีมีหน้าที่
เกณฑ์มาตรฐาน จะทำาให้ทราบภาวะการเจริญเติบโตทางร่างกาย เพื่อนำาไปใช้พัฒนาตนเองให้เจริญ-
เติบโต การเจริญเตบิ โตทางดา้ นร่างกายสามารถประเมนิ ได้จากนา้ำ หนักตามเกณฑข์ องอายุและส่วนสูง สร้างภมู ิคุ้มกันโรค ทำาใหร้ ่างกายติดเชื้อโรคตา่ งๆ ได้งา่ ย
3.1.2 การรับประทานอาหารให้ถูกต้องตามหลักโภชนบัญญัติ ได้แก่ รับประทานอาหาร อาการของโรคเอดส ์
ให้ครบ 5 หมู่ ด่ืมนมให้เหมาะสมตามวัย หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารหวานจัดและเค็มจัด ระยะท่ ี 1 ระยะไม่ปรากฏอาการ ผู้ติดเช้ือจะไม่มีอาการผิดปกติ สามารถตรวจ
รบั ประทานอาหารท่ีสะอาด ปราศจากสง่ิ ปนเปือ้ น งดเครื่องด่มื ทมี่ ีแอลกอฮอล์ พบเช้อื ได้หลงั จากรบั เช้ือประมาณ 4 สัปดาห์ ในระยะน้ีผตู้ ดิ เชือ้ สามารถแพร่เชอื้ สผู่ ู้อื่นได ้
3.1.3 การออกกาำ ลงั กาย เปน็ การกระตนุ้ ใหก้ ลา้ มเนอ้ื และกระดกู มคี วามแขง็ แรง มโี ครงสรา้ ง ระยะท ่ี 2 ระยะเริ่มปรากฏอาการ เป็นระยะอาการสัมพันธ์กับโรคเอดส์ คือ
ร่างกายท่ีสมบูรณ์และสมส่วน กระตุ้นให้การทำางานของปอด หัวใจ และระบบในร่างกายทำางานได้อย่าง มีเช้ือราในกระพุ้งแก้มหรือเพดาน ปากต่อมน้ำาเหลืองโตบริเวณคอ รักแร้ ขาหนีบ เป็นงูสวัด น้ำาหนักลดลง
ปกติ และสามารถเพ่ิมภูมิต้านทานโรคทำาให้อารมณ์ดี ไม่เครียด ควรออกกำาลังกายสม่ำาเสมอทุกวัน
อย่างน้อยสัปดาหล์ ะ 3 วนั วันละ 30 นาที เกนิ 10 กิโลกรัมใน 1 เดือน มไี ข้ และทอ้ งเสยี เรอื้ รังเกิน 1 เดอื น โปรตีนเปลอื กนอก
3.1.4 การพักผ่อนและการนอนหลับ เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่จะช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต ระยะท่ ี 3 ระยะโรคเอดส ์
อย่างเต็มท่ีตามวยั การนอนหลับถอื ว่าเปน็ การพกั ผอ่ นทีด่ ีทีส่ ุด เกิดการติดเชื้อโรค เป็นระยะโรคเอดส์เต็มขั้น
3.1.5 การหลีกเล่ียงสารเสพติด สารเสพติดเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดโทษต่อผู้เสพท้ังทางร่างกาย
และจติ ใจ โดยทาำ ลายสขุ ภาพใหท้ รดุ โทรม เกดิ โรคภยั ตา่ งๆ สง่ ผลใหพ้ ฒั นาการของวยั รนุ่ หยดุ ชะงกั สภาพ อาการจะขึ้นอยู่กับว่าติดเชื้อท่ีส่วนใดของร่างกาย เปลอื กหุม้ ไวรัส
อารมณ์และจติ ใจไมเ่ ปน็ ปกติ ไม่สามารถควบคมุ อารมณต์ นเองได ้
3.1.6 การตรวจสขุ ภาพประจาำ ปี ควรเขา้ รับการตรวจสขุ ภาพประจาำ ปีอยา่ งน้อยปลี ะ 1 ครง้ั เช่น จะมีอาการไอเร้ือรัง มีเสมหะสีเขียวเหลือง ยนี ชนิดอารเ์ อ็นเอ
เพอื่ ตรวจสภาพความสมบรู ณแ์ ขง็ แรงของรา่ งกาย และสาำ รวจหาความผดิ ปกตขิ องรา่ งกายเพอ่ื หาวธิ ปี อ้ งกนั เจ็บแน่นหน้าอก ไอเป็นเลือด หอบ อ่อนเพลีย (RNA)
และแก้ไขได้ทันท่วงที เยอ่ื หมุ้ สมองอกั เสบ ปวดศรี ษะอยา่ งรนุ แรง คอแขง็ โปรตนี แกนกลาง
3.1.7 การรกั ษาความสะอาดของรา่ งกาย ไดแ้ ก ่ การอาบนาำ้ ลา้ งหนา้ แปรงฟนั ทาำ ความสะอาด
อวยั วะเพศ เปน็ ประจาำ ทกุ วนั

ค่านิยมหลัก 12 ประการ

• รกั ษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอันงดงาม
• มีศลี ธรรม รักษาความสัตย์ หวังดตี อ่ ผู้อื่น เผ่อื แผแ่ ละ
แบ่งปนั
• ใฝ่หาความรู้ หม่ันศึกษาเล่าเรียนท้ังทางตรงและ
ทางออ้ ม
• มีความเข้มแข็งทั้งร่างกายและจิตใจ ไม่ยอมแพ้
ตอ่ อำ� นาจ ฝ่ายตำ�่ หรือกเิ ลส มคี วามละอายเกรงกลวั
ต่อบาปตามหลักของศาสนา

คลื่นไส้อาเจียน เป็นมะเร็ง เช่น มะเร็งหลอดเลือด

จะมรี อยจำ้าแดงมว่ งตามผวิ หนงั มะเรง็ ตอ่ มน้าำ เหลอื ง ภาพที่ 2.7 โครงสร้างเช้อื เอชไอว ี (HIV)

จะมกี ้อนโตตามตอ่ มนำา้ เหลืองตา่ งๆ

แนวทางการปอ้ งกนั โรคเอดส ์
(1) ไมม่ ีเพศสัมพันธก์ อ่ นวยั อันควร
(2) ใชถ้ ุงยางอนามัยเมื่อมเี พศสัมพันธ ์
(3) ขอรับบริการปรึกษาโรคเอดส์และตรวจโรคได้จากศูนย์บริการช่วยเหลือหรือ
สถานพยาบาล
(4) ไมใ่ ชส้ ารเสพตดิ
(5) ไม่ใชส้ งิ่ ของเครื่องใชส้ ่วนตัวทมี่ คี มร่วมกัน เชน่ มดี โกนหนวด กรรไกรตดั เลบ็
เพราะอาจเกดิ บาดแผลเลอื ดออกและตดิ เชอื้ เอดสไ์ ด ้

สุดยอดคมู่ อื ครู 45

1 . ขGั้นaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2. ขPั้นrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษท่ี 21 ทักษะชีวิต

เพศและการดูแลสุขภาพทางเพศ 31 ภาวะที่เกิดจากการที่เลือดไม่สามารถไปเลี้ยงสมอง
ท�ำให้การท�ำงานของสมองหยุดชะงัก ถ้าสมองจะได้
2) โรคหนองใน เกดิ จากการตดิ เชอื้ Neisseria Gonorrhoeae ซึ่งเป็นเช้ือแบคทเี รีย รับออกซิเจนและอาหารท่ีมีอยู่ในเลือดมาบ�ำรุงเลี้ยง
ท่ีมีรูปร่างค่อนข้างกลม เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ที่พบได้บ่อยที่สุด มี 2 ประเภท คือหนองในแท้ การท�ำงานของร่างกายก็จะเป็นปกติ หากมีเส้นเลือด
บางส่วนที่ไปเล้ียงสมองเกิดตีบลง อุดตันเป็นโรคหรือ
และหนองในเทยี ม ติดตอ่ จากการมีเพศสมั พันธไ์ ด้ทงั้ ทางปาก ช่องคลอด และทวารหนัก บาดเจ็บ ผลท่ตี ามมาก็คอื อาการอัมพาต

อาการของโรคหนองใน 32 เพศวถิ ีศึกษา
เพศชาย จะมีอาการปัสสาวะขัดรุนแรง มีหนองสีเหลืองข้นไหลออกมาจาก 4) โลน มลี กั ษณะคลา้ ยเหา อาศยั ออกไขต่ ามรากขน จะตดิ ตอ่ จากการสมั ผสั ทางเพศ
ท่อปัสสาวะ หากไม่รีบรักษาจะลุกลามไปยังต่อมลูกหมาก ทำาให้ต่อมลูกหมากอักเสบ เป็นหมัน อาจเกิด เชอ้ื Phthirus Pubis มรี ะยะฟกั ตวั ประมาณ 30 วนั ชอบดดู เลอื ด ทาำ ใหค้ นั บรเิ วณหวั เหนา่ วรอบทวารหนกั
อาการแทรกซอ้ น เช่น อณั ฑะอักเสบ ขอ้ อกั เสบ เย่ือบตุ าอกั เสบ หนา้ อก ลาำ ตวั รักแร้ ขนตา คิว้  
เพศหญิง จะมีอาการตกขาวมีกลิ่นเหม็น ท่อปัสสาวะอักเสบ ทำาให้ปัสสาวะ การรกั ษา
แสบขัด หากไม่รีบรักษาจะทำาให้อุ้งเชิงกรานและปากมดลูกอักเสบ ท่อนำาไข่อุดตัน เป็นหมัน (1) กำาจัดตัวโลนและไข่โดยล้างออกให้สะอาดด้วยนำ้ายา  Elimite หรือ Kwell
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด ทาำ ความสะอาดประมาณ 4-5 คร้งั ตอ่ สปั ดาห ์
ทอ้ งนอกมดลูก (2) กาำ จดั ไขด่ ว้ ยการใชห้ วที ม่ี คี วามถห่ี วบี รเิ วณทเ่ี ปน็ หรอื โกนขนบรเิ วณทม่ี โี ลนออก
3) โรคซฟิ ลิ สิ เป็นโรคติดต่อทางเพศสมั พนั ธ์ทท่ี ำาใหเ้ กิดภาวะแทรกซ้อนร้ายแรงกว่า แนวทางการปอ้ งกนั โลน
โรคอื่นๆ โดยเช้ือจะเข้าทางรอยถลอก บาดแผล หรือเยื่อบุผิวของท่อปัสสาวะ ทวารหนัก ช่องคลอด (1) ไมม่ เี พศสมั พันธ์ก่อนวัยอันควร สวมถงุ ยางอนามยั เมอื่ มีเพศสัมพันธ์
(2) รกั เดียวใจเดียว ไม่เปลยี่ นค่นู อน
ชอ่ งปาก (3) รกั ษาความสะอาดของร่างกายและอวยั วะเพศอย่างสมา่ำ เสมอ
อาการของโรคซฟิ ลิ ิส 3.2.2 โรคไม่ติดตอ่
ระยะท ี่ 1 เป็นแผล ภายหลังตดิ เชื้อ 10-90 วัน มตี มุ่ ขน้ึ ทีอ่ วยั วะเพศ หรือหัวหนา่ ว 1) โรคมะเร็งปากมดลูก เป็นโรคมะเร็งท่ีพบมากในเพศหญิงอายุระหว่าง 35-50 ปี
ขาหนีบ ทวาร รมิ ฝีปาก ต่อมาต่มุ จะแตกกลายเป็นแผลกว้าง ขอบแผลเรียบและแขง็ เรยี กว่า แผลริมแขง็ มีการดำาเนินของโรคช้า สามารถตรวจพบได้ต้ังแต่ในระยะแรก เกิดจากการติดเช้ือ HPV ชนิดท่ีเป็น
สายพันธุ์ท่ีผ่านการมีเพศสัมพันธ์ โดยที่ร่างกายของเพศหญิงไม่สามารถกำาจัดเช้ือโรคได้ ทำาให้เช้ือโรค
ระยะที่ 2 เขา้ ขอ้ ออกดอก พบหลัง พฒั นาเปน็ มะเร็งปากมดลกู
จากเป็นระยะที่ 1 ประมาณ 4-8 สัปดาห ์ จะมีผน่ื ข้นึ ทัง้ ตัว รวม ปัจจัยเส่ยี งตอ่ การเปน็ โรค
(1) มีเพศสัมพนั ธต์ ั้งแตอ่ ายนุ อ้ ย คอื ตา่ำ กว่า 18 ปี
ท้ังฝ่ามือ ฝ่าเท้า มีอาการไข้ต่ำาเป็นครั้งคราว ปวดศีรษะ (2) การเปลีย่ นค่นู อนหลายคน
(3) การเปน็ โรคติดตอ่ ทางเพศสัมพันธ์
อ่อนเพลีย เบอื่ อาหาร ต่อมนา้ำ เหลอื งโต ปวดหลัง ปวดกระดกู (4) เป็นโรคเร้อื รังที่ทาำ ใหภ้ ูมติ า้ นทานโรคต่ำา เชน่ โรคเอดส์
อาการของโรคมะเรง็ ปากมดลกู
นา้ำ หนกั ลด (1) ระยะแรกจะไม่มีอาการอะไร แต่เม่ือเป็นมะเร็งแล้วจะมีเลือดออกหลังจาก
ระยะท่ ี 3 ระยะทำาลาย หากรักษาไม่ การตรวจภายในหรือหลังรว่ มเพศ หรือมตี กขาว มีเลอื ดออกผิดปกต ิ
ถูกวิธีจะทำาให้ตาบอด หูหนวก สติปัญญาเส่ือม เชื้ออาจเข้า ภาพท ี่ 2.8 ผูป้ ว่ ยซฟิ ลิ ิสระยะที ่ 2 มีผื่นท่ตี ัว (2) มเี ลือดออกหลงั จากหมดประจำาเดือนแล้ว
สู่สมองและไขสนั หลังทำาใหเ้ ปน็ อัมพาต และอาจเสียสตไิ ด้ (3) มีตกขาวซึ่งอาจจะมีเลือดปน
แนวทางการป้องกันโรคซฟิ ลิ สิ (4) เจ็บขณะมีเพศสัมพนั ธ์
2) โรคมะเรง็ เต้านม เปน็ โรคมะเรง็ ที่พบมากในเพศหญงิ ที่มอี ายุ 40 ปขี น้ึ ไป
(1) ไม่มเี พศสัมพันธ์ก่อนวัยอนั ควร ปัจจยั เสย่ี งต่อการเปน็ โรค
(2) สวมถุงยางอนามัยเมือ่ มเี พศสมั พนั ธ์ (1) มผี ู้ป่วยโรคมะเร็งเต้านมในครอบครวั
(2) การไม่มบี ุตรหรือมีบตุ รเมือ่ อายมุ าก
(3) รักเดยี วใจเดยี ว ไม่เปลีย่ นคนู่ อน

(4) รกั ษาความสะอาดของรา่ งกายและอวยั วะเพศอย่างสมำา่ เสมอ

(5) ศกึ ษาอาการและวิธีการปอ้ งกันโรคตดิ ตอ่ ทางเพศสมั พนั ธ์

คือของเหลวที่ไหลออกมาจากช่องคลอด มีลักษณะเป็น
เมอื กใสๆ สขี าว เปน็ ตวั สรา้ งความชมุ่ ชน้ื ใหแ้ กช่ อ่ งคลอด
ในแต่ละคนปริมาณของตกขาวจะไม่เท่ากันข้ึนอยู่กับช่วง
ตกไข่ การตงั้ ครรภ์ การมรี อบเดอื น การมเี พศสมั พนั ธ์ และ
การใชย้ า คมุ ก�ำเนิด เปน็ ต้น

46 สุดยอดคูม่ อื ครู

A3. ข้ันปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ขั้นส่ือสารและน�ำเสนอ 5. ขSั้นeปlรf-ะRเมeินgเพuื่อlaเพti่ิมnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

เพศและการดูแลสขุ ภาพทางเพศ 33 สงวนลิขสิท ิธ์ บริษัทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ำจ�กัด St ep 5 บข้ันรปกิ ราระเสมังนิ คเพมแ่ือลเพะจิม่ ิตคสณุ าคธ่าารณะ

(3) การด่มื เครอ่ื งดื่มที่มแี อลกอฮอล ์ Self-Regulating
(4) การมนี า้ำ หนกั เกนิ เกณฑ์มาตรฐาน
(5) การขาดการออกกำาลังกาย 1. ผู้เรียนแต่ละกลุ่มและรายบุคคลตรวจสอบความรู้
(6) การใช้ยาคมุ กาำ เนดิ เป็นเวลานาน ความเขา้ ใจของตนเองหลงั จากรบั ฟงั การนำ� เสนอของ
(7) การมีประจำาเดือนตั้งแต่อายุยังน้อย (น้อยกว่า 12 ปี) หรือหมดประจำาเดือน สมาชิกกลุ่มอื่น ปรับปรุงชิ้นงานของกลุ่มตนเองให้
เมอ่ื อายมุ ากกว่าปกติ (55 ปีข้ึนไป) สมบรู ณ์และบันทึกเพ่ิมเติม
อาการของโรคมะเร็งเตา้ นม 2. น�ำผลงานแสดงในป้ายนิเทศหรือเผยแพร่สู่ห้องเรียน
(1) มกี ้อนเนือ้ ทเ่ี ตา้ นม โดยมะเร็งมักจะไมเ่ จบ็ ปวด อาจโตชา้ หรือเร็วกไ็ ด้ อื่นหรือสาธารณะ
(2) การเปลี่ยนแปลงของรูปร่างและเนื้อเต้านม เช่น เต้านมผิดรูปไปจากเดิม 3. ผู้เรียนแต่ละคนท�ำแบบทดสอบ (หนังสือเรียนหน้า
บวมโต แขง็ ผดิ ปกต ิ 38-39) แลกเปล่ียนกันตรวจให้คะแนน จากนั้น
แนวทางการป้องกนั โรคมะเร็ง ประเมนิ สรปุ ผลการทำ� กจิ กรรม (หนงั สอื เรยี นหนา้ 37)
(1) รับประทานผักผลไม้ โดยเฉพาะผกั 5 ส ี ได้แก่ สเี ขียว เชน่ คะน้า กะหลำ่าปล ี แบบประเมินตนเอง (หนังสือเรียนหน้า 40) และ
กวางตุ้ง และผักบุ้ง สีเหลืองหรือส้ม เช่น ฟักทอง แคร์รอต ข้าวโพด และส้ม สีแดง เช่น มะเขือเทศ กำ� หนดแนวทางการพฒั นาตนเอง
สีม่วง เชน่ กะหลำา่ ปลีม่วง และสีขาว เชน่ ผกั กาดขาว ดอกแค และกะหล่ำาดอก ผักสตี ่างๆ จะมสี ารต้าน
อนมุ ูลอิสระ ซ่ึงสามารถป้องกนั การเกิดโรคมะเรง็ 34 เพศวถิ ีศึกษา
(2) ไม่ควรรับประทานแป้ง น้ำาตาล ไขมัน และเนื้อสัตว์เพียงอย่างเดียว ควร
รบั ประทานผกั ผลไม้ เพราะมีกากใยทีช่ ่วยดดู ซบั สารพษิ หรอื สารอาหารท่ีเป็นส่วนเกนิ ออกจากร่างกายได้
(3) หลกี เลี่ยงอาหารสุกๆ ดิบๆ อาหารปง้ิ ย่าง อาหารรมควัน อาหารประเภทดอง
เค็ม และอาหารทม่ี รี สจดั
(4) ไม่ดมื่ แอลกอฮอลแ์ ละไม่สบู บุหรี่

สรุป

การเปลี่ยนแปลงทางเพศเป็นกระบวนการตลอดชีวิต และการเปลี่ยนแปลงทางเพศนี้ก่อให้เกิด

การเปลย่ี นแปลงทงั้ ดา้ นรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ ์ และสงั คม การเปลยี่ นแปลงทางเพศในวยั รนุ่ ทเ่ี หน็ ชดั ทสี่ ดุ
คือการเปล่ียนแปลงทางด้านร่างกาย ซ่ึงมีผลต่อสุขภาพทางเพศ นั่นคือการมีชีวิตทางเพศท่ีเป็นสุข
ปลอดภัย หรือรักษาร่างกายให้ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ หรือความผิดปกติทางเพศ ท้ังร่างกาย จิตใจ
และสังคม รวมไปถงึ จติ วิญญาณดว้ ย ดงั นัน้ การดแู ลสุขภาพทางเพศจึงหมายถงึ ความรู้ ความเข้าใจ และ
มคี วามสามารถในการดแู ลรกั ษาความสะอาดของอวยั วะเพศ การปอ้ งกนั การเจบ็ ปว่ ย การสง่ เสรมิ สขุ ภาพ
ทางเพศ และความผิดปกติเก่ียวกับอวัยวะเพศ รวมท้ังการดูแลจิตใจและสังคมในเรื่องที่เก่ียวข้อง
กบั เพศดว้ ย

กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจ

ยาเมด็ คมุ กำ� เนดิ เปน็ ยาทม่ี สี ว่ นผสมของฮอรโ์ มนเพศหญงิ คำาชแี้ จง กิจกรรมตรวจสอบความเข้าใจเป็นกิจกรรมฝึกทักษะเฉพาะด้านความรู้-ความจำา เพ่ือใช้ใน
มีผลป้องกันการต้ังครรภ์โดยยับยั้งการตกไข่ ท�ำให้เย่ือ การตรวจสอบความเขา้ ใจตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
บุโพรงมดลูก (เย่ือบุมดลูก) บางตัวมีสภาพไม่พร้อม คาำ สั่ง
ต่อการฝังตัวของตัวอ่อนและท�ำให้มูกที่ปากมดลูก ตอนท่ี 1 จงนำาตวั เลขหนา้ คาำ ตอบไปเติมในช่องว่างใหถ้ ูกต้อง
เหนียวข้น เป็นอุปสรรคต่อการเคล่ือนท่ีของตัวอสุจิจึงจะ โรคเอดส์ (Acquired Immune Deficiency Syndrome หรือ AIDS) เป็นภาวะท่ีเกิด
ท�ำให้ไมส่ ามารถเข้าไปปฏสิ นธิกบั ไข่ในท่อนำ� ไขไ่ ด้ หรือลดต่ำาลง เป็นผลทำาให้เกิดการติดเชื้อโรคต่างๆ ได้ง่ายกว่าคนปกติ โรคเอดส์เกิดจากเชื้อไวรัส
เอชไอวี (HIV-Human Immunedeficiency Virus)
คือสารประกอบท่ีสามารถป้องกันหรือชะลอการเกิด อาการเมอ่ื ไดร้ บั เช้ือเอชไอว ี แบง่ ไดเ้ ป็น 3 ระยะดังนี้
ปฏิกิริยาออกซิเดชันของอนุมูลอิสระได้ รวมทั้งช่วย ระยะท ่ี 1 เม่ือได้รับเชื้อใหม่ๆ จะยังไม่แสดงอาการ ส่วนใหญ่จะตรวจพบ ในร่างกาย
ซ่อมแซมความเสียหายที่เกิดจากตัวอนุมูลอิสระท่ีไป และแอนตบิ อด ี (antibody) ต่อเช้อื ไวรัส
ท�ำลายเซลล์ต่างๆ ในรา่ งกาย ระยะท่ ี 2 เปน็ ระยะอาการสมั พนั ธก์ บั โรคเอดส ์ คอื มไี ขต้ าำ่ นานกวา่ 3 เดอื น นาำ้ หนกั ลด 4-5 กโิ ลกรมั
หรอื มากกว่ารอ้ ยละ 20 ของน้าำ หนกั ตวั นานกว่า 2 เดือน เบอ่ื อาหาร ต่อมน้าำ เหลอื งทีค่ อ รักแร้ แขน ขาหนีบโต
กิจกรรมท้าทาย นานเกิน 3 เดือน มีฝ้าขาวที่ล้ิน เหง่ือออกมากผิดปกติในเวลากลางคืน แขน ขาข้างใดข้างหน่ึงไม่มีแรง

ผู้เรียนโต้วาทีเร่ืองพฤติกรรมของเพศหญิงและ นานเกนิ 1 เดือน โดยไมท่ ราบสาเหตุ
เพศชาย ระยะที่ 3 เปน็ ระยะสุดท้าย ซง่ึ เป็นระยะที่เป็นโรคเอดสเ์ ต็มขน้ั โดยทั่วไปภูมคิ มุ้ กนั ของร่างกายถูก
ทาำ ลายจนออ่ นแอ ทำาใหเ้ กดิ การตดิ ทอี่ วยั วะภายใน ทาำ ใหเ้ กดิ โรคในระบบตา่ งๆ ของร่างกายดังนี้
1) ระบบเลือด เช่น มะเรง็ เมด็ เลือด
2) ระบบทางเดินอาหาร เชน่ อุจจาระร่วงเรือ้ รัง
3) ระบบทางเดินหายใจ เช่น วัณโรค ปอดอกั เสบ
4) ระบบประสาทสว่ นกลาง เชน่ แขนขาไมม่ แี รง

ยีนชนิดอาร์เอ็นเอ (RNA)
โปรตนี แกนกลาง

1. เชือ้ ชนิดฉวยโอกาส 5. อุจจาระรว่ งเรื้อรงั 9. ปอดบวม
2. โปรตนี เปลือกนอก 6. มะเร็งต่อมน้ำาเหลือง 10. ภูมิคุ้มกันในร่างกายบกพรอ่ ง
3. เปลอื กห้มุ ไวรสั 7. เชอื้ ไวรัส
4. สมองอักเสบ 8. หลอดอาหารอกั เสบ

สุดยอดคู่มอื ครู 47

1. ขG้ันaรtวhบeรrวiมnขg้อมูล 2 . ขP้ันrคoิดcวeิเsคsรiาnะหg์และสรุปความรู้

บูรณาการทักษะศตวรรษที่ 21 ทักษะชีวิต

เพศและการดแู ลสุขภาพทางเพศ 35

ตอนที่ 2 จงตอบคำาถามตอ่ ไปนใ้ี ห้ถกู ต้อง

1. ผเู้ รยี นมกี ารปฏบิ ตั ติ นเพือ่ สุขภาพทางเพศอย่างไรบา้ ง
2. ปจั จัยท่ที ำาใหเ้ กิดพฤตกิ รรมความเสยี่ งทางเพศมีอะไรบา้ ง จงอธบิ ายพร้อมยกตวั อย่างประกอบ
3. อวัยวะสืบพันธขุ์ องเพศชายประกอบดว้ ยอะไรบา้ ง จงอธิบายเปน็ ขอ้ ๆ
4. อวัยวะสืบพนั ธุข์ องเพศหญงิ ประกอบดว้ ยอะไรบ้าง จงอธบิ ายเป็นขอ้ ๆ
5. พฤตกิ รรมทางเพศทไ่ี มเ่ หมาะสมก่อให้เกิดปัญหาอะไรบ้าง จงอธบิ ายพรอ้ มยกตวั อยา่ ง
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
กจิ กรรมส่งเสรมิ การเรยี นรู้

คำาชี้แจง กจิ กรรมสง่ เสรมิ การเรยี นร ู้ ประกอบดว้ ยกจิ กรรมหลากหลายทฝี่ กึ ทกั ษะทกุ ดา้ นตามจดุ ประสงค์
เชิงพฤตกิ รรม เพือ่ ให้เกิดสมรรถนะในการเรยี นร ู้ สามารถปฏิบัติกจิ กรรมทงั้ ในและนอกสถานท ่ี
ตามความเหมาะสมกับผู้เรยี นและสิ่งแวดลอ้ มของสถานศกึ ษา

1. ให้ผู้เรียนสัมภาษณ์เพ่ือนต่างชั้นเรียนจำานวน 3 คน ในเรื่องเพศและพฤติกรรมทางเพศของวัยรุ่น
และนำาผลทีไ่ ด้จากการสมั ภาษณม์ าเปรียบเทียบความเหมือนและแตกตา่ ง

เรอ่ื ง คนท ี่ 1 คนท ่ี 2 คนที ่ 3
เพศ
พฤตกิ รรมทางเพศ

2. ให้ผูเ้ รยี นแบง่ กลมุ่ เป็น 2 กลมุ่ โต้วาท ี เรอ่ื งพฤติกรรมของเพศหญิงและเพศชาย

3. ให้ผู้เรียนสำารวจการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ และพัฒนาการทางเพศของตนเอง
ทีม่ ีการเปลี่ยนแปลง และบนั ทกึ ขอ้ มลู เป็นแผนภาพความคิด

ตวั อย่างแผนภาพความคดิ

การเปลีย่ นแปลง การเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลง
ด้านรา่ งกาย ดา้ นตา่ ง ๆ ของ ด้านจติ ใจ อารมณ์
ชอื่
เพศ

พฒั นาการทางเพศ 36 เพศวิถีศกึ ษา

4. ให้ผเู้ รียนแบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ 3-5 คน หาขอ้ มูลเกย่ี วกบั แนวทางในการดูแลสขุ ภาพทางเพศ และร่วมกนั
จัดทาำ สรปุ พร้อมส่งตัวแทนนำาเสนอขอ้ มูลหนา้ ชน้ั เรยี น กลมุ่ ละ 3-5 นาที
5. ใหผ้ เู้ รยี นเสนอวธิ กี ารปรบั ตวั ทเี่ หมาะสมตอ่ การเปลย่ี นแปลงทางรา่ งกาย จติ ใจ อารมณ ์ และพฒั นาการ
ทางเพศ พรอ้ มอธิบายผลท่ีเกิดขึน้ โดยทาำ เปน็ แผนภาพความคดิ

ตวั อย่างแผนภาพความคดิ

วธิ ีการปรบั ตวั ทเี่ หมาะสม ผลทเี่ กดิ ข้ึน

การเปล่ียนแปลงทางรา่ งกาย

การเปลี่ยนแปลงทางจติ ใจ อารมณ์

พัฒนาการทางเพศ

48 สดุ ยอดคู่มือครู

A3. ขั้นปฏิบัติและสรุปความรู้หลังการปฏิบัติ A4. ข้ันสื่อสารและน�ำเสนอ 5. ขSั้นeปlรf-ะRเมeินgเพuื่อlaเพti่ิมnคgุณค่า

pplying and Constructing the Knowledge pplying the Communication Skill

ค่านิยมหลัก 12 ประการ กิจกรรมท้าทาย รอบรู้อาเซียนและโลก

asean

เพศและการดแู ลสขุ ภาพทางเพศ 37

สรุปผลการทา� กจิ กรรม

คาำ ชี้แจง ใหผ้ เู้ รยี นประเมนิ ผลการทาำ กิจกรรม โดยเขยี นเคร่อื งหมาย ✓ลงในช่อง ตามความเป็นจริง
สงวนลิข ิสทธิ์ บริ ัษทพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) จำ�กัด
ความร้ ู (K) ทักษะ (P) คณุ ลักษณะ (A) เกณฑก์ ารประเมิน
การมีมนุษยสัมพนั ธ์ใน ทาำ เครอ่ื งหมาย ✓
ความร ู้ ความเข้าใจ การปฏิบตั งิ านทไ่ี ดร้ ับ
การนำาไปใช้ การวเิ คราะห์ มอบหมายเสรจ็ ตามเวลา การปฏบิ ตั ิกจิ กรรม ในแต่ละตอน 3 ขอ้
การสังเคราะห์ ทีก่ ำาหนด ความมีวนิ ยั ตรงต่อเวลา คอื ผ่านการประเมิน
การประเมินคา่ การปฏิบตั งิ านด้วยความ ความซอ่ื สัตยส์ จุ ริต
ในการทาำ งาน 1. ความรู้ (K)
การศกึ ษาคน้ คว้า ละเอียด รอบคอบ ปลอดภัย ประพฤตติ นด้วยความ ผา่ น ไม่ผ่าน
การแสวงหาแหลง่ ข้อมูล เรยี บรอ้ ย สวยงาม
และการรวบรวมขอ้ มลู ความสมบูรณ์ของงาน ถูกตอ้ งตามศีลธรรม 2. ทกั ษะ (P)
การแสดงความคดิ เหน็ การปฏิบัติงานทีท่ าำ ให้เกดิ อนั ดีงาม
อย่างมเี หตุผล หรอื แสดง สมรรถนะแกผ่ เู้ รยี น เจตคติทด่ี ีในการปฏิบัติ ผา่ น ไม่ผ่าน
กจิ กรรม
ข้นั ตอนและกระบวนการ ทกั ษะการวางแผน การคิด ความพอเพยี งและความ 3. คณุ ลักษณะ (A)
ทาำ กิจกรรม สร้างสรรค ์ การออกแบบ ผ่าน ไมผ่ ่าน

การหาประสบการณ์ การผลติ พอประมาณ
ความรู้ใหม ่ การตดั สินใจในการแกป้ ัญหา

หมายเหต ุ เกณฑ์การประเมินผลการทำากิจกรรม มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินว่า ผู้เรียนเกิดสมรรถนะจากการเรียนรู้
ตามบริบทต่างๆ หรือไม่ โดยแบ่งเป็น 3 ด้าน คือ ความรู้หรือพุทธิพิสัย = Knowledge (K) ทักษะหรือ
ทักษะพิสยั = Practice (P) คุณลกั ษณะหรอื จิตพสิ ยั = Attitude (A)

สดุ ยอดคู่มือครู 49