เงินเดือน 20000 หักประกันสังคมเท่าไหร่

          เช่น ปีต่อไปอาจขยายเป็น 16,000 บาท หรือเก็บสมทบสูงสุด 800 บาทต่อเดือน แล้วปีถัดไปค่อยเพิ่มเป็น 17,000 บาท หรือเก็บสมทบสูงสุด 850 บาท โดยภายในระยะเวลา 5 ปี ก็จะสามารถขยายเพดานเงินเดือนเป็น 20,000 บาท เป็นเก็บเงินสมทบได้เดือนละ 1,000 บาทได้ เพื่อให้ผู้ประกันตนไม่รู้สึกว่าต้องจ่ายแบบก้าวกระโดดจนเกินไป

หากคุณได้เงินเดือน 20,000 บาท ต่อปีโดยอยู่อาศัยใน ประเทศไทย คุณจะถูกหักภาษี 1,000 บาท ซึ่งหมายความว่าเงินเดือนสุทธิของคุณคือ 19,000 บาท ต่อปี หรือ 1,583 บาท ต่อเดือน อัตราภาษีโดยเฉลี่ยของคุณคือ 5.0% และอัตราภาษีส่วนเพิ่มของคุณคือ 5.0% อัตราภาษีส่วนเพิ่มนี้หมายความว่ารายได้เพิ่มเติมของคุณจะถูกหักภาษี ณ อัตรานี้ ตัวอย่างเช่น เงินเดือนของคุณที่เพิ่มขึ้น 100 บาท จะถูกหักภาษี 5 บาท ดังนั้นเงินเดือนสุทธิของคุณจะเพิ่มขึ้นแค่เพียง 95 บาท;

โบนัส 1,000 บาท จะสร้างรายได้ 950 บาท เพิ่มเติมจากรายได้สุทธิ โบนัส 5,000 บาท จะสร้างรายได้สุทธิ 4,750 บาท เพิ่มเติม.

หมายเหตุ * หัก ณ ที่จ่ายะถูกคำนวณตามตาราง ของ ประเทศไทย, ภาษีเงินได้ เพื่อวัตถุประสงค์ในการทำให้เข้าใจง่ายมีการสันนิษฐานตัวแปรบางตัว (เช่นสถานภาพการสมรสและอื่น ๆ ) เอกสารนี้ไม่ได้เป็นตัวแทนของผู้มีอำนาจตามกฎหมายและจะใช้เพื่อจุดประสงค์ในการประมาณเท่านั้น

จากกรณีที่ คณะรัฐมนตรี (ครม.) เห็นชอบลดยอดเงิน จ่ายเงินสมทบประกันสังคมมาตรา 33 และ มาตรา 39 ต่ออีก 3 เดือน เพื่อเป็นมาตรการเยียวยาโควิด ช่วยเหลือประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโควิด - 19 โดยปรับลดเงินสมทบผู้ประกันตน มาตรา 33 และมาตรา 39 ทั่วประเทศ เป็นเวลา 3 เดือน ตั้งแต่ ก.ย.  - พ.ย. 2564  ซึ่งในการคำนวณหักเงินสมทบทั้ง 2 มาตรา มีอัตราการหักเปอร์เซ็นต์ไม่เท่ากัน 

ช่วย ม.33 ม.39 นายจ้าง ทั่วประเทศ "ครม." ไฟเขียว ลดเงินสมทบผู้ประกันตน 3 เดือน

เคาะแล้ว! ลดเงินสมทบผู้ประกันตน ม. 33 - นายจ้าง - ม.39 อีก 3 เดือน

เงินเดือน 20000 หักประกันสังคมเท่าไหร่

การคำนวณ การนำส่งเงินสมทบผู้ประกันตนในมาตรา 33 นั้น ในส่วนนายจ้าง ลูกจ้าง ตามกฎหมายประกันสังคมนั้นให้คำนวณเงินเดือน + รายได้อื่นๆ ที่นายจ้างไม่ได้กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขไว้ในระเบียบของผู้ว่าจ้างหรือสถานประกอบการ เช่น เงินค่าครองชีพ  นายจ้างจ่ายให้เดือนละ 1,000 บาทต่อเดือน  โดยจ่ายให้ทุกคนไม่ว่าจะลาป่วยในเดือนนั้นๆ หรือไม่  เงินค่าครองชีพจะต้องนำมารวมกับเงินเดือนเพื่อหักนำส่งเงินสมทบ 5%

ส่วนเงินสวัสดิการอื่นๆ ที่นายจ้างหรือสถานประกอบการมีการตั้งหลักเกณฑ์และเงื่อนไขไว้กับลูกจ้าง เช่น ค่าคอมมิชชั่น มีการตั้งยอดขายให้กับพนักงานถ้าทำยอดขายได้ 20,000 บาทต่อเดือน จะได้รับค่าคอมมิชชั่น 5% เงินส่วนนี้จะไม่นำมารวมคำนวณเงินสมทบ 5% เพราะไม่ถือเป็นค่าจ้าง (ทั้งนี้  ขึ้นอยู่กับเงื่อนไขที่กำหนดไว้) ยกตัวอย่าง

เงินเดือน   8,000 บาท (เงินเดือน) x 5% (เงินหักเข้าประกันสังคม) = 400 บาท  ที่ต้องหักเข้าประกันสังคม 
เงินเดือน 15,000 บาท (เงินเดือน) x 5% (เงินหักเข้าประกันสังคม) = 750 บาท ที่ต้องหักเข้าประกันสังคม 

และเมื่อปรับลดตามประกาศ ครม. 
เงินเดือน   8,000 บาท (เงินเดือน) x 2.5% (เงินหักเข้าประกันสังคม)  ทำให้เงินคงเหลือที่ถูกหักเข้าประกันสังคม  200 บาท
เงินเดือน 15,000 บาท (เงินเดือน) x 2.5% (เงินหักเข้าประกันสังคม)  ทำให้เงินคงเหลือที่ถูกหักเข้าประกันสังคม  375 บาท 

ส่วนผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ผู้ที่เคยทำงานในบริษัท หรืออยู่ในมาตรา 33 มาก่อน แต่ว่างงาน หรือลาออกไม่เกิน 6 เดือน และเคยส่งเงินสมทบไม่น้อยกว่า 12 เดือนขึ้นไป แต่ยังอยากได้รับสิทธิประโยชน์จากประกันสังคมอยู่ รัฐบาลกำหนดให้ส่งเงินสมทบ 9% โดยใช้ฐานเงินเดือนในการคำนวญเงินสมทบ คือ เดือนละ 4,800 บาท เท่ากันทุกคน จึงทำให้ช่วงปกติจะต้องส่งเงินสมทบ 

เมื่อวันที่ 4 ก.ย. 61 ผู้สื่อข่าวรายงานว่า ขณะนี้สำนักงานประกันสังคม (สปส.)อยู่ระหว่างการดำเนินการ การปรับขยายเพดานเงินเดือน เพื่อเพิ่มอัตราการจ่ายเงินสมทบเข้ากองทุนประกันสังคมในมาตรา 33 จากฐานเงินเดือน 15,000 บาท เป็น 20,000 บาท หรือเก็บจาก 750 บาท เป็น 1,000 บาท จากทั้งนายจ้างและลูกจ้างในอัตราที่เท่ากัน

กล่าวคือ จากเดิมฐานเงินเดือนสูงสุดตามเกณฑ์จะอยู่ที่ 15,000 บาท จ่ายเงินสมทบสูงสุด 750 บาท แต่เมื่อปรับฐานเงินเดือนสูงสุดเป็น 20,000 บาท จะมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้

เงินเดือนต่ำกว่า 16,000 บาท จ่ายสมทบ 750 บาท

เงินเดือน16,000 – 20,000 บาท จ่ายสมทบ 800 บาท

เงินเดือน 20,000 บาทขึ้นไป จ่ายสมทบ 1,000 บาท

เงินเดือน 20000 หักประกันสังคมเท่าไหร่

นายมนัส โกศล ประธานเครือข่ายประกันสังคมคนทำงาน บอกว่า การขยายเพดานเงินเดือนสูงสุดเป็น 20,000 บาท คิดอัตราเท่าเดิมที่ร้อยละ 5 จะทำให้ผู้ประกันตนได้รับสิทธิประโยชน์ทั้ง 7 ประเภทเพิ่มขึ้นตามไปด้วย ทั้งเจ็บป่วย ทุพพลภาพ คลอดบุตร เงินสงเคราะห์กรณีเสียชีวิต ว่างงานเพราะลาออกหรือเลิกจ้าง

ยกตัวอย่างเช่น หากผู้ประกันตนมีฐานเงินเดือนสูงสุดที่ 20,000 บาท จะจ่ายเงินสมทบสูงสุด 1,000 บาท ประกันสังคมจ่ายชดเชยกรณีเจ็บป่วยและทุพพลภาพ 10,000 บาท หากคลอดบุตรจะได้ 30,000 บาท ส่วนเงินสงเคราห์กรณีเสียชีวิต ถ้าจ่ายเงินสมทบครบ 10 ปี จะได้ 120,000 บาท เงินชราภาพได้ 4,000 บาทต่อเดือน และหากว่างงานเพราะลาออกจะได้ 6,000 บาท แต่ถ้าถูกเลิกจ้างจะได้ 10,000 บาท

เงินเดือน 20000 หักประกันสังคมเท่าไหร่

ด้านนายสาวิทย์ แก้วหวาน ประธานคณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย กล่าวว่า เมื่อต้องจ่ายเงินสมทบเพิ่มขึ้น สำนักงานประกันสังคมก็ต้องพัฒนาหรือปรับปรุงบริการให้ดีขึ้นด้วย

ส่วนนายสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ยอมรับว่า การขยายเพดานเงินเดือนให้ผู้ประกันตนเป็นเรื่องที่ดี และไม่เชื่อว่าจะกระทบผู้ประกอบการมากนัก เนื่องจากเป็นการจ่ายเงินสมทบในอัตราเท่ากันทั้งฝ่ายนายจ้างและลูกจ้าง ซึ่งกฎหมายกำหนดเพดานอัตราการจ่ายเงินสมทบสูงสุดอยู่แล้ว