วิจัยในชั้นเรียนภาษาไทย ม. 3 doc

1

วจิ ัยในชั้นเรียน
เรอื่ ง

การพัฒนาแบบฝกึ ทกั ษะ
เร่ือง คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
สำหรบั นกั เรียนชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3

นายทศพล ลาภจรัสแสงโรจน์

ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นบ้านบงึ “อุตสาหกรรมนุเคราะห”์

บทคดั ยอ่
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะ เรื่อง คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
สำหรบั นกั เรียนชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ทมี่ คี ณุ ภาพระดับดี และมีประสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80 และ
เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การจำแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 3
ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรยี นโดยใชแ้ บบฝึกทักษะการจำแนกภาษาต่างประเทศใน ภาษาไทย กลุ่มตัวอย่าง
คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุ
เคราะห์” จำนวน 47 คน ได้มาจากการสุ่มอย่างง่าย โดยใช้แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง “การจำแนก
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย” จำนวน 5 แผน แบบฝึกทักษะ เรื่อง “คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย"
และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จำนวน 10 ข้อ ซึ่งมีค่าอำนาจ จำแนกรายข้อ (p) ตั้งแต่ 0.19 -
0.52 และค่าความเช่อื ม่นั (r) 0.23
ผลการวิจัยพบว่าคะแนนเฉลี่ยของแบบทดสอบก่อนเรียนด้วยแบบทดสอบการจําแนก
ค่าภาษาต่างประเทศในภาษาไทยเท่ากับ 16.16 คะแนนของแบบทดสอบหลังเรียนด้วยแบบทดสอบการ
จําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทยเท่ากับ 33.53 ค่า t วิกฤตจากการคํานวณ เท่ากับ 8 วิกฤตที่ได้จากการ
เปิดตารางแสดงว่าหลังใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทยมีนัยสําคัญทางสถิติระดับ
.01 เป็นไปตามสมติฐานท่ีตั้งไว้ คือ นักเรียนใชแ้ บบทดสอบการจาํ แนก ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยที่ผู้วิจัย
นำมาทดสอบกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านบึง
“อุตสาหกรรมนุเคราะห์” มีผลสมั ฤทธ์ิการจําแนกภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยสงู ขึน้

นายทศพล ลาภจรัสแสงโรจน์

ประกาศคุณูปการ
การศึกษางานวิจัยในครั้งนี้ สําเร็จได้ด้วยความกรุณาจากคุณครูธวัลรัตน์ ประจง ท่ีได้ให้ความ
ช่วยเหลือ ให้ความรู้ ความคิดให้การแนะนํา ปรึกษาตลอดจนการตรวจขอแก้ไขบกพร่องต่าง ๆ เป็นอย่างดี
ผู้วิจยั ขอขอบคุณเปน็ อยา่ งสงู ไว้ ณ ที่นี้
ขอขอบคุณท่านผู้อํานวยการโรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” คณะครูในกลุ่ม สาระการ
เรียนรู้ภาษาไทยและผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่กรุณาให้ความอนุเคราะห์ให้คําแนะนําให้ความรู้ ความคิด ที่มี
ประโยชนแ์ ละอํานวยความสะดวกในการศึกษาวิจัยในคร้ังน้ีเป็นอย่างดแี ละขอขอบใจนักเรยี น ชั้นมัธยมศึกษา
ปที ี่ 3/7 ของโรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนเุ คราะห”์ ทุกคนให้ความร่วมมืออย่างดีในการวิจยั และเก็บข้อมูล
ทีใ่ ช้ในการศกึ ษาวจิ ัยคร้งั น้ี จนกระทงั่ การศึกษาวจิ ยั ครั้งนีเ้ สรจ็ สมบรู ณ์

นายทศพล ลาภจรัสแสงโรจน์

สารบญั ค
บทที่ 1 บทนาํ
1
ความเปน็ มาและความสําคัญของปญั หา 1
วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย 2
สมมติฐานของการวจิ ยั 2
ขอบเขตการวิจัย 2
ตัวแปรที่ศกึ ษา 3
ประโยชนท์ ่ไี ด้รบั จากการวิจยั 3
นิยามศัพทเ์ ฉพาะ 3
กรอบแนวคดิ ในการวิจัย 4
บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ทเี่ ก่ียวขอ้ ง 5
เอกสารทเ่ี ก่ยี วข้องกบั การจําแนกภาษา 5
เอกสารทเี่ ก่ยี วข้องกบั ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย 10
บทท่ี 3 วธิ ีดําเนินการวจิ ยั 15
ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 15
เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวิจยั 15
การเก็บรวบรวมข้อมลู 18
การวิเคราะห์ขอ้ มลู 19
สถิตทิ ่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล 19
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมลู 22
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล 22
บทท่ี 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ 24
วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย 24
ประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 24
เครือ่ งมือในการรวบรวมขอ้ มลู 24
สรุปผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู 25
อภิปรายผลการวิจยั 25
ข้อเสนอแนะ 26
ภาคผนวก

1

บทท่ี 1

บทนํา

ความเป็นมาและความสําคัญของปญั หา

ภาษาไทยเป็นภาษาประจําชาติไทยมีที่ความเป็นเอกลักษณ์ซึ่งบ่งบอกถึงความเป็นไทย นอกจากน้ี
ภาษายังเป็นเครือ่ งมือส่ือสารของคนในชาตทําให้เกิดความเข้าใจและสัมพันธ์อันดีแก่กนั สามารถดํารงชีวติ อยู่
รว่ มกนั ในสังคมไดอ้ ยา่ งมคี วามสขุ ภาษาเป็นเครอื่ งแสวงหาความร้ทู ่ีชว่ ยพัฒนาและยกระดับจติ ใจของมนุษย์ให้
สงู ขึ้น ใชต้ ิดตอ่ ในด้านการค้า การแลกเปล่ียนวัฒนธรรมของชนชาติต่าง ๆ ซึง่ เป็นพ้ืนฐานในการดํารงชีวิตของ
มนุษย์ที่จะต้องมีการสื่อสารระหว่างกัน การหยิบยืมหรือน้ําภาษาของต่างชาติมาใช้ในภาษาของตนนั้นเกิดขน้ึ
ได้จากการตดิ ต่อกนั ระหวา่ งประเทศต่างๆ ท่ีเข้ามามีบทบาทต่อกัน อาจมาจากการส่ือสารด้านการค้าหรือการ
รับเอาวัฒนธรรมของชนชาติอื่นมา ฉะนั้นเราจึงควรที่จะศึกษาภาษาเหล่านั้นด้วยเพื่อให้เกิดความเข้าใจและ
น้าํ มาใชไ้ ดอ้ ย่างถกู ต้อง

การจัดการเรียนการสอนมีจุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนาให้นักเรียนเกิดทักษะการเรียนรู้ทั้ง 4 ด้าน คือ
การอ่าน การฟัง การพูด การเขียน โดยเฉพาะการอ่าน เป็นทักษะที่มีความสําคัญเพื่อใช้ในการสื่อสารและ
เรียนรู้ในระดับที่สูงขึ้นต่อไป ศรีรัตน์ เพิ่งกลิ่นจันทร์ (2542, หน้า 4) กล่าวว่า การอ่านมีความสําคัญมาก ใน
การเรียนของเด็ก เพราะการอ่านเป็นเครื่องมือพน้ื ฐานในการสร้างความคิดความเข้าใจเรื่องราวต่างๆ นักเรียน
ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงก็จะมีความสามารถทางการอ่านภาษาไทยได้ดีกว่านักเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทาง
การศึกษาคำ

ภาษาถือว่าเป็นวัฒนธรรมอย่างหนึ่งและยังที่บ่งบอกว่าสังคมนั้นมีความเจริญแล้วทางวัฒนธรรม
นอกจากนี้ภาษายังเป็นเครื่องถ่ายทอดความคิด ความรู้ อารมณ์ และประสบการณ์ ฯลฯ ไปยังสมาชิกอื่นใน
สังคม ถือได้ว่าภาษาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมสังคม ดังนั้นภาษาจึงมีหลากหลายตามสภาพสังคมที่มีความ
หลากหลายเช่นกัน ภาษายังสามารถเปลี่ยนแปลงไปตามสภาวะทางสังคมทั้งกล่าวของ ประคอง นิมมานเห
มินท์ และคณะ (2552, หน้า 42) ที่กล่าวถึงลักษณะของภาษาว่า “ภาษาเป็นเครื่องมือสื่อสารของคนในสังคม
คนในสังคมใช้ภาษาเพื่อสื่อสาร การศึกษาภาษา การเรียนการสอนภาษา ตลอดจนการตัดสินความถูกผิดของ
ภาษา จงึ ต้องพิจารณาปริบททางสงั คมดว้ ย”

สรุ ีรัตน์ บํารงุ สขุ (2557, หน้า 15) กลา่ ววา่ การรับนา้ํ ตา่ งประเทศเข้ามาใชใ้ นภาษาเป็น ปรากฏการณ์
ปกติของภาษาทุกภาษาเมื่อมีการติดต่อกับคนต่างประเทศ ซึ่งในปัจจุบันซึ่งโลกแคบลง มีการ ติดต่อคบหาทํา
การค้าขายแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดกนั มากขึ้น ภาษาซึ่งเป็นสิ่งสําคัญในการสื่อสารและการ ทําความเข้าใจ
กันก็มกี ารแลกเปลยี่ นหยบิ ยืมกันมากข้ึน ภาษาไทยมีคำต่างประเทศเขา้ มาเป็นสว่ นหนึ่งต้ังแต่ สมัยเริ่มการบัน

2

ที่ประวัติศาสตร์ คือ สมัยแรกของกรุงสุโขทัยแล้ว ดังปรากฏว่ามีภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต ภาษาเขมร ภาษา
เปอร์เซียและภาษาถิ่นเป็นหลักฐานอยู่ในศิลาจารึกหลักที่ 1 จารึกพ่อขุนรามคําแหง ในสมัย ต่อมาก็ปรากฏ
ภาษาชวา ภาษามลายู ภาษาจนี ในวรรณคดไี ทยและภาษาพูด ปรากฏภาษาญ่ปี ่นุ ภาษาสเปน ภาษาฝร่งั เศสใน
ชือ่ อาหารและภาษาองั กฤษในศัพท์ทางวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยี การธนาคาร การเมืองและอน่ื ๆ

เมื่อมีการนําภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทยจึงทําให้มีการบรรจุเนื้อหาการเรียนเกี่ยวกับ
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทยขนึ้ ในรายวชิ าวชิ าหลกั ภาษาไทยช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3 ซึ่งจากการสงั เกตและการ

ทดสอบ นักเรยี นยงั ขาดทกั ษะในการจาํ แนกคำไทยแท้และภาษาตา่ งประเทศ ทาํ ให้ผู้วิจัยตอ้ งการท่ีจะ
ศกึ ษาทกั ษะการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทยโดยการใชแ้ บบฝึกทักษะ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 โรงเรียน
บ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” เพ่ือเป็นการพัฒนาทักษะการจําแนกคำไทยแท้และภาษาต่างประเทศของ
นกั เรียน

วัตถปุ ระสงคข์ องการวิจยั

1. เพอ่ื พัฒนาแบบฝึกทกั ษะเรื่อง คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย สาํ หรบั นกั เรยี นช้นั มัธยมศึกษาปี
ท่ี 3 ท่ีมคี ณุ ภาพในระดบั ดี และมปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑม์ าตรฐาน 80/80

2. เพือ่ เปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์การจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนกั เรียนชั้น มธั ยมศึกษา
ปที ี่ 3/7 ระหวา่ งก่อนเรียนและหลงั เรียน โดยใชแ้ บบฝกึ ทักษะคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

สมมติฐานของการวจิ ยั

1. แบบฝึกทักษะที่สรา้ งขึ้นจะมีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80

2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 ที่ได้ใช้แบบฝึกทักษะ เร่ือง คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย มี
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นหลงั ใช้แบบฝึกทกั ษะสงู กว่าก่อนการใช้แบบฝึกทักษะ

ขอบเขตการวิจยั

ประชากรและกลมุ่ ตวั อยา่ งทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั
ประชากร

ประชากรทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัยคร้งั นี้ เปน็ นักเรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 ภาคเรียนท่ี 1 ปกี ารศกึ ษา
2562 โรงเรยี นบ้านบงึ “อตุ สาหกรรมนุเคราะห์” จาํ นวน 600 คน

3

กลมุ่ ตัวอย่าง
นักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3/7 โรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” ซึ่งได้มาจากการสุ่มอย่าง
งา่ ย

ตัวแปรทศ่ี ึกษา

ตัวแปรต้น คือ การจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โดยใช้แบบฝึกทักษะการจําแนก
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สาํ หรบั นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ 3/7

ตัวแปรตาม คอื ผลสมั ฤทธิ์ในการจาํ แนกภาษาตา่ งประเทศโนภาษาไทยของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปี
ท่ี 3/7 โรงเรยี นบ้านบึง “อตุ สาหกรรมนเุ คราะห์”

ประโยชน์ท่ีได้รับจากการวิจัย

1. แบบฝกึ ทักษะ เรอ่ื ง เร่ือง คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย สําหรับนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปี ที่ 3
มีคณุ ภาพ และประสทิ ธภิ าพ สามารถนาํ ไปใช้พัฒนาทกั ษะการจําแนกภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

2. นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 3/7 มที กั ษะในการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทยดีข้นึ

3. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น หลังจากที่เรียนโดยการใช้แบบฝกึ ทักษะ เรื่อง เรื่อง คำภาษาต่างประเทศ
ในภาษาไทย สาํ หรบั นกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 สูงกว่าก่อนเรยี น

นยิ ามศัพท์เฉพาะ

ประชากร หมายถึง นักเรียนที่กําลังศึกษาอยู่ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านบึง
“อุตสาหกรรมนุเคราะห์” จาํ นวน 600 คน

กลุ่มตัวอย่าง หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 โรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์”
ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2562 ไดม้ าจากการสมุ่ อย่างง่าย จาํ นวน 47 คน

คําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย หมายถึง คําที่มาจากภาษาอื่นแล้วมีการนํามาใช้ในภาษาไทยใน
หลาย วธิ ี เชน่ บาร์บีควิ ปารต์ ้ี คอมพวิ เตอร์ ฯลฯ

แบบฝึกทักษะ หมายถึง แบบฝึกทักษะที่ผู้วิจัยใช้สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 เพื่อให้
ผู้เรียน ได้ฝกึ ปฏิบตั ิการจาํ แนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

4

แบบทดสอบ หมายถึง ชุดคำถามทใี่ ช้วดั ความรู้สําหรับการวจิ ยั กอ่ นเรียนและหลงั เรยี น เร่อื งสาเหตุท่ี
คำภาษาตา่ งประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย แบบปรนยั 4 ตวั เลือก จํานวน 10 ข้อ
กรอบแนวคิดในการวิจยั

ในการวจิ ัยนผี้ ู้วจิ ัยไดศ้ ึกษาตามกรอบแนวคิดดงั น้ี

ตัวแปรต้น ตัวแปรตาม

แบบฝกึ ทักษะการจาํ แนก ผลสมั ฤทธใ์ิ นการจาํ แนกคำ
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของ
นักเรียนสงู ข้ึน

ภาพท่ี 1 กรอบแนวคดิ ในการวิจัย

5

บทท่ี 2
เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กยี่ วข้อง

การศึกษาเรอื่ ง การพฒั นาแบบฝึกทกั ษะการจาํ แนกภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทยสําหรับนกั เรียนชั้น
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 ผวู้ ิจัยได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยทีเ่ กย่ี วข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการวิจัยดังนี้

1. เอกสารเกย่ี วข้องกบั การจําแนกภาษา
2. เอกสารเก่ียวข้องกับคําภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย
เอกสารเก่ียวขอ้ งกับการจําแนกภาษา
การแบ่งประเภทของภาษาและตระกูลของภาษา
การแบ่งประเภทของภาษา พระยาอนุมานราชธน (2520, หน้า 35) กล่าวถึงการแบ่งภาษาไว้ใน
หนังสือนิรุกตศิ าสตร์ ว่ามอี ยู่ 3 วิธี คือ
1. แบ่งตามเชื้อชาติของผู้พูดซึ่งเป็นเจ้าของภาษา วิธีนี้เอาแน่นอนไม่ได้ เพราะคนชาติหนึ่ง อาจใช้
ภาษาของอกี ชาตหิ นง่ึ ได้ เช่น ชาวนิโกรพดู ภาษาอเมริกนั มไิ ด้หมายความวา่ ชาวนโิ กรเปน็ เช้อื ชาติ เกีย่ วกบั ชาว
อเมริกัน เราจึงไมใ่ ช้การแบ่งภาษาตามวธิ ีนี้
2. แบ่งตามรปู ลักษณะของภาษา ถ้าภาษาใต้มีการประกอบและการนําเข้าประกอบ เป็นประโยคด้วย
วธิ เี หมือนกันหรอื คล้ายคลงึ กัน ก็อาจรวมเขา้ เป็นประเภทเดยี วกันได้
3. แบ่งเป็นตระกูลของภาษา เป็นการแบ่งโดยอาศัยหลักในการแบ่งอย่างวิธีที่ 2 ถ้าภาษา โดมี
รูปลกั ษณะเหมือนกนั หรือคล้ายคลึงกัน คือ มคี าํ พูด ซง่ึ เปน็ คำเต็มในภาษาสว่ นใหญ่พร้องกันประกอบ เข้าเป็น
ประโยค ในทํานองเดยี วกนั และยิ่งมีความเป็นไปร่วมกนั ในทางประวัติศาสตร์ด้วย ก็จดั วา่ ภาษานั้นรว่ ม ตระกูล
ภาษาเดียวกนั นกั วชิ าการทางดา้ นภาษา นยิ มใชว้ ธิ ี 2 ประการหลังนีใ้ นการแบง่ ภาษา
การแบ่งภาษาตามรปู ลกั ษณะของภาษา
พระยาอนมุ านราชธน และนกั วิชาการทางไวยากรณไ์ ทยหลายท่าน แบ่งภาษาโดยรปู ไว้ 4 ชนิด

1. รูปภาษามีวิภัตติปัจจัย คือ ภาษาท่ีมีตั้งเดิมเป็นธาตุ (คำในบาลีสันสกฤตมีรากศัพท์ ซ่ึง
เรยี กวา่ “ธาตุ”) เมือ่ นําธาตมุ าประกอบกับปัจจยั จะได้ “ศพั ท”์ ภาษาที่มลี กั ษณะเช่นน้ี ได้แก่ ภาษา
กนั สกฤต ภาษาละตนิ ภาษาองั กฤษ ภาษากรีก เปน็ ตน้

ธาตุ (root) คอื รากศพั ท์ที่มีความหมายในตัว แตย่ ังนําไปใช้ไมไ่ ด้ ต้องนําไปปรงุ แต่ง เสียก่อน
ธาตุแต่ละตัวอาจปรุงเป็นศัพท์ได้หลายศัพท์โดยอาศัยปัจจัยต่างกัน และปัจจัยแต่ละตัวมีวิธีตกแต่ง
ธาตุเป็นเฉพาะอย่างไป สรุปได้ว่า ธาตุต่างๆ ยังนําไปใช้ไม่ได้ ต้องนําไปแตง่ เป็นศัพท์ก่อน วิธีการแต่ง
คือ นาํ้ “ธาตุ" ไปลง “ปจั จยั ” จะไดเ้ ป็นศัพท์ อาจเป็นกริยาศพั ท์หรอื นามศพั ท์

เมื่อได้ “ศัพท์” แล้ว นําศัพท์มาประกอบวิภัตติให้เป็นบทแล้วนําบทไปเรียงเข้าประโยคใน
ตําแหน่งใดก็ได้เพราะมีวิภัตติกํากับบทแต่ละบท ให้รู้ว่าทําหน้าที่อะไรในประโยคอย่างแน่ชัด บาง

6

ประโยคแม้ ไม่มีตัวประธานปรากฏอยู่ ก็ยังสามารถรู้ได้ว่าใครเป็นประธาน เพราะว่าวิภัตติของกริยา

จะช่วยบอกให้ เชน่ วันทติ (เขาผชู้ ายท้งั หลายใหว้)

“ธาตุ” เป็นคําตั้งเดิมของวิภัตตปัจจัย โดยมากเป็นพยางค์เดียว สําหรับเอาปัจจัยเข้าไป ประกอบให้

เปน็ ศัพทข์ นึ้ (ธาตุ 4 ปัจจยั ศัพท)์ :

ตัวอยา่ ง

ธาตุ ปัจจยั กฤตได้ คําแปล

ชน (เกิด) + กวี ช ผู้เกิด

คร (ทํา) + กวี ก ผู้ทำ

ปาล (เลยี้ ง) + กวี ป ผปู้ กครอง

ข้อสังเกต : 1. คริ / ปจั จยั เม่อื ลงทา้ ยธาตุตวั โต ต้องลบ “คร"ิ ทิง้ ทัง้ หมด และตอ้ งลบตัวท้ายของธาตุ ออกด้วย

ศพั ทท์ ไี่ ดแ้ ปลวา่ “ผู้”

2. กฤต / วิธีกฤต คือ การปรับปรุงหรือตกแต่งธาตุที่เกิดจากการลงปัจจัยโดยวิธีต่างกัน ให้มี

ความหมายต่างออกไป

2. รปู ภาษาคำติดต่อ คอื ภาษาทีเ่ อาคำที่เรยี กในภาษาอังกฤษว่า affox คอื เตม็ อันได้แก่ ฟ้าเต็มหน้า

หรอื อปุ สรรค (prefe) คำเต็มกลาง (infix) และคำเต็มหลังปจั จัย (Suffix) เขา้ ไปประกอบกับคำเตม็ ให้เกิดเป็น

ค่าต่าง ๆ ขึ้นมาในภาษา เมื่อประกอบกันแล้วคำเดิมและคําเดิมยังคงรูปอยู่ ภาษาที่มีลักษณะ เช่นนี้ ได้แก่

ภาษาชวา มลายู ภาษาทมฬิ ภาษาตุรกี ภาษาเขมร ภาษาเกาหลีเปน็ ตน้

ตวั อย่าง ภาษามลายู (เต็มหน้า) เชน่ (สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์, 2536, หน้า 31)

Gail = ขุด

Pen+gail = pengail เครอ่ื งขดุ (เสียม)

Churi = ขโมย สกั

Pen+churi = penchuri ผ้ขู โมย โจร

ภาษามลายู (เต็มหลงั ) เชน่

Makan = กิน

Makan + an = กิน

ภาษาเขมร เชน่

เรยี น = เรียน

เตม็ อปุ สรรศ บง = ทําการเรียน คือการสอน

เจรียง = ร้องเพลง

7

เต็ม - ํ (นฤศหิต) ตรงกลาง = จํเรียง หรือจมเรียง (จ็อมเรียง) เพลงท่ีร้องหรือนักร้อง (ไทยใช้ จําเรียง

เป็นคาํ กริยา)

3. รูปภาษาคําควบมากพยางค์ มีลักษณะที่คล้ายติดต่อ แต่ใช้เอาหลายคำมาติดตอ่ ยาวยืด

เท่ากันเป็นคําทั้งประโยค เช่น ภาษาชาวเม็กซิโก มีคําว่า achichitachogan แปลว่า ที่ซึ่งคนร้องให้ เพราะ

นำ้ ตาแตง ประกอบดว้ ยคาํ วา่ (อนุมานราชธน (พระยา), 2517, หน้า 44)

Alt แปลวา่ น้ำ

Chichiltic แปลว่า แดง

Tlacatl แปลวา่ คน

Chorea แปลวา่ ร้องไห้

คำเหล่านี้เม่ือเอามารวมกนั บางเสียงหดหายไปบ้าง รูปภาษานี้ใชก้ ันในบรรดาชาว อินเดียนแดง ชาว

เอสกโิ ม ภาษาอะลองควิน (Alonquin) และชาวเกาะทะเลใตบ้ างแหง่

ภาษาอะอองควิน (Alonquin) เปน็ ภาษ ชาวอนิ เดยี พวกน่ึง มีคำเชน่ wutappesittukqunnooweh

tunkquoh Wussneuvuninnauhaan invierune wut ap sit tuk que Sun neo waht แ nk quch ร ว ม

เป็นคำเดียว แปลวา่ เขาคกุ เขา่ แดงเคารพเฝา้ (He'Falling on his knees worsh knees worshipped him)

4. รปู ภาษาคําโตต คอื เอาคำตง้ั (Base word) หรอื มลู มาเรยี งลำดบั กันเข้าเป็น ประโยค คำ

ตั้งเหล่านี้ เมื่อเรียงเข้าประโยคแล้วก็ยังคงรูปเต็ม ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไปเหมือนภาษามีวิภัตติ ปัจจัย

หรือไม่มีการลงอุปสรรค (เต็มหน้า) เหมือนภาษาติตต่อบางภาษา คําที่อยู่ในประโยคทุกคําต่างก็มี อิสระใน

ตัวเองไม่ผูกพันกับคำอื่น เช่น “ตํารวจยังโจร” มีความหมายอย่างหนึ่ง ถ้าเปลี่ยนตับในประโยคเป็น “โจร

ยิ่งรวจ” ความหมายก็จะเป็นอีกอย่างหนึ่ง หรือในประโยค ฉันรักเธอ / เธอรักฉัน ความหมายก็จะไม่

เหมือนกนั และถ้าจะกล่าวว่า “รักเธอฉัน" ทส่ี อ่ื ความหมายไมเ่ ข้าใจ

การแบ่งประเภทของภาษา นอกจากจะแบ่งตามรูปลักษณะภาษาหรือแบ่งโดยรูปแล้วยังมีวิธี

อีกวิธีหนึ่ง คือ การแบ่งภาษาโดยอาศัยความสัมพันธ์ของภาษาเป็นหลัก การจําแนกภาษาด้วยวิธีนี้ ทําให้เกิด

เป็นภาษาต่างๆ ขึ้นมา โดยตระกูลภาษาน้ีไม่เกี่ยวข้องกับเชื้อชาติ เช่น คนไทยมีภาษาไทยแต่ไปเกิดใน

ภาษาองั กฤษ ยอมพูดภาษาอังกฤษ เพราะส่ิงแวดลอ้ มคือสังคม เปน็ ตัวกําหนดภาษา ไม่ใช่พนั ธุกรรม

หลักเกณฑ์ในการจําแนกหรือจัดว่าภาษาอยู่ในตระกูลเดียวกันนั้นใช้วิธีเทียบเสียงภาษา ที่มี

ความสัมพันธ์กันฉนั พี่น้อง หรือสืบทอดมาจากภาษาโบราณสิ่งศมเดียวกัน มีประวัติและวิวัฒนาการร่วมกันมา

จะมีเสียงเปรียบเทยี บซึ่งเป็นเป็นไปอย่างมรี ะบบ การเทียบเสียงนั้นจะใช้คำเต็ม ในภาษาที่ไม่ใช่คํายืม หรือ ที่

เกิดขึ้นใหม่ ถ้าเป็นภาษาที่ไม่มีความสัมพันธ์กันแล้วเราจะหาเสียงเทียบไม่ได้ เช่น เสียง [b] ในภาษาไทย จะ

บอกไมไ่ ดว้ ่า ตรงกับเสยี งอะไรในภาษาอังกฤษ แตจ่ ะบอกไดว้ ่า [b] ในภาษาไทย ตรงกับเสยี ง [m] ในภาษาได้

8

ศท่ี (ไทยตํ่าท่ี ไตศที่ หรือ ไตศที่ เปน็ คนไทยในอสั สัม (ไทยใหญ่) บางหมู่ หมบู่ ้านแขวงเมือง Nefa (เนฟา) ที่ยัง
พดู ภาษาไทยอยู่ (สุธีวงศ์ พงศไ์ พบลู ย)์

การจําแนกภาษาออกเป็นตระกูล โดยอาศัยความสัมพันธ์ของภาษานี้ ยังมีความสมบูรณ์
เพราะภาษาในโลกมีจํานวนหลายพันภาษา มีภาษาอีกจํานวนไม่น้อยที่ยังไม่ได้มีการศึกษาค้นคว้า ตระกูล
ภาษาของนักภาษาก็ยังมีความแตกต่างกัน และอาจจะมีการเปลี่ยนแปลงไปเรื่อย ๆ ถ้างานศึกษาค้นคว้า
ทางดา้ นภาษายังมอี ยู่

คำไทยแท้และลกั ษณะของคำไทยแท้
คำไทยท่ใี ช้อยใู่ นภาษาไทยทุกวนั นี้ มีท้ังไทยแท้ และคาํ ทม่ี าจากภาษาอ่ืน เราจึงมีใช้ในภาษา

อย่างหลากหลาย เกี่ยวกับคำในภาษาไทย จะทําให้เราบอกได้วา่ โตเป็นคาํ ไทยแท้ และคำมาจากภาษา อื่น จึง
ควรเรยี นรู้เพอ่ื ที่จะเข้าใจถงึ ความแตกตา่ งและสามารถนําไปใชไ้ ดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งเหมาะสมเปน็ เปน็ การสืบ สานให้
ภาษาไทยคงอยู่สบื ไป

คําไทยแท้ หมายถึง ที่คนไทยหลาย ๆ ถิ่นใช้รวมกัน โดยอาจจะเปลี่ยนเสียงพยัญชนะ เสียง
สระ หรือเสยี งวรรณยกุ ต์ แต่มหี ลักฐานท่ีจะชไี้ ดว้ า่ เป็นคาํ ทมี่ คี วามหมายเดยี วกัน

ในพจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ซึ่งทางราชการกำหนดให้ใช้เป็นบรรทัด
ฐานก็มี คำไทยซ่งึ มาจากภาษาตา่ งประเทศหลายภาษา เช่น เขมร จีน ขวา ญวน ตะเลง เบงาสี บาลี สันสกฤต
อังกฤษ ฝรั่งเศส และอื่นดี ไตมาจากภาษาโต จะบอกไว้ในวงเล็บข้างสุดท้ายของคำอธิบายแต่ละคำ หากไม่มี
บอกไว้ แสดงว่าเป็นไทยแท้แต่เตม็

คําไทยแท้ส่วนใหญ่มีพยางค์เดียว มีใช้อยู่ครบทั้ง 7 ชนิด ตามที่จําแนกทราบแน่ชัดว่าเป็นมา จาก
ภาษาใด ซง่ึ ลักษณะของคําไทยแท้ คอื นาม สรรพนาม กรยา วเิ ศษณ์ สนั ธาน อุทาน มีดังตัวอยา่ งต่อไปน้ี

นาม เชน่ แมว มา ไก่ จาน บา้ น ลม ไฟ ฯลฯ
สรรพนาม เชน่ ผม นั้น คณุ เธอ แก่ เขา มนั ฯลฯ
กรยา เชน่ นั่ง นอน กนิ ดมื่ เขียน พูด เดนิ ฯลฯ
วิเศษณ์ เช่น อ่อน น่มุ สูง ตำ่ เขียว เลก็ เหม็น ฯลฯ
บพุ บท เชน่ ใน บน แหง่ ของ ขา้ ง รมิ กบั ฯลฯ
สนั ธาน เชน่ แตก่ ็ ถา้ แม้ เพราะจึง ฝา่ ยวา่ ฯลฯ
อุทาน เปน็ เอ๊ะ ออกวัย โอย๊ ไช้ แหม ฯลฯ
คำไทยแท้บางคาํ มีหลายพยางค์ เช่น มะม่วง มะตมู ตะขบ สะใภ้ ฉะนัน้ ฯลฯ คำหลายพยางค์ เหล่านี้
อาจเกดิ ข้ึนได้ เพราะสาเหตตุ อ่ ไปนี้
1. การกลมกลนื เสยี ง ได้แก่ การผสานเสยี งของทา้ ยหนา้ กบั หลงั เช่น

อยา่ งไร เป็น ยังไง

9

อย่างนี้ เป็น ยงั ง้ี
อย่างน้ัน เป็น ยังงัน้
ทําไร เป็น ทําไม
ท่ีเดียว เปน็ เทย่ี ว
หรือไม่ เป็น ไหม
2. การกร่อนเสียง คือ สองพยางค์ ที่เต็มเกิดจากพยางค์เดียว 2 เรียงกันภายหลัง พูดเร็ว ๆ
เข้า เสียงคำแรกจึงกร่อนลง หรือเกิดจากการกร่อนเสียงของหน้า โดยพยางค์ที่กร่อนเสียงแล้ว กลายเป็น
พยางคห์ นาของหลัง เชน่
ตาปู เปน็ ตะปู
ตาวนั เปน็ ตะวนั
ตัวขาบ เป็น ตะขาบ
ตน้ เคยี น เปน็ ตะเคียน
หมากปราง เปน็ มะปราง
หมากมว่ ง เปน็ มะมว่ ง
เม่ือพลู เป็น ชะพลู
อนั ไร เป็น อะไร
อนั หนงึ่ เป็น อนึง่
3. การแทรกเสยี ง สันนษิ ฐานว่า เริม่ มีพยางคเ์ ดียวเรยี งกัน 2 ค่ํา ตอ่ มามีการแทรก เสียง อะ
เข้าตรงกลาง กลมกลืนกับเสียงตัวสะกดของคำหน้า ที่แทรกเข้ามาใหม่จึงกลายเป็นพยางค์หน้า ของคำหลัง
เชน่ ลูกกระเดอื ก มาจาก ลกู เดอื ก
ลูกกระดงึ มาจาก ลูกดง่ิ
ลกู กระดุม มาจาก ลูกดุม
ลกู กระพรวน มาจาก พรวน
ลูกกระท้อน มาจาก ลูกท้อน
นกกระจบิ มาจาก นกจิก
ผักกระถนิ่ มาจาก ผกั ถิน่
ผกั กระเฉด มาจาก ผักเฉด
คำเปลี่ยนแปลงโหม่ บางกลายเป็นคําที่ติดอยู่ในภาษา คําเต็มอาจหายไปหรือเปลี่ยน
ความหมายใหม่ เช่นคําว่า “หมาก” ซึ่งเต็มหมายถึง ต้นไม้ที่มีผลหรือผลไม้ ในคำว่าหมากม่วง หมากขาม
ปจั จุบัน “หมาก” หมายถึง ปาล์มชนดิ หน่ึงซ่ึงผลมรี สฝาด

10

4. การเดิมพยางค์หน้าคำมูล เหล่านี้มักมีความหมายใกล้เคียงกัน ทั้งที่เต็มแล้วและ คําที่ยัง
ไม่ไดเ้ ต็ม เช่น

ชดิ เปน็ ประชิด
ทํา เป็น กระทํา
ถด เป็น กระถด
เกย่ี ว เปน็ ประเดยี๋ ว
โดด เป็น กะโดด กระโดด
โจน เปน็ กะโจน กระโจน
ดกุ ดิก เป็น กะดุกกะดกิ กระดุกกระดกิ
คำไทยแท้ไม่ใช่ตัวการันต์ คําที่ใช้ตัวการันต์ส่วนมากมาจากภาษาอื่น โดยเฉพาะภาษาบาลี
สันสกฤต และภาษาองั กฤษ
คาํ ไทยแท้ เช่น จนั (ผลไมช้ นิดหนงึ่ ) วง (รูปท่เี ส้นลอ้ มรอบไม่มีเหลีย่ ม) รม (อบ ด้วยควนั หรือ
ความรอ้ น) ปอน (ขอมช่อ) ไร (แมงชนิดหนงึ่ รอยผมท่ถี อน) ฯลฯ
คำมาจากภาษาบาลีสันสกฤต เช่น จันทร์ จันท์ (ตวงเดือน) วงก์ (โต้ง ลดเลี้ยว) วงศ์ (เชื้อ
สาย รมย์ (นา่ สนกุ บันเทงิ ใจ) ฯลฯ
คํามาจากภาอังกฤษ เช่น ปอนด์ (หน่วยเงินตราอังกฤษ) ไรย์ (ไม้จิ้มลุกชนิดหนึ่ง) สแศวร์
ไฮเวย์ แอรเ์ วย์ รนั เวย์ สไตล์ ฯลฯ

เอกสารเกย่ี วข้องกับคาํ ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ภาษาเปน็ ส่วนหนงึ่ ของวฒั นธรรม วัฒนธรรมกับภาษาเกดิ จากปัญญาของมนษุ ย์ลักษณะธรรมชาติของ

ภาษาจะต้องมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ ตรงกันข้ามถ้าภาษาใดไม่มีการเปลี่ยนแปลง ภาษานั้นย่อมเป็นภาษา
ที่ตายแล้ว เช่น ภาษาละติน และภาษาสันสกฤต ภาษาเหล่านี้ปัจจุบันปรากฏเป็นภาษาเขียน หรือคำยืมใน
ภาษาอื่น

ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีชีวิต ย่อมมีการหยิบยืมภาษาต่างประเทศมาใช้ปะปนกับภาของตนอยู่เสมอ
การยิ้ม ค้าจากภาษาอื่นมาใช้เป็นการช่วยให้มีถ้อยคําใช้มากขึ้น และเพื่อความสะดวกรวดเร็วในการ
ติดต่อสื่อสาร การยืมคำมาใช้ไม่มีขอบเขตจํากัดตายตัว อาจจะยืมเสียง ยืม หรือยืมไวยากรณ์ก็ได้ ขึ้นอยู่กับ
ความต้องการและ ความสะดวกของผู้ใช้

คำภาษาต่างประเทศที่ไทยยืมมาใช้ที่นบั วา่ มีอิทธิพลต่อภาษาไทยมาก ได้แก่ ภาษาบาลสี ันสกฤต เขมร
อังกฤษ และภาษอื่น ๆ อีก ได้แก่ ภาษาจีน ภาษาฝรั่งเศส ภาษาชวา ภาษามลายู ภาษาญี่ปุ่น ภาษา มอญ
ภาษาทมฬิ ภาษาเปอรเ์ ซีย ภาษาโปตุเกส ภาษาพม่า ฯลฯ

11

สาเหตทุ ี่ตอ้ งยืมภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทยนัน้ กเ็ พราะว่า คา่ ในภาไทยมีไมพ่ อเพียง และ เพ่ือ
ตอ้ งการให้ภาษาไทยมีความสมบูรณ์ยง่ิ ขึ้นนัน่ เอง (จริ วฒั น์ เพชรรัตน์ และ อัมพร ทองใบ, 2556, หน้า 87)

ลักษณะความสัมพันธร์ ะหวา่ งภาษา
ประยูร ทรงศิลป์ (2556, หน้า 60) กล่าวถึงลักษณะของความสัมพันธ์ของภาษาไว้สรุปได้ว่า

การ ทภี่ าษาหนึ่ง เข้าไปปะปนกบั อีกภาษาหนงึ่ ซึง่ เป็นธรรมชาของภาษา เพราะเมื่อคนได้ติดต่อ มคี ามสัมพันธ์
กัน นั้นย่อมมีผลทําให้ภาษาได้มีความสําพันธ์กันไปด้วย ซึ่งสามารถจําแนกความสําพันธ์ของภาษาออกเป็น 3
ประการ พอสรปุ ไดด้ งั น้ี

1. สภาพชั้นลึก (Substratum) สภาพนีเ้ กดิ จากการทีบ่ คุ คลกลุ่มหนึง่ เขา้ ไปปะปน
กัน บุคคลอีกกลุ่มหนึ่ง ซึ่งเป็นสังคมที่ต่างภาษากัน โดยชนกลุ่มแรกเป็นชนที่มีอิทธิพลเหนือกว่า ได้นําเอา
ภาษา ของตนเข้าไปเผยแพร่ ทําให้ชนกลุม่ หลงั ต้องใช้ภาษาของชนกลุม่ แรก แต่ลักษณะภาษาจะไม่เหมอื นกบั
ชนกล่มุ แรกซึง่ เปน็ เจ้าของภาษา เพราะได้เอาลักษณะภาษาดง้ั เดมิ ของตนเขา้ ไปปะปนอยู่ด้วย ซง่ึ เป็นลักษณะ
ตาม ธรรมชาติที่จะเอาความรคู้ วามคดิ ตงั้ เดิมของตนเองไปเทียบกบั ของใหม่ที่รบั เข้ามาในปัจจุบนั เมือ่ เราเรียน
ภาษาต่างประเทศ เรามักจะใช้ภาษาผิดบ่อย ๆ เพราะเอาลักษณะของภาษาไทยเข้าไปปะปน ซึ่งอาจจะเป็น
ทางด้านการออกเสียง สํานวนการพูด การเรียงคำ ฯลฯ ชาวไทยภูเขา แม้จะพูดภาษาไทยได้ แต่จะมีลักษณะ
ของภาษาเพิ่มเข้ามาปะปนไม่เหมือนภาษาไทยโดยทั่ว ๆ ไป หรือภาษาอังกฤษที่ใช้พูดกันในแควัน VWaies
(ในสหราชอาณาจักรอังกฤษ) และ Ireland (ประเทศไอร์แลนด์) แตกต่างจากภาอังกฤษในอังกฤษ เพราะมี
ลักษณะขึ้นลีก (Substratum) ของภาษา Celtic รวมอยู่ด้วย (celt - ชาวเชลต์ที่อาศัยอยู่ในหมู่เกาะอังกฤษ
ก่อนซารแองโกลแซกซอน ปัจจุบันอยู่กระจัดกระจายตามสกอตแลนด์ ไอร์แลนด์ และเวลล์) ความสัมพันธ์ใน
ลักษณะ Substratuกา น้ี ในสมัยโบราณทมี่ ีการลา่ อาณานิคมจะพบอย่เู ปน็ จํานวนมาก

2. สภาพชั้นผิว (Superstratum) เป็นลักษณะตรงกันข้ามกับในประการแรก
กล่าวคือ คนในสังคมหนึ่ง ได้บุกรุกเข้าไปปะปนกับคนในอีกสังคมหนึง่ ที่มีการใช้ภาษาแตกต่างกัน จนในกลุ่ม
แรกได้เข้า ครอบครองบนในกลุม่ หลัง แต่เพราะชนในกลุม่ แรกมีจํานวนน้อย หรือมีวัฒนธรรมและสภาพความ
เป็นอยู่ด้อย กว่า จึงใช้ภาษาของชนกลุ่มหลังด้วย เช่น คนไทยอาหม ในรัฐอัสสัม ประเทศอินเดีย ตามประวัติ
กล่าวว่า เดินทางไปจากถิ่นเต็ม (ซึ่งปัจจุบันเป็นประเทศพม่า) เข้าไปในดินแดนที่ปัจจุบันเป็นรัฐอัสสัม ของ
ประเทศ อินเดีย เมอ่ื อพยพเข้าไป ไดเ้ ขา้ ไปปราบพวกขนกลุ่มต่าง ๆ ในดนิ แดนแห่งนัน้ โดยได้รับชัยชนะ ได้ต้ัง
ราชวงศ์ มี กษัตริย์ทําการปกครองตนในแถบนัน้ เป็นเวลานาน แต่เนื่องจากได้เดินทางไปไกล และจํานวนผ้คู น
น้อยกว่า ชาวเมืองตั้งเดิมอยู่ภายใต้การปกครองไปใช้ ปัจจุบันคนไทยอาหมใช้ภาษาอัสสัม นับถือศาสนาฮินดู
ยังคงพบ ศัพท์ที่เป็นของคนไทยอาหม คือ ชื่อบุคคล ชื่อเมือง ชื่อตําบลบางแห่ง นามสกุลของคนฮาหมทั่ว ๆ
ไป และ ศัพทท์ ใี่ ช้ในการปกครองบา้ งเทา่ น้ัน

12

3. สภาพขั้นเตียง (Adstraturm) สภาพนี้ไม่ได้เกิดจากการที่มีผู้บุกรุกเหมือนกับ
สภาพที่ 1 และ 2 แต่เกิดจาการที่ภาษาสองภาษา มีลักษณะตั้งเดิมของภาษาแตกต่างกัน แต่มีสภาพทาง
ภมู ศิ าสตร์อยู่ ใกลเ้ คยี งกนั ไดม้ วี ิวฒั นาการบางอยา่ งของภาษาเหมอื นกนั โดยทตี่ า่ งฝา่ ยต่างยงั คงรกั ษาลักษณะ
สภาพเดิมของ ภาษาของตนไว้ เช่น ภาษาไทย และภาเขมรจากการศึกษาจากเขมรโบราณ ไม่ปรากฏว่ามี
ลักษณะนามใช้ แต่ จารึกในสมัยหลัง ปรากฏว่าลักษณะต่าง ๆ เหล่านี้เป็นลกั ษณะทีเ่ ขมรได้รับอิทธิพลไปจาก
ไทย

จะกล่าวถึง “คนไทยอาหม” เพื่อเพิ่มความเข้าใจทั้งนี้ สุธิวงศ์ พงศ์ไพบูลย์ (2536,
หน้า 5) กล่าวถึง คนไทยอัสสัม (ไทยใหญ่) ไว้ว่า อัสสัมเป็นแคว้น ๆ หนึ่ง อยู่สุดแดนตะวันออกของประเทศ
อินเดีย และต่อแดนตะวันตกของพม่าบางที่เรียกว่า อาหม ภูมิประเทศเต็มไปดว้ ยภูเขา และยากต่อการติดต่อ
ชนชาติอื่น ในอัสสัมนี้มีภาษาใช้หลายภาษา รวมทั้งภาษาไทยอยู่ด้วย คนใต้ไทยอพยพลงมาสู่แต่วันนี้หลาย
คราว และ ได้มีอํานาจในแควันนี้นาน เมื่อ ศ.ศ. 1826 อัสสัมได้เสียเอกราชให้แก่อังกฤษ ครั้นอังกฤษคืนเอก
ราชให้แก่ อนื่ เสยี อสั ส้มกเ็ ป็นแควนหน่งึ ของอนิ เดยี

มีหมู่บ้านคนไทยในอัสสัมบางหมู่ ยังพูดภาษาไทยอยู่ม 1) หมู่บ้าน Namphabia 2)
หมบู่ า้ น Tipam 3) หมู่บ้าน Margherita (ท้งั สามหม่บู า้ นนี้ อยแู่ ขวงเมือง Lakhimpur ไทยพวกน้เี รยี ก ตนเอง
วา่ ไทยฟ้าเก้ และ 4) หมูบ่ า้ นในแขวงเมือง Nefa (เนฟา) ซึ่งเรียกตนเองวา่ ไทยดี หรอื ตี หรือไทย หลวง
ภาษาที่ไทยกลุ่มนี้พูดส่วนใหญ่คล้ายคลึงกับภาษาไทยสยาม ผิดเพี้ยนกันบ้างไม่มากนัก เช่น เรียก มะม่วง
เปรี้ยว ว่า มะม่วงส้ม น้ำพริก เรียก น้ำผัก หญิงสาว เรียก ปะสาว ชายหนุ่ม เรียก ปะบ่าว ลิง เรียก ลิง
จบั เรียก กำ เปน็ ตน้

ประเภทของการยมื
Leonard Bloomteld (1993, หน้า 444) กล่าวถึง ประเภทของการยืมภาษาซึ่งกันและกัน

วา่ จําแนกออกได้ 3 ประเภท คือ
1. การยืมเนื่องจากวัฒนธรรม (Cultural Earring) คือ การยิ้มที่เกิดจากคน 2

กลุ่มท่มี ี วัฒนธรรม และภาต่างกนั ไดม้ ีการติดต่อกัน กลุม่ ท่มี ลี ักษณะทางวัฒนธรรมต้อยความเจริญกว่าจะรับ
เอา วฒั นธรรม และสภาพความเปน็ อยจู่ ากกลุ่มที่มีความเจริญกวา่ เช่น ไทย รบั เอาวฒั นธรรมทางด้านศาสนา
วรรณคดีจากอินเดีย รับเอาวัฒนธรรมด้านอาหารการกินจากจีน วัฒนธรรมด้านการแต่งกาย ความรู้ทาง
วิทยาการ และความเจริญก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีต่าง ๆ จากทางตะวันตก เม่ือรับเอาวัฒนธรรมเข้ามา
ยอมรับเอาภาษาเขา้ มาด้วย การยืมเนอ่ื งจากวัฒนธรรมนี้ ฝ่ายเจริญกวา่ เปน็ ฝา่ ยให้ ฝ่ายตอ้ ยกว่าเป็นฝ่ายรับไม่
เป็นวา่ ทั้งสองฝ่ายจะตอ้ งมีอาณาเขตอยู่ใกลช้ ิดตดิ กนั

2. การยืมเนือ่ งจากความใกล้ชิด (Intimate Barrying) คือ การที่กลุ่มคน 2 กลุ่ม
ท่ีใช้ภาษา ต่างกัน อยู่ร่วมในสังคมเดียวกัน หรือมีสภาพอาณาเขตที่ใกล้ชิดติดกัน มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกัน

13

มากใน ชีวิตประจําวัน ไดเ้ กิดการหยิบยืมภาษากันขึ้น โดยต่างฝ่ายต่างยืมซึ่งกนั และกนั หรือฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงยืม
จากอีก ฝ่ายหน่งึ กไ็ ด้ เช่น ไทยกบั เขมรมอี าณาเขตใกล้ชดิ กัน และอยู่ร่วมสังคมเดียวกนั มาเป็นเวลาช้านาน ต่าง
ฝ่าย ต่างขอยืมภาษาซึ่งกันและกันเข้าไปใช้ในภาษาของตนเองซึ่งเราจะพบว่ามีภาษาเขมรเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทยจํานวนไม่นอ้ ย และถูกนํามาใช้เปน็ คําศัพท์สามญั เชน่ เป็น เจรญิ เรียน ระปา่ ฯลฯ และใช้เปน็ ราชา
ศัพท์ เช่น โปรด ตรัส เสวย เสดจ็ บรรทม ฯลฯ ในขณะเดยี วกนั ในภาษาไทยไดเ้ ข้าไปปะปนในภาษา เขมร เชน่
หลวง หมด หนอ หนอง เฝ้า ฯลฯ และจํานวนนับ เป็น สามสิบ สี่สิบ ร้อย พัน หมื่น แสน ฯลฯ นอกจากน้ัน
ภาษาเขมรซง่ึ เป็นภาษาท่ีไมม่ ีวรรณยกุ ต์ ยงั รับเอาวรรณยุกตจ์ ัตวาเข้าไปใช้ในภาษาอกี ด้วย
นอกจากภาษาเขมรแล้ว ภาษาไทยยังมีคําภาษาจีนเข้ามาปะปนอยู่เป็นจํานวนมาก เช่น เก้าอี้ อั้งโล่ ปังที่ โอ
เลยี้ ง บะหม่ี เอ็ง หา้ ง หนุ้ เก่ียะ เกี้ยว ถงึ (ปู่) ซอี วิ้ ฯลฯ และคนจนี ในประเทศไทยกไ็ ด้รบั เอาคาํ ในภาษาไทยไป
ใช้มากมาย จนทําให้ภาษาจีนในไทยมีความแตกต่างจากภาษาจีนของคนจีนในประเทศ จีนเป็นอยา่ งมากไม่วา่
จะเปน็ จีนกลางหรอื จีนแต้จ๋วิ กต็ าม

3. การยืมจากคนต่างกลุ่ม (Dialect Borroving) คือการยืมภาษาเดียวกันแตเ่ ป็น
ภาตา่ งกล่มุ หรอื ต่างสภาพภมู ิศาสตร์ หรอื ต่างสภาพภมู ิศาสตร์ หรอื ตา่ งสภาพการศึกษากนั ก็ได้ การยืมชนิดนี้
แตกต่างจาก ท้ัง 2 ขอ้ ทไ่ี ด้กลา่ วมาแลว้ กล่าวคอื เปน็ การยืมภาษาเดียวกัน แตผ่ ู้ใชอ้ ยูใ่ นสภาพท่ีต่างกัน ด้วย
แงใดแง่หนึ่งที่ กล่าวมาแล้วข้างต้น ตัวอย่างเช่น ภาษาไทยกลางมีคําวา่ “เป็น” ใช้ แต่ในขณะเดียวกันไทยถ่นิ
ยงั คงใช้คาํ ว่า “ยา่ ง” อยู่ เช่น ถ่ินอสี านใชค้ ําวา่ “ญา่ ง” แตป่ จั จุบันไทยถ่ินอสี านจาํ นวนไม่น้อยใชค้ ําว่า “เป็น”
แสดงวา่ ได้ เกดิ การหยบิ ยืมจากภาษาไทยกลาง

กลุม่ ชนของไทยในสงั คมชนบทและสงั คมในเมอื งจะใชภ้ าษาท่ีแตกต่างกนั เช่น คําว่า
กัน หัว ๆ ถึง เอ็ง ขา เป็นภาษาที่ใช้ในสังคมชนบทตามปกติ แต่เมื่อคนในสังคมเหล่านี้ได้มีการติดต่อกันกลุ่ม
ชนที่ ใช้ภาแตกต่างจากตัวเองไป จะเกิดการเรยี นรู้และหยิบยืมคาํ ว่ารับประทาน ศรี ษะ ผม ข้าพเจ้า คุณ ท่าน
ฯลฯ เขา้ ไปใช้ในสังคมของตนเองด้วย

อทิ ธิพลของคํายืม
คำยืมมีส่วนที่จะทําให้ภาษาเกิดการเปลี่ยนแปลงได้มากมาย สุดแล้วแต่จาํ นวนท่ยี ืม

จะมี มากน้อยเท่าใด สิ่งแรกที่ยืมทําให้ภาษาเปลี่ยนแปลงไปก็คือ ทําให้จํานวนคำในภาษาเพิ่มมากยิ่งขึ้น ใน
กรณี ที่คําศัพท์นั้นเป็นคําศัพท์ที่ไม่เคยมีใช้เพื่อแทนสิ่งของ หรือความศตในสังคมนั้น ๆ มาก่อน แต่บางครั้ง
คำศัพท์ที่ยืม เข้ามาก็เป็นศัพท์ที่ใช้พูดถึงสิ่งของ หรือความคิดที่มีอยู่แล้ว ซึ่งเต็มก็มีศัพท์สําหรับเรียกสิ่งนั้น ๆ
จะทาํ ใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงตานอื่น ๆ อกี ด้วย สรปุ อิทธพิ ลของคำยืมที่มอี ทิ ธิพลตอ่ ภาษาของผูย้ ืม ดงั น้ี

1. อิทธพิ ลทม่ี ีชอ่ื เสียง
2. อทิ ธิพลท่มี ีตอ่ วงศัพท์
3. อทิ ธิพลทมี่ ตี ่อความหมาย

14

4. อิทธิพลทีม่ ตี อ่ การเรยี ง
อิทธิพลที่มีต่อเสียง การยืมคำไม่พบว่ามีการยิ้มเสียง แต่เสียงเป็นผลพลอยได้จาก
การยืม ศัพท์ โดยเฉพาะการยืมประเภทการทับศัพท์ด้วยแล้ว จะมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงทางด้านเสียง
มาก กล่าวคอื เสยี งนน้ั อาจจะเป็นเสียงทไี่ ม่เคยมีปรากฏในภาษานน้ั มาก่อนเม่ือเกิดการยืมจากภาษาอ่ืนเข้าไป
ใช้ มาก ๆ เข้า เปน็ ผลทําใหพ้ ลอยรบั เสยี งของภาษาน้นั ๆ เขา้ ไปด้วย เช่น ในภาษาองั กฤษ แตเ่ ดมิ ไมม่ เี สียง [2]
และ I] แต่เมื่อสมยั หน่ึง อังกฤษมีกษตั ริย์เป็นชาวฝรั่งเศส ไดย้ มื จากภาษาฝรั่งเศสไปใชเ้ ป็นจํานวนมากมาย จึง
ทําให้มเี สียง [2] และ[v] ในภาองั กฤษด้วย ในภาษาอังกฤษมีเสียง [f] และ [r] แตต่ อ้ งเสียงที่ไม่เคยเกดิ คู่กัน ใน
ภาไทย ปัจจบุ ันอิทธพิ ลคำยมื จากภาษาอังกฤษทาํ ใหเ้ รามีเสยี ง [F) ใช้
อิทธิพลที่มีต่อวงศัพท์ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า การยืมส่วนใหญ่นั้น เป็นการยืม
คําศัพท์ยอม ทําให้มีผลกระทบต่อจํานวนศัพท์ในภาษาด้วย ถ้าคำศัพท์ที่ยืมเขาไปนั้น ใช้แทนสิ่งของใหม่
ความคิดใหม่ท่ีไม่ เตยมใี ชใ้ นภาษามากอ่ น ก็ทําให้มศี ัพท่ีใช้ในภาษามากย่งิ ขน้ึ อันเป็นการเพ่ิมพูนศัพท์ในภาษา
แต่ถ้าหาก สง่ิ ของหรือความคิดนน้ั มใี ช้อยู่แลว้ กจ็ ะก่อใหเ้ กิดการแข่งแข่งขนั ตานใชศ้ ัพท์เกา่ ที่ใหม่ เม่ือศัพท์น้ัน
ใช้กัน อยู่ชั่วระยะเวลาหน่ึง ก็จะรู้ว่าศัพท์โตเป็นศัพท์ติด อาจจะมีการเล็กใช้ศัพท์บางคำไปซึ่งอาจจะเป็นศัพท์
เก่าหรือ ศัพท์ใหม่ก็ได้ และหากว่าศัพท์ทั้งเก่าและใหม่ ยังเป็นที่นิยมใช้ คือ เป็นศัพท์ติดทั้งคู่ ก็จะต้องมีการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านความหมายหรือฐานะของศัพท์ โอกาสในการใช้ศัพท์ ฯลฯ การที่ทั้งศัพท์เก่าและศัพท์
โหม่คงอยู่ร่วมกันในภาษา และสื่อความหมายเดียวกัน แต่มีวาระในการใชต้ ่างกัน ทําให้เกิดวิธีการพดู และการ
เขียนแบบต่าง ๆ โดยผพู้ ดู หรือผู้เขียนสามารถเลือกใชศ้ ัพทไ์ ด้ตามความต้องการ

15

บทท่ี 3
วิธีดําเนินการวิจัย

ในการวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาเรื่อง “การพัฒนาแบบฝึกทักษะเรื่อง คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” ผู้วิจัยได้ดําเนินการตาม
ข้ันตอนดงั นี้

1. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
2. เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการวิจยั
3. การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
4. การวิเคราะหข์ อ้ มูล
5. สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะหข์ อ้ มูล
ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
ประชากรและกลุม่ ตัวอย่างท่ใี ช้ในการวจิ ยั
ประชากร

ประชากรท่ใี ช้ในการวิจยั ครง้ั น้ี คอื แก่นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โรงเรียนบ้านบึง
“อุตสาหกรรมนุเคราะห”์ ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบา้ นบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห”์ จาํ นวน
600 คน

กลมุ่ ตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างของการวิจัยครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 ศึกษา

ภาคเรียน ที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” จํานวน 47 คน ซึ่งได้มาจากการ
สุ่มอยา่ งอยา่ งง่าย

เคร่อื งมอื ที่ใชใ้ นการวจิ ยั
1. แบบฝกึ ทักษะ เรอ่ื ง คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3
2. แผนการจัดการเรียนรู้ เรอื่ ง คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย จํานวน 2 แผน
3. แบบทดสอบการจําแนกภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย เรอื่ ง “ คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

สาํ หรบั นกั เรียนช้นั มัธยมศึกษาปที ่ี 3

16

ขน้ั ตอนการสร้างเครือ่ งมือทใ่ี ชใ้ นการวจิ ัย (ท่เี ปน็ แบบฝกึ ทักษะ)

แบบฝึกทกั ษะสําหรับนักเรียน ช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 โดยมขี ั้นตอนการสรา้ งดังนี้

1. ศึกษาหลักสูตร เอกสาร ตรา ขอบขา่ ย สาระกลุ่มวิชาภาษาไทย ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3

2. กําหนดจุดประสงค์การเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับคําอธิบายรายวิชาและจุดประสงค์การเรียนรู้ใน

หลกั สูตรและเน้ือหา

3. ดำเนนิ การสร้างแบบฝกึ เร่อื ง การจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

4. นำแบบฝึกทกั ษะ เร่อื ง คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย ท่สี ร้างขึ้นเสนอต่อผเู้ ชี่ยวชาญ จาํ นวน 3

ท่าน 1) ด้านนวัตกรรม 2) ด้านการสอน 3) ด้านการวัดและประเมินผล เพื่อขอคําแนะนํามาแก้ไข ในส่วนที่

บกพร่อง

5. ดำเนินการแก้ไขและปรับปรุงชุดแบบฝึกหัด ตามที่ปรึกษาแล้วนําไปให้ผู้เชี่ยวชาญด้านหลักสูตร

เนื้อหา กระบวนการ ภาษาและวัดประเมินผลตรวจสอบ เพื่อตรวจสอบคุณภาพและความเที่ยงตรงเชงิ เน้อื หา

โดยกาํ หนดเกณฑ์พจิ ารณาคอื

+1 = เหน็ วา่ สอดคลอ้ ง

0 = ไม่แนใ่ จ

-1 = เห็นว่าไม่สอดคลอ้ ง

การวิเคราะห์ข้อมูลความเหมาะสมสอดคล้องของแบบฝึกทักษะ โดยใช้ดัชนีความสอดคล้อง

(IOC) คํานวณตามสตู ร

IOC = ∑
∑ แทน ผลรวมของคะแนนความคดิ เห็นของผูเ้ ช่ยี วชาญทง้ั หมด

N แทน จาํ นวนผู้เช่ยี วชาญ

นำข้อมูลที่รวบรวมจากความคิดเห็นของผู้เชียวชาญมาคํานวณหาค่า IOC โดยใช้ดัชนีความ

สอดคล้อง ของผู้เชียวชาญมาคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง แล้วเลือกค่าดัชนีความสอดคล้องตั้งแต่ 0.5

ขนึ้ ไป

6. หาประสทิ ธภิ าพของแบบฝึกทักษะ โดยทดลองใช้กับนกั เรียนชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3/7 โรงเรียนบ้าน

บึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” จาํ นวน 47 คน โดยวิธกี ารเลือกแบบจับส่มุ สลากอยา่ งง่ายจากนักเรยี นช้ันสูงกว่า

ใน อัตราสว่ นเท่าๆ กนั แล้วหา E1 เท่ากบั 81.62 และ E2 เทา่ กบั 80.85 เพอ่ื แก้ไขปรับปรงุ แบบฝกึ ทกั ษะ

80 ตวั แรก (E1) หมายถึง คา่ เฉล่ยี ร้อยละของคะแนนท่ีนักเรียนทําได้จากแบบทดสอบระหวา่ ง การใช้

แบบฝกึ ทักษะ

80 ตัวหลัง (E2) หมายถึง ค่าเฉลี่ยร้อยละของคะแนนที่นักเรียนทําได้จากแบบทดสอบ หลังการ ใช้

แบบฝึกทกั ษะ

17

ขัน้ ตอนในการสร้างเครือ่ งมือ (ทเ่ี ปน็ แผนการจัดการเรียนรู้)
1. แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี

3 มรี ายละเอียดดงั น้ี
1.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อที่จะทําความเข้าใจเกี่ยวกับ

สาระการเรียนรู้ สาระสําคัญ หลักการ เนื้อหา ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง เพื่อเป็นแนวทางในการเขียนแผนการ
เรียนรู้

1.2 ศกึ ษาแนวทางการใชห้ ลกั สตู รของการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551
1.3 ศึกษาคู่มือเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระภาษาไทยและคู่มือครูภาษาไทยชั้น
มธั ยมศึกษาปที ่ี 3 และหนังสอื แบบเรยี นภาษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 - 3
1.4 ศึกษาคู่มือการวัดประเมินผลการเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา พุทธศักราช 2551 เพื่อน
เปน็ แนวทางในดา้ นการวัดผลประเมินผล
1.5 ศึกษาทฤษฎี หลักการ แนวคิด วิธีการ และข้อเสนอแนะ ของเอกสารงานวจิ ยั ที่เกี่ยวข้อง
เพอื่ นํามาเป็นขอ้ มลู ในการจัดทําแผนการจัดการเรยี นรแู้ ละการจัดการเรียนการสอน
1.6 เขียนแผนการจดั การเรยี นรู้ และขัน้ ตอนการการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนภาษาไทย
เรือ่ ง"การจาํ แนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย” ดังน้ันจุดประสงค์ในการกจิ กรรมและเลอื กกิจกรรมเตรียม
สือ่ และหาวธิ ีการประเมนิ ผลใหส้ อดคล้องกับจุดประสงค์ และแสการเรยี นรทู้ ี่คาดหวงั ในแผนการจดั การเรียนรู้
มอี งคป์ ระกอบท้งั นี้
- เป้าหมายการเรียนรู้ (มาตรฐานการชี้วัด สาระสําคัญ/ความคิดรวบยอด สาระการเรียนรู้
สมรรถนะสําคัญของผ้เู รียน คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์)
- หลักฐานการเรียนรู้ (ขน้ึ งาน/ภาระงาน การวดั และประเมินผล)
- กิจกรรมการเรียนรู้
- สอื่ /แหล่งการเรียนรู้
1.7 แผนการเรียนรู้ เรื่องเรื่อง “สาเหตุที่คำภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย”
ของหนังสือ เรียนภาษาไทยของกรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ เสนอต่อผู้เชียวชาญ 3 ท่านเพื่อพิจารณา
ประเมนิ ตรวจสอบความถูกตอ้ งเหมาะสมและสมบรู ณ์ พร้อมใหค้ ําปรึกษามาดําเนนิ การปรับปรุงแก้ไข
1.8 ผู้วิจัยได้ทําการปรับปรุงแก้ไขเนื้อหาตามที่ผู้เชี่ยวชาญได้ให้คําแนะนําและนำแผนการ
จัดการเรียนรู้ที่ได้ทาํ การปรบั ปรงุ แก้ไขแลว้ นาํ ไปใช้ในการวจิ ัยกับนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 3/7 โรงเรียนบ้าน
บึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” จํานวน 47 คน แล้วดําเนินการสอนตามขั้นตอน หลังจากทดลองแล้วนำ
ขอ้ บกพร่องมา ปรบั ปรุงแก้ไข เกี่ยวกับภาษา เวลากิจกรรมแต่ละแผนการจัดการจัดการเรยี นรู้

18

ขัน้ ตอนการสร้างเคร่อื งมือ (ทีเ่ ป็นแบบทดสอบ)
แบบทดสอบการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทยใช้วัดความรู้ก่อนเรียนและหลังเรียน เรื่อง

สาเหตทุ ่ีคำภาษาตา่ งประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย ของนกั เรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้แบบฝึกทักษะ
“สาเหตุที่คำภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย” ที่ผู้วิจัยได้ดําเนนิ การสร้างแบบทดสอบ ตามลําดบั
ขนั้ ตอน ดงั นี้

1. ศึกษาโครงสร้างขอบเขต เนื้อหาในหลักสูตรขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตร
มัธยม รวมทั้งคู่มือเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยและคู่มือครูภาษาไทยและหนังสอื
แบบเรยี นภาษาไทย ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1-3

2. ศึกษาทฤษฎี งานวจิ ยั หลกั การ แนวคดิ วธิ กี ารสร้างแบบทดสอบ
3. จัดทําข้อสอบข้อสอบจํานวน 20 ข้อให้ครอบคลุมเนื้อหา ตัวชี้วัดและจุดประสงค์ที่ตั้งไว้
จากนั้นนํามาหาค่าเฉลี่ยความยากง่าย ของแบบทดสอบ (p) และค่าอํานาจจําแนก (r) แล้วคัดข้อสอบให้เหลอื
10 ข้อ เพื่อนําไปใช้จริงกับกลุ่มตัวอย่าง จากนั้นนำแบบทดสอบที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ไปให้เชี่ยวชาญ 3 ท่าน
ตรวจสอบคุณภาพ และตรวจสอบความเที่ยงตรงเชงิ เนือ้ หาของแบบทดสอบให้ เชี่ยวชาญลงความเห็นชอบรา่
แบบทดสอบแต่ละขอ้ ตรงกับวตั ถปุ ระสงค์หรือไม่ โดยกาํ หนดแนวคิดไว้ดงั นี้

+1 แทน เหน็ ว่าสอดคลอ้ ง
0 แทน ไม่แนใ่ จ
-1 แทน เหน็ วา่ ไมส่ อดคลอ้ ง
นำคะแนนรวบรวมความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญ ไปหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (ค่า IOC ) แล้วเลือก
ข้อสอบที่มีค่าดัชนีความสอดคล้องที่ต้องการวัดตั้งแต่ 0.50 ขึ้นไป จากการหา(IOC) มีค่าเท่ากับ 0.66 - 1.00
แสดงว่า แบบทดสอบมคี วามเทย่ี งตรงทกุ ข้อ
4. หาประสิทธิภาพของแบบฝกึ เสริมทักษะ ให้มีประสิทธภิ าพตามเกณฑ์
5. นำขอสอบที่ผ่านการคัดเสือกไปทดสอบกับกลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่
3/7 จำนวน 47 คน

การเก็บรวบรวมขอ้ มูล

ผูว้ ิจยั ไดเ้ ก็บรวบรวมข้อมลู จากการประเมินผลการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทยของนักเรียน
โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน จากนั้นได้สอนตามแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ แล้วได้ทดสอบหลังเรียนดว้ ย
ตัวเองโดยมีวิธีการตามขนั้ ตอน ดงั นี้

1. ก่อนทดลองนําแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน การจําแนกภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย ไปทดสอบกับเรียน แล้วประเมนิ ผลคะแนนก่อนเรียน

19

2.ดำเนินการสอนตามแผนการเรียนรู้ จํานวน 2 แผนการเรียนรู้ เป็นเวลา 4 ชั่วโมง ฝึกทัก
ทักษะการจาํ แนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โดยใช้แบบฝกึ ทักษะ เรื่อง คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

3. ทบทวนการฝึกทักษะเรื่อง คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย และทดสอบหลังเรียน
ประเมนิ ผลคะแนนหลังเรยี น แล้วเปรียบเทียบผลสมั ฤทธิ์การจําแนกคําภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย สําหรับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 ระหว่างการสอน ก่อน - หลัง การใช้แบบฝึกทักษะการจําแนก
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย โดยนําไปวิเคราะห์ข้อมลู ทางสถิตติ อ่ ไป

การวิเคราะห์ข้อมลู

ในการวเิ คราะห์ข้อมูลการจัดการเรียนร้ภู าษาไทยโดยใช้แบบฝึกทักษะสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ผวู้ ิจัยดําเนนิ การตามข้นั ตอน ดงั นี้

1. หาประสิทธิภาพของแบบฝกึ เสริมทกั ษะ ให้มปี ระสิทธภิ าพตามเกณฑร์ อ้ ยละ 80/80
2. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยเฉลี่ยของการทดสอบก่อนเรียนและหลังเรียน
นำมา หาค่าสถิติ ใช้ t-test ด้วยโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติ

สถติ ิทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล

จากผลการศึกษาในครงั้ นี้ ผ้วู ิจยั เลอื กสตใิ นการวิเคราะห์ข้อมูล ดังต่อไปน้ี
1. ค่ารอ้ ยละ (Percentage) ใช้สัญลกั ษณ์
สตู ร P = ×100

เมื่อ n แทน จํานวนท่ีต้องการเปรยี บเทียบ
N แทน จํานวนขอ้ มลู ทงั้ หมด

2. ค่าเฉลี่ย (Mean) ใช้สัญลักษณ์ (  ) โปรแกรมการวัดผลการศึกษา 2556, หน้า 90) โดย
ใชส้ ตู รดงั นี้

X

สตู ร  = N
 แทน คา่ เฉลี่ย

 X แทน ผลรวมของคะแนนทัง้ หมดประชากร

N แทน จำนวนคะแนนประชากร
3. ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) จากสตู ร (บญุ ชม ศรีสะอาด. 2545 :
106-108)

20

สตู ร S.D. = N X 2 − ( X )2

N (N −1)

หรือสูตร S.D = n (x1 − x)2
เมื่อ S.D. แทน
i=1 n −1

ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน

X แทน คะแนนแต่ละตวั

N แทน จำนวนคะแนนในกลุ่ม

 X แทน ผลรวม

4. หาค่าความเที่ยงตรง ของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยใช้สูตรดัชนีความ

สอดคลอ้ ง IOC (สมนึก ภัททิยธนี. 2546 : 221)

สตู ร IOC =  R
N

เมอื่ IOC แทน ดัชนีความสอดคล้องระหวา่ งข้อสอบกับจุดประสงค์

 R แทน ผลรวมคะแนนความคิดเห็นของผเู้ ชย่ี วชาญท้ังหมด
จำนวนผู้ทรงคณุ วุฒหิ รือผู้เชี่ยวชาญการใหค้ ะแนน
N แทน

5.การหาประสทิ ธภิ าพของแบบฝึกทักษะการอ่านวิเคราะห์ 80/80 โดยใช้สูตร E1/E2ดังน้ี

 X x100
N

สตู ร E1 = A

เมอ่ื E1 แทน ประสิทธภิ าพของกระบวนการเรยี นการสอน

 X แทน คะแนนของแบบฝกึ หดั หรอื แบบทดสอบย่อย

A แทน คะแนนเตม็ ของแบบฝึกทกั ษะทุกชุดรวมกนั
N แทน จำนวนนักเรยี นท้ังหมด

 X x100
N

สูตร E2 = B
เมือ่ E2 แทน ประสิทธิภาพของผลสัมฤทธ์ิ

 X แทน คะแนนรวมของแบบทดสอบหลงั เรียน

B แทน คะแนนเต็มของแบบทดสอบหลังเรียน
N แทน จำนวนนักเรยี นท้งั หมด

21

6. การเปรียบเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียน (t-test Dependent) โปรแกรมการ

วัดผลการศึกษา, 2556 หนา้ 103) โดยใชส้ ูตรดงั นี้

= ∑
√ ∑ 2−(∑ )2
−1
เมอื่ t แทน การทดแทนความแตกต่างของคะแนนก่อนเรยี นและหลงั เรยี น

D แทน ความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรียนของนักเรยี นแต่

ละคน

2 แทน ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนก่อนเรียนและหลงั เรยี นของ

นักเรียนทุกคน

∑ 2 แทน ผลรวมความแตกตา่ งของคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนของ

นักเรยี นแต่ละคนยกกำลังสอง

(∑ )2 แทน ผลรวมของความแตกต่างของคะแนนกอ่ นเรยี นและหลงั

เรยี นของนกั เรียนแต่ละคนยกกำลงั สอง

∑ 2 แทน จำนวนนักเรียนคูณผลรวมของความแตกตา่ งของความ

แตกตา่ งคะแนนกอ่ นเรยี นและหลงั เรียนของนักเรยี นแต่

ละคนยกกำลงั สอง

22

บทที่ 4

ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล

การศึกษาวิจยั เรื่องการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทยของระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 3 โรงเรียน

บ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” ผู้วิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะเรื่องคำ

ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ที่มีคุณภาพในระดับดี และมี

ประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐานที่ 80/80 2) เพื่อศึกษาความสามารถในการจําแนกภาษาต่างประเทศใน

ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 3) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การจําแนกภาษาต่างประเทศใน

ภาษาไทย ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ระหว่างก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะเรื่อง

คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู

ผู้วจิ ัยไดน้ าํ เสนอผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล โดยแบ่งออกเปน็ 2 ตอน ดงั นี้

ตอนท่ี 1 ผลการหาคุณภาพและประสิทธภิ าพของแบบฝึกทักษะ เรือ่ ง แบบฝกึ ทักษะเร่ืองคำ

ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สาํ หรับนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนทดสอบก่อนเรียน

หลังจาก เรียนด้วยแบบฝึกทักษะ เรื่อง แบบฝึกทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรียน

ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่
ตอนที่ 1 ผลการหาคุณภาพและประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ แบบฝึกทักษะเรื่องคำ

ภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย สาํ หรบั นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

ผลการหาคุณภาพของแบบฝึกทักษะ โดยผู้เชี่ยวชาญพบว่า คุณภาพด้านเนื้อหามีค่าเฉลี่ย

เทา่ กบั 4.44 อยใู่ นระดบั ดี คุณภาพด้านเทคนคิ มคี ่าเฉลี่ยเท่ากบั 4.35อยใู่ นระดบั ดี

การหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะที่ทดลองกับนักเรียนกลุ่มตัวอยา่ งจํานวน 47 คนที่ได้

ศึกษา จากแบบฝึกทักษะ ผลการหา คุณภาพและประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่อง คำภาษาต่างประเทศ

ในภาษาไทย ผวู้ จิ ัยขอเสนอผลจากการหาประสทิ ธิภาพของแบบฝึกเสริมทกั ษะ ดงั ตาราง

ตารางที่ 1 ผลการหาประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรื่อง แบบฝึกทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศใน

ภาษาไทย

จ ำ น ว น ก ลุ่ ม แบบฝึกทักษะ คะแนนเฉลยี่ แบบทดสอบหลังเรยี น ประสิทธภิ าพ
ทดลอง (คน) คะแนนเตม็ 85.25 คะแนนเตม็ คะแนนเฉลีย่ E1/E2
47 10 10 83.82 85.25/83.82

23

จากตารางที่ 1 ผลการหาประสทิ ธิภาพของแบบฝึกทักษะ เรอ่ื ง การจําแนกภาษาตา่ งประเทศ
ในภาษาไทย นักเรียนจํานวน 47 คน ทําแบบฝึกทักษะระหว่างเรียน ที่สร้างขึ้นได้ถูกต้องร้อยละ 65.25 และ
ทาํ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนได้ถูกต้อง ร้อยละ 83.82 ดังนัน้ แบบฝกึ ทักษะ ดงั กล่าวมีประสิทธิภาพ
สอดคลอ้ งกบั เกณฑม์ าตรฐานท่ีตัง้ ไว้คอื 80/80 แสดงใหเ้ ห็นว่า แบบฝกึ ทักษะ เรื่อง เรือ่ ง คำภาษาตา่ งประเทศ
ในภาษาไทย มปี ระสิทธภิ าพสามารถนําไปใช้ประกอบการเรยี นการสอนได้

ตอนที่ 2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนทดสอบก่อนเรียน

และ หลังเรยี นด้วยแบบฝกึ ทักษะ เรอ่ื ง คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทยสาํ หรับนกั เรยี นขึ้น มธั ยมศึกษาปีที่ 3

ผู้วิจัยทําการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกับคะแนนทดสอบ ก่อนเรียน

ของกลุ่มตัวอย่าง จํานวน 47 คน จากการเรียนด้วยแบบฝึกทักษะ เรื่อง การจําแนก ภาษาต่างประเทศใน

ภาษาไทย สําหรับนกั เรยี นชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 2 ซึ่งผลการวเิ คราะห์ปรากฏตง้ั ตารางที่ 2

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิท์ างการเรียนกบั คะแนนทดสอบก่อนเรียนที่เรยี นด้วยแบบฝึกทักษะ

เร่อื ง การจําแนกภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

กลมุ่ ตัวอย่าง N df ค ะ แ น น ก่อนอบรม หลงั อบรม t

นักเรียน เต็ม ̅ S.D. ̅ S.D. 32.51
47 33 10 5.18 3.11 8.53 2.22

*คา่ 6 มนี ัยสาํ คัญทางสถติ ิที่ระดบั .01 (ต่าวกิ ฤตของ t ที่ระดบั .01 33 เท่ากบั 32.51) 3251*
จากตารางที่ 2 พบว่าผลการเปรียบเทียบทักษะการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

และ หลังการใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพบว่า เมื่อเปรียบเทียบค่า + ที่
สํานวณได้ คือ 32.51 กับดาวิกฤตของ : ในตาราง เท่ากับ 22761 อา : ที่คํานวณได้มีค่าวิกฤตของในตาราง
แสดงวา่ คะแนนการทดสอบหลงั เรียนสงู กว่าคะแนนทดสอบก่อนเรยี น อย่างมีนยั สาํ คญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ .01

24

บทท่ี 5

สรปุ ผลอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ

การพฒั นาแบบฝกึ ทักษะการจาํ แนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สาํ หรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศึกษา ปี
ที่ 3 โรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” โดยใช้แบบฝึกทักษะเรื่องคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
สรุปไดด้ ังน้ี

1. วตั ถปุ ระสงค์ของการวิจัย
2. ประชากรและกลมุ่ ตัวอยา่ ง
3. เคร่ืองมอื ในการรวบรวมข้อมลู
4. สรปุ ผลการวิเคราะห์ข้อมลู
5. อภิปรายผล
6. ขอ้ เสนอแนะ
วตั ถปุ ระสงคข์ องการวิจัย
การวจิ ัยคร้งั นผี้ ู้วจิ ัยไดก้ าํ หนดวตั ถปุ ระสงค์ ไวด้ งั น้ี
1. เพื่อพัฒนาแบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย สําหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศกึ ษาปที ี่ 3 ที่มีคุณภาพในระดับดี และมปี ระสทิ ธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80
2. เพ่ือเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธ์ิการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนกั เรียนชั้น มัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ระหว่างคะแนนก่อนเรียนและคะแนนหลังเรียน โดยใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกค่า ภาษาต่างประเทศ
ในภาษาไทย
ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง
ประชากร คือ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2562
โรงเรยี นบ้านบึง “อุตสาหกรรมนเุ คราะห์” จํานวน 600 คน
กลุ่มตวั อย่าง คือ กลุ่มตวั อยา่ งในการวจิ ยั ครงั้ น้ีคือ นักเรยี นชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 3/7 ปีการศกึ ษา 2562
โรงเรยี นบา้ นบงึ “อตุ สาหกรรมนุเคราะห์” จํานวน 47 คน ซึง่ ได้มาจากการสุม่ อยา่ งงา่ ย
เครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล
เคร่ืองมือที่ใชใ้ นการวิจยั มี 3 ชนดิ คอื
1. แผนการจัดการเรยี นรู้ เร่อื ง คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย จํานวน 2 แผนการสอน

25

2. แบบฝกึ ทักษะ เร่ือง “คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย " สําหรบั นักเรียนชั้น มัธยมศกึ ษา
ปีที่ 3

3. แบบทดสอบ เรื่อง คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ใช้วัดการเรียนรู้ก่อนเรียนและหลัง
เรียน เรื่อง “คำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย” ของนักเรยี นชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3

สรปุ ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู
1. ประสิทธิภาพของแบบฝึกทักษะเรื่อง การจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียนช้ัน

มัธยมศึกษาปีที่ 3/7 โรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุเคราะห์” ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมีค่า E1/E2 เท่ากับ
85.25/83.82 ซึ่งสูงกว่า เกณฑ์ที่กําหนด แสดงว่าแบบฝึกทักษะเรื่อง คำภาษาต่างประเทศในภาษาไทยของ
นกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 3/7 โรงเรยี นบ้านบึง “อุตสาหกรรมนเุ คราะห”์ ทสี่ รา้ งได้ขน้ึ มีประสทิ ธภิ าพเป็นไป
ตามเกณฑม์ าตรฐานทตี่ ั้ง

2. คะแนนการทดสอบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3/7 ของโรงเรียนบ้านบึง “อุตสาหกรรมนุ
เคราะห์” หลงั การเรยี นสูงกวา่ การทดสอบกอ่ นเรียนอย่างมีนยั สาํ คญั ทางสถิติท่ีระดบั .01

การอภปิ รายผล
จากผลวจิ ัย เร่ือง การพฒั นาแบบฝึกทักษะการจําแนกคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ของนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ในครั้งนี้พบว่า
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้นสรุปได้ว่า การสอนโดยการพัฒนาทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศใน
ภาษาไทย โดยการใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย เป็นการเรียนที่เปิดโอกาสให้
นักเรียนได้ลงมือฝึกทักษะ ทําให้นักเรียนสนุกไม่เบื่อเหมือนการเรียนแบบปกติ ดังนั้นจึงทําให้ผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนของนักเรียนที่ได้ฝึกทักษะโดยการใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกคําภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
มีคะแนนสูงกว่ากอ่ นเรียน ซึ่งเป็นไปตามสมมตฐิ านทีต่ ัง้ ไว้ นอกจากนี้ยังสอดคล้องกับแนวคิดของ อกนิษฐ์ กร
ไกร (2549, หน้า 17) ได้ดําเนินการสร้างแบบฝึกทักษะ โดยยึดหลักให้นักเรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ตาม
ศักยภาพของแตล่ ะบุคคล ในความคาดหวงั ต้องการใหเ้ ด็กทีใ่ ชแ้ บบฝึกทักษะมีพฤติกรรม ดังนี้

1. Active Responding ให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนอย่างกระฉับกระเฉง ไม่ว่าจะ
เปน็ คิต ในใจหรือแสดงออกมาดว้ ยการพูดหรือเขยี น นักเรียนอาจเขียนรปู ภาพเตมิ แต่งประโยคหรือหาค่าตอบ
ในใจ

2. Minima! Error ในการเรียนแต่ละครั้งเราหวังว่า นักเรียนจะตอบคําถามได้ถูกต้องเสมอ
แต่ใน กรณีที่นักเรียนตอบคําถามผิด นักเรียนควรมีโอกาสฝึกฝนและเรียนรู้ในสิง่ ที่เขาทําผิดเพือ่ ไปสู่คําตอบท่ี
ถูกตอ้ ง ตอ่ ไป

26

3. Knowledge of Results เมื่อนักเรียนสามารถตอบถูกต้องเขาควรได้รับเสริมแรง ถ้า
นักเรียน ตอนผิดเขาควรได้รับการชี้แจง และให้โอกาสที่จะแก้ไขให้ถูกต้องเช่นเดียวกับประสบการณ์ที่เป็น
ความสําเรจ็ สาํ หรับมนุษยแ์ ล้ว เพียงได้รวู้ า่ ทาํ อะไรสาํ เร็จก็ถือเป็นการเสรมิ แรงในตัวเอง

4. Small Step การเรียนจะต้องเปิดโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้ไปทีละน้อยด้วยตนเอง โดย
ให้ ความรู้ตามลําดับขั้นและเปิดโอกาสให้ผู้เรียนใคร่ครวญตามซึ่งจะเป็นผลดีต่อการเรียนรู้ของเด็กอย่างมาก
แมท้ ่ี เรียนออ่ นก็จะสามารถเรียนได้

ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนและหลังการใช้แบบฝึกทักษะการจําแนกภาษาต่างประเทศ
ใน ภาษาไทย พบว่าหลังจากนักเรียนได้รับการฝึกทักษะการจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย มีคะแนน
สูงกว่าก่อนไดร้ ับการฝึกทกั ษะอย่างมีนยั สําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.1 ทําใหน้ กั เรียนมีความสามารถทางด้านการ
อ่านจับใจความสูงขน้ึ ท้งั นี้มาจากการท่นี ักเรียนได้รบั การเรยี นร้จู ากประสบการณต์ รงและได้รับฝึกบ่อยๆ จึงทํา
ให้นักเรียนสามารถจําแนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทย ในบทเรียนได้ดีข้ึน ซึ่งเป็นไปตามทฤษฎีหลักการ
เรียนรู้ของเควิน ([email protected]'s Figid Theory) ที่ว่า “การเรียนรู้เกิดจากการเปลี่ยนแปลงความรู้ความเข้าใจเดิม
เกดิ จากการกระทําซ้ำ ๆ ไดจ้ ากการแก้ปัญหาหรือมกี ารเปลี่ยนแรงจูงใจ ทําให้เกิดความรู้ความเขา้ ใจอย่างแจ่ม
แจง้ ”

ด้านการพัฒนาผู้เรียนผู้วิจัยได้ยึดหลักทฤษฎีพฤติกรรมนิยมของสกินเนอร์ ซึ่งมีความเชื่อว่า
สามารถควบคุมบุคคลให้ทําตามความประสงค์หรือแนวทางที่กําหนดโดยไม่ต้องคํานึงถึงความรู้สึกทางด้าน
จติ ใจของบคุ คลผู้นนั้ วา่ จะร้สู ึกนกึ คิดอย่างไร เขาจงึ ไดท้ ดลองและสรุปว่าบคุ คลสามารถเรยี นรู้ด้วยการกระทํา
โดยมีการเสริมแรงเป็นตัวการ เป็นบุคคลตอบสนองการเจ้าของสิ่งเร้าควบคู่กันในช่วงเวลาที่เหมาะสม สิ่งเร้า
นั้นจะรักษาระดับหรอื เพ่มิ การตอบสนองใหเ้ พิ่มขนึ้

ข้อเสนอแนะ

ข้อเสนอแนะในการนําไปใช้

การจาํ แนกภาษาต่างประเทศในภาษาไทยควรมีแบบฝึกที่หลากหลาย เพราะทไี่ ทยยืมมาจาก
ภาษาต่างประเทศเป็นคําท่ีใช้อยู่ทั่วไปจนลมื ไปว่าเหล่านั้นไม่ใช่คําไทยแท้แต่เป็นคําที่ไทยยืมจาก ต่างประเทศ
มาใช้ นักเรียนต้องอาศัยความจําในการทําแบบฝึกหัดในการจําแนกภาษาต่างประเทศท่ีปะปนอยู่ในภาษาไทย
เพือ่ ให้นักเรียนสามารถจำแนกคำเหลา่ นไ้ี ดอ้ ย่างถูกต้องจงึ จาํ เป็นต้องมีการสร้างแบบฝกึ ที่มคี วามหลากหลาย

ขอ้ เสนอแนะในการวจิ ยั คร้งั ต่อไป

1. ควรมีการวจิ ัยเกีย่ วกับการเปรยี บเทียบการสอนระหว่างสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะ กับการ
สอบแบบปกติ

27

2. ควรนำแบบทดสอบไปฝึกกับนักเรียนโรงเรียนอื่น เพื่อหาข้อสรุปผลของการศึกษาค้นคว้า
ให้ กวา้ งขน้ึ

3. ควรทีจ่ ะมีการศึกษาพืน้ ฐานความสามารถในการเรียนรู้ของเดก็ ในห้องเรียนเพื่อนําข้อมูลท่ี
ได้มาสร้างแบบฝกึ เสริมทกั ษะตามระดับความสามารถของเด็ก

4. ควรมีการวจิ ัยเกย่ี วกับการสอนโดยใช้เทคนิคต่าง ๆ ในวิชาภาษาไทยต่อไป

28

ภาคผนวก

29

สาระ/มาตรฐานการเรียนร/ู้ ตัวชี้วัด

สาระที่ ๔ หลกั การใชภ้ าษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เข้าใจธรรมชาตขิ องภาษาและหลกั ภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษา และพลงั
ของภาษา ภมู ิปญั ญาทางภาษา และรกั ษาภาษาไทยไวเ้ ป็นสมบัติของชาติ
ตวั ชว้ี ดั
ม.๓/๑ จำแนกและใชค้ ำภาษาต่างประเทศที่ใชใ้ นภาษาไทย

30

สาระสำคญั /จดุ ประสงค์การเรยี นรู้

สาระสำคัญ

ภาษาต่างประเทศทเี่ ขา้ มาปะปนในภาษาไทยดว้ ยสาเหตตุ ่าง ๆ มีอทิ ธพิ ลต่อภาษาไทย คือ ทำให้
ลักษณะของภาษาไทยเปลีย่ นไปจากเดิม ภาษาต่างประเทศที่มีใช้ในภาษาไทยเปน็ จำนวนมาก คือ ภาษา
บาลี สนั สกฤต เขมร จนี องั กฤษ โดยเฉพาะภาษาบาลี สนั สกฤต เขมร จีน คนไทยนำมาใช้และมกี าร
เปลีย่ นแปลงรปู คำจนดูกลมกลืนกบั ภาษาไทย แทบจะจำแนกไม่ได้วา่ เป็นคำ ทมี่ าจากภาษาอน่ื ดังนั้น
ศกึ ษาเรื่องคำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย จะชว่ ยใหจ้ ำแนกและใช้คำภาษาต่างประเทศทีใ่ ชใ้ นภาษาไทยได้
อยา่ งถูกต้อง

จดุ ประสงค์การเรียนรู้

๑. อธบิ ายสาเหตทุ ่ภี าษาตา่ งประเทศเขา้ มาปะปนในภาษาไทยได้
๒. อธบิ ายอิทธพิ ลของภาษาต่างประเทศที่มีผลตอ่ ภาษาไทยได้
๓. จำแนกคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยได้

31

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

แบบฝกึ ทกั ษะเรอื่ งคำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

คำชแี้ จง ให้นักเรียนทำเครื่องหมาย  ทับในชอ่ งตัวอักษร ก, ข, ค, ง ที่เหน็ วา่ ถกู ท่ีสุด เพียง
คำตอบเดยี วในกระดาษคำตอบ

๑. ข้อใดไม่ใชส่ าเหตทุ ท่ี ำให้ภาษาตา่ งประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย
ก. ความสัมพันธก์ ันทางเชื้อชาติและถ่ินที่อยู่อาศัยตามภมู ศิ าสตร์
ข. ความสมั พันธท์ างด้านสงครามการคา้
ค. ความสัมพันธ์ทางดา้ นความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ง. ความสมั พนั ธท์ างดา้ นศาสนา

๒. “คนไทยมีเสรภี าพในการนบั ถือศาสนา เม่ือนับถือศาสนาใดกต็ ามย่อมไดร้ ับถ้อยคำภาษาทใ่ี ช้
ในคำสอน หรือคำเรยี กช่ือต่างๆ ของศาสนานั้นมาปะปนอยูใ่ นภาษาไทย” จากข้อความดงั กลา่ ว
ความสมั พันธข์ ้อใดถูกต้อง
ก. ความสมั พันธท์ างดา้ นประวตั ิศาสตร์
ข. ความสัมพนั ธ์ทางด้านภมู ิศาสตร์
ค. ความสัมพันธ์ทางดา้ นวัฒนธรรมและประเพณี
ง. ความสัมพันธ์ทางดา้ นศาสนา

๓. “คนไทยท่ีอาศยั อยบู่ ริเวณชายแดนมคี วามเก่ยี วพันกับชนชาติต่างๆโดยปรยิ าย มีการเดินทางขา้ ม
แดนไปมาหาส่กู ัน แตง่ งานกันเป็นญาตกิ ัน” จากข้อความดงั กล่าวความสมั พนั ธ์ขอ้ ใดถูกตอ้ ง
ก. ความสมั พนั ธก์ นั ทางเชื้อชาติและถ่ินที่อยู่อาศยั ตามภูมิศาสตร์
ข. ความสัมพันธท์ างดา้ นวัฒนธรรมและประเพณี
ค. ความสมั พนั ธท์ างดา้ นการค้า
ง. ความสัมพันธท์ างการทตู

๔. ดว้ ยเหตุทวี่ รรณคดีทำให้ภาษาสันสกฤตและภาษาชวาเข้ามาปะปนในภาษาไทยนนั้ มอี ิทธิพล มาจาก
ความสัมพันธ์ด้านใด
ก. ความสมั พนั ธ์ทางด้านวรรณคดี
ข. ความสัมพันธส์ ว่ นตวั กับคนตา่ งชาติ
ค. ความสมั พันธ์ทางดา้ นวฒั นธรรมและประเพณี
ง. ความสมั พนั ธท์ างด้านประวัตศิ าสตร์

32

๕. ข้อใดเปน็ คำทเี่ กิดจากความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาการและเทคโนโลยี

ก. ปัญญา ศลี ข. ปฏกิ ิรยิ า เซียมซี

ค. คอมพวิ เตอร์ ทฤษฎีบท ง. ทรพั ย์ หนุ้

๖. ภาษาต่างปะเทศที่เข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วยสาเหตุต่าง ๆ มีอทิ ธิพลต่อภาษาไทย คือ ทำให้
ลักษณะของภาษาไทยเปลี่ยนไปจากเดิม ขอ้ ใดกลา่ วไมถ่ ูกต้อง
ก. คำมีพยางคม์ ากข้นึ

ข. เกดิ ความยงุ่ ยากในการใช้คำ

ค. มคี ำควบกลำ้ ใช้มากขนึ้

ง. มคี ำไวพจนใ์ ช้มากข้ึน

๗. ขอ้ ใดคอื คำที่มีความหมายเหมอื นกนั ทง้ั หมด

ก. นก ปักษา สกุณา วิหค

ข. ม้า พาชี อาชา อัศวะ

ค. ดอกไม้ กรรณิกา บปุ ผชาติ สุมาลี

ง. นำ้ คงคา ธารา รัชนกี ร

๘. จากอิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศที่มีตอ่ ภาษาไทย ทำให้ลกั ษณะของภาษาไทยเปล่ยี นไป จากเดมิ
คอื คำมพี ยางค์มากขน้ึ คำในข้อใดมี ๓ พยางค์ทกุ คำ

ก. โทรศพั ท์ ปรารถนา

ข. อทุ กภยั จนั ทร

ค. ยาตรา จกั รยาน

ง. สาธารณ มารดา

33

๙. จากอิทธิพลของภาษาต่างประเทศท่ีมีตอ่ ภาษาไทย ทำใหภ้ าษาไทยมีคำท่สี ะกดไม่ตรง ตาม
มาตรา คำในข้อใดสะกดตรงตามมาตราทกุ คำ

ก. กาญจน์ สนุ ัข

ข. ปาก กา้ น

ค. ลาภ บาท

ง. มงกุฎ เจรญิ

๑๐. จากอทิ ธิพลของภาษาตา่ งประเทศที่มตี อ่ ภาษาไทย ทำใหโ้ ครงสร้างของภาษาเปล่ียนไป ข้อใดไม่
เปน็ ประโยคสำนวนต่างประเทศ

ก. เขาพบตัวเองอยู่ในหอ้ งเรียน

ข. นวนยิ ายเรอ่ื งน้เี ขียนโดยทมยนั ตี

ค. ข้าพเจ้ามาถึงนครสวรรคเ์ มอ่ื เวลาบา่ ย

ง. มนั เปน็ เวลาบ่ายเมอ่ื ขา้ พเจา้ มาถึงลพบรุ ี

34

ใบความรู้เรือ่ งสาเหตุท่ีคำภาษาตา่ งประเทศ
เขา้ มาปะปนในภาษาไทย

สาเหตุท่ีภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย

การตดิ ต่อสมั พนั ธ์กันทำใหภ้ าษาตา่ งประเทศเข้ามาปะปนอยู่ในภาษาไทย ดว้ ยสาเหตุ หลาย
ประการ สรปุ ได้ดังนี้

๑. ความสัมพนั ธท์ างด้านสภาพภูมศิ าสตร์

สภาพภมู ศิ าสตร์ คอื ประเทศไทยมอี าณาเขตตดิ ต่อกบั ประเทศต่าง ๆ ไดแ้ ก่ พม่า ลาว เขมร
มาเลเซีย จึงทำให้คนไทยทีอ่ ยู่อาศยั บรเิ วณชายแดนเดนิ ทางข้ามแดนไปมาหาสกู่ ัน และ มคี วาม
เก่ียวขอ้ งสัมพันธ์กัน จงึ มีการแลกเปล่ียนภาษากัน เชน่ คนไทยท่ีอยู่ในจังหวดั สุรินทร์ ศรีษะเกษ บุรีรัมย์ ก็
จะสามารถสื่อสารด้วยภาษาเขมรได้ คนไทยทอ่ี ย่ใู นจังหวัดปตั ตานี ยะลา นราธิวาส สงขลา รบั เอาภาษา
มาลายเู ข้ามาใช้ เปน็ ต้น

๒. ความสัมพันธท์ างด้านประวัติศาสตร์

ประวัติศาสตร์ชนชาตไิ ทยเปน็ ชนชาติทมี่ ปี ระวัติศาสตร์อนั ยาวนาน มีการอพยพโยกย้าย ของคน
ไทยเข้ามาอยใู่ นถน่ิ อาศัยปจั จุบนั ซง่ึ แตเ่ ดิมมชี นชาติอน่ื อาศยั อยกู่ ่อน เชน่ เขมร ละว้า มอญ หรือมีการทำ
ศกึ สงครามกบั ชนชาติอน่ื มีการกวาดตอ้ นเชลยศึกและประชาชนพลเมอื งชนชาติอื่น ๆ ใหม้ าอาศยั อยใู่ น
ประเทศไทย ผู้คนเหล่าน้ีได้นำถอ้ ยคำภาษาเดิมของตนเองมาใช้ปะปนกบั ภาษาไทย

35

๓. ความสัมพนั ธ์ทางด้านศาสนา

ศาสนาคนไทยมเี สรีภาพในการนับถือศาสนามาเปน็ เวลาช้านาน เมือ่ นับถือศาสนาใดก็ย่อมได้รับ
ถอ้ ยคำภาษาท่ีใชใ้ นคำสอน หรือคำเรยี กชื่อตา่ ง ๆ ในทางศาสนาของศาสนานัน้ ๆ มาปะปนอยู่ในภาษาไทย
ด้วย เชน่ ศาสนาพราหมณใ์ ช้ภาษาสันสกฤต ศาสนาพุทธใชภ้ าษาบาลี ศาสนาอิสลาม ใช้ภาษาอาหรับ
และศาสนาคริสต์ใชภ้ าษาอังกฤษ ดังนั้นภาษาต่าง ๆ ทีใ่ ช้ ในทางศาสนากจ็ ะเขา้ มาปะปนในภาษาไทยดว้ ย

๔. ความสัมพนั ธ์ทางดา้ นการคา้

การคา้ ขายจากหลักฐานทางด้านประวตั ิศาสตร์ ชนชาติไทยมีการติดต่อคา้ ขายแลกเปลย่ี นสินค้ากับ
ชนชาติตา่ ง ๆ มาเป็นเวลาอันยาวนาน เช่น ชาวจีน ชาวโปรตุเกส ฝรั่งเศส องั กฤษ ฮอลนั ดา ตลอดถงึ
ญ่ีป่นุ ยิ่งปจั จุบันการค้าขายระหว่างประเทศมีความสำคัญมากขน้ึ มีการใช้ภาษาต่างประเทศในวงการธรุ กิจ
การค้ามากขึน้ ทำใหม้ ีถ้อยคำในภาษาของชนชาติน้ัน ๆ เข้ามาปะปนอยใู่ นภาษาไทยเป็นจำนวนมาก
ตลอดเวลาไม่มีวนั สน้ิ สดุ

๕. ความสมั พนั ธ์ทางดา้ นวรรณคดี

วรรณคดอี นิ เดียทีไ่ ทยนำเขา้ มา เช่น เร่อื งมหากาพย์รามายณะ และมหาภารตะแต่งขึ้น เปน็ ภาษา
สนั สกฤต อิเหนาเป็นวรรณคดที ่มี ีเคา้ เรื่องมาจากเรื่องดาหลงั ของชวา ด้วยเหตุนว้ี รรณคดี ทำให้ภาษา
สันสกฤตและภาษาชวาเขา้ มาปะปนในภาษาไทย

36

๖. ความสมั พนั ธท์ างดา้ นวัฒนธรรมและประเพณี

ความสัมพนั ธ์ทางด้านวฒั นธรรมและประเพณี เมอื่ ชนชาติตา่ ง ๆ เข้ามาสมั พันธ์ติดต่อกับ ชนชาติ
ไทย หรือเข้ามาตงั้ หลักแหลง่ อย่ใู นประเทศไทย ย่อมนำเอาวัฒนธรรมและประเพณีที่เคยยึดถอื ปฏบิ ตั ิอยู่ใน
สังคมเดิมของตนมาประพฤติปฏิบัตใิ นสังคมไทย นาน ๆ เขา้ ถ้อยคำภาษาทเ่ี กีย่ วข้องกับวฒั นธรรมและ
ประเพณีเหลา่ นัน้ ก็กลายมาเป็นถ้อยคำภาษาที่เก่ียวข้องกับชีวิตประจำวันของคนไทยมากขึน้

๗. ความสมั พันธ์ทางดา้ นการศึกษาและวทิ ยาการดา้ นต่าง ๆ

การศกึ ษาและวทิ ยาการด้านต่าง ๆ จากการท่คี นไทยเดนิ ทางไปศึกษายังต่างประเทศ ทำให้ ไดใ้ ช้
และพดู ภาษาอ่ืน ๆ และรับเอาวิทยาการตา่ ง ๆ เมื่อสำเร็จการศึกษาจึงนำภาษาของประเทศนน้ั มาใชป้ ะปน
กบั ภาษาของตน เชน่ ภาษาองั กฤษ ในปจั จุบนั ประเทศไทยกำลงั เตรยี มความพรอ้ ม ด้านการศึกษาเพ่ือ
กา้ วสปู่ ระชาคมอาเซียนและมาตรฐานสากล โดยการจดั การศกึ ษาให้ผ้เู รียนได้เรยี นร้ภู าษาและวัฒนธรรม
ประเทศสมาชิกสมาคมอาเซียนและภาษาที่สามารถสื่อสารกนั ในสากลโลก ดงั นนั้ การหลงั่ ไหลของภาษาต่าง ๆ
ท่ีจะเข้ามาปะปนในภาษาไทยก็จะเพิ่มมากขึน้

๘. ความสมั พนั ธท์ างการทูต

ความสัมพนั ธ์ทางการทูต การเจริญสมั พนั ธไมตรีทางการทูต ในการอพยพโยกย้ายหรอื ในการ
ติดต่อทางการทตู ย่อมทำให้ภาษาของเจ้าของถ่นิ เดิมหรือผู้อพยพโยกยา้ ยมาใหมน่ ำมาใช้รว่ มกัน เช่น อังกฤษ
ฝรง่ั เศส

37

๙. อพยพย้ายถิน่ ฐาน

อพยพย้ายถิน่ ฐานมาจากสาเหตหุ ลายประการ เชน่ สภาพเศรษฐกจิ ต้องไปประกอบอาชีพ ยงั
ประเทศตา่ ง ๆ ภัยสงคราม การเมืองการปกครอง

๑๐. ความสมั พนั ธ์สว่ นตวั กับคนต่างชาติ

คนไทยจำนวนมากท่ีคบหาสมาคมกับคนตา่ งชาตหิ รือทีส่ มรสกบั คนต่างชาติ ทำให้มกี ารถา่ ยทอด
แลกเปล่ียนกันในทางภาษา ใช้ทั้งภาษาไทยและภาษาต่างประเทศในครอบครัวของตนเอง จึงทำให้
ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทยมากขึน้

38

คำภาษาไทยทีย่ ืมมาจากภาษาต่างประเทศ

จากสาเหตขุ า้ งต้นไทยไดย้ ืมคำภาษาต่าง ๆ เข้ามาใช้ปะปนในภาษาไทยหลายภาษาด้วยกัน ดงั น้ี

ภาษา คำ
บาลี กญั ญา ขัตตยิ ะ วชิ า สนั ติ อติ ถี
สนั สกฤต บริษัท โฆษณา ประกาศ ภรรยา แพทย์
จนี กว๋ ยเต๋ียว ซาลาเปา เตา้ ฮวย บะหมี่ ล้ินจ่ี
อังกฤษ กอลฟ์ โปรตีน คลนิ กิ ฟอสฟอรัส นิวเคลียร์
เขมร กังวล ถนน บำเพญ็ เผดจ็ เสวย
ชวา-มลายู กริช กระดังงา ซ่าหริ่ม ปาหนัน องั กะลงุ อรุ งั อุตงั
เปอร์เซยี กุหลาบ คาราวาน ตราชู บัดกรี สกั หลาด
โปรตเุ กส กะละแม กะละมงั สบู่ เลหลัง ป่ินโต
ฝรงั่ เศส กงสุล ครัวซองต์ คปู อง แชมเปญ บฟุ เฟต่ ์
ญี่ป่นุ กิโมโน คาราเต้ ซโู ม ยโู ด สุกีย้ าก้ี
ทมฬิ กะไหล่ กลุ ี กานพลู กำมะหยี่ อาจาด
อาหรับ กะลาสี การบูร ก้นั หยั่น กะไหล่ ฝิ่น
มอญ เปิงมาง พลาย ประเคน
พม่า หมอ่ ง กะปิ ส่วย

ภาษาที่มใี ช้ในภาษาไทยเปน็ จำนวนมาก คอื ภาษาบาลี สนั สกฤต เขมร จีน องั กฤษ โดยเฉพาะ
ภาษาบาลี สนั สกฤต เขมร จนี ไทยนำมาใช้และมีการเปล่ียนแปลงรูปคำจนดกู ลมกลนื กบั ภาษาไทยแทบ
จะจำแนกไม่ได้ว่าเป็นคำมาจากภาษาอ่ืน

39

อทิ ธพิ ลของภาษาตา่ งประเทศทม่ี ตี ่อภาษาไทย

ภาษาต่างปะเทศทเ่ี ขา้ มาปะปนในภาษาไทยดว้ ยสาเหตุต่าง ๆ ดงั กลา่ วข้างตน้ มีอิทธิพล ตอ่
ภาษาไทย คือ ทำให้ลกั ษณะของภาษาไทยเปล่ยี นไปจากเดิม ดงั น้ี

คำมีพยางค์มากขึ้น ภาษาไทยเปน็ ภาษาตระกลู คำโดด คำสว่ นใหญเ่ ป็นคำพยางค์เดยี ว เช่น พ่อ
แม่ พ่ี น้อง เดิน ยนื นัง่ นอน เมือง เดือน ดาว ช้าง แมว ปา่ น้ำ เปน็ ตน้ เมอ่ื ยมื คำภาษาอืน่ มาใช้
ทำให้คำมีมากพยางคข์ ้นึ เช่น

- คำสองพยางค์ เช่น บิดา มารดา เชษฐา กนษิ ฐา ยาตรา ธานี จนั ทร เป็นตน้
- คำสามพยางค์ เช่นโทรเลข โทรศัพท์ พาหนะ จักรยาน ปรารถนา บริบรู ณ์ เปน็ ต้น
- คำมากกว่าสามพยางค์ เชน่ กัลปาวสาน สาธารณะ ประกาศนียบตั ร เปน็ ต้น

มคี ำควบกล้ำใชม้ ากขนึ้ โดยธรรมชาตขิ องภาษาไทยจะไม่มีคำควบกล้ำเมื่อรับภาษาอนื่ เข้ามาเป็นเหตุ
ใหม้ คี ำควบกลำ้ มากขึ้น เช่น บาตร ศาสตร์ ปราศรัย โปรด เคลียร์ เอ็นทรานซ์ เป็นต้น

มคี ำไวพจนใ์ ช้มากข้ึน (คำไวพจน์ คือ คำท่ีมีความหมายเหมือนกนั ) ซง่ึ สะดวกและสามารถเลอื กใช้
คำไดเ้ หมาะสมตามความตอ้ งการและวตั ถุประสงค์ เชน่

นก บุหรง ปักษา ปกั ษิน วหิ ค สกุณา
มา้ พาชี อาชา อัศวะ สนิ ธพ หยั
ดอกไม้ กรรณิกา บุปผชาติ สมุ าลี บหุ งา ผกา
ท้องฟ้า คคนานต์ ทิฆมั พร อัมพร นภดล โพยม
นำ้ คงคา ชลาลัย ธารา สาคร มหรรณพ
พระจนั ทร์ แข จันทร์ รัชนกี ร นิศากร บหุ ลนั

มตี ัวสะกดไม่ตรงตามมาตรา คำไทยแท้สว่ นใหญ่มีตวั สะกดตรงตามมาตรา เมื่อไดร้ ับอิทธพิ ล
ภาษาตา่ งประเทศ คำใหม่จึงมตี ัวสะกดไมต่ รงตามมาตราจำนวนมาก เชน่ พพิ าท โลหติ สงั เขป มิจฉาชพี
นิเทศ ประมาณ คริสต์ เคเบลิ ดเี ซล โฟกสั เปน็ ตน้

ทำให้โครงสร้างของภาษาเปลีย่ นไป เชน่
- ใช้คำ สำนวน หรอื ประโยคภาษาตา่ งประเทศ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ เชน่

สำนวนภาษาตา่ งประเทศ เขาพบตัวเองอย่ใู นห้อง
สำนวนภาษาไทย เขาอยู่ในห้อง
- ใชค้ ำภาษาต่างประเทศปนกบั ภาษาไทยทัง้ ๆ ที่บางคำมีคำภาษาไทยใช้ เชน่
ฉันไมม่ ายด์ เธอไมแ่ คร์ เขาไม่เคลยี ร์

40

แบบฝึกทกั ษะเร่ืองคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

กิจกรรมที่ ๑ สาเหตุทีภ่ าษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย
คำชี้แจง จงเลอื กพยัญชนะหนา้ คำตอบมาใสห่ น้าข้อทมี่ ีข้อความที่มีความสัมพนั ธก์ นั อย่างถูกต้อง

การตดิ ต่อสัมพันธก์ นั ทำให้ภาษาต่างประเทศเขา้ มาปะปนอย่ใู นภาษาไทย ด้วยสาเหตุ หลาย
ประการ ใหน้ กั เรียนเลือกคำตอบทส่ี ัมพันธก์ ันอย่างถูกต้อง

ก. ความสัมพันธ์ทางดา้ นสภาพภูมศิ าสตร์
ข. ความสัมพนั ธท์ างดา้ นประวัติศาสตร์
ค. ความสมั พนั ธ์ทางด้านศาสนา
ง. ความสมั พนั ธท์ างดา้ นการคา้
จ. ความสมั พนั ธท์ างด้านวรรณคดี
ฉ. ความสัมพันธท์ างดา้ นวัฒนธรรมและประเพณี
ช. ความสมั พนั ธท์ างดา้ นการศกึ ษาและวิทยาการด้านตา่ ง ๆ
ซ. ความสมั พันธ์ทางการทตู
ฌ. อพยพย้ายถน่ิ ฐาน
ญ. ความสัมพันธส์ ว่ นตัวกับคนต่างชาติ

41

๑. ประเทศไทยมีอาณาเขตตดิ ต่อกบั ประเทศต่าง ๆ คนไทยท่ีอยูอ่ าศัยบริเวณ
.............. ชายแดนเดินทางข้ามแดนไปมาหาสกู่ ัน มคี วามเกยี่ วข้องสัมพันธ์กันจึงมีการ
แลกเปลย่ี นภาษากัน
๒.
.............. คนไทยจำนวนมากท่ีคบหาสมาคมกบั คนต่างชาตหิ รือท่ีสมรสกับคนตา่ งชาติ
ทำให้มีการถ่ายทอดแลกเปลยี่ นกันในทางภาษา ใช้ทัง้ ภาษาไทยและ
๓. ภาษาตา่ งประเทศในครอบครัว
..............
ชนชาติไทยเป็นชนชาติทมี่ ีประวตั ิศาสตรอ์ นั ยาวนาน มีการอพยพโยกย้ายถิ่น
๔. ทำศึกสงครามกบั ชนชาตอิ น่ื มีการกวาดต้อนเชลยศกึ และประชาชนใหม้ าอาศยั
.............. อยใู่ นประเทศไทย
๕.
.............. การตดิ ต่อคา้ ขาย แลกเปลยี่ นสนิ คา้ กับชนชาติตา่ ง ๆ มาเป็นเวลาอนั ยาวนาน
มีการใช้ภาษาตา่ งประเทศในวงการธุรกจิ การคา้ มากข้นึ
๖.
.............. จากการไปศึกษาที่ตา่ งประเทศ ทำให้ได้ใช้ และพูดภาษาอ่ืน ๆ และรบั เอา
๗. วทิ ยาการตา่ ง ๆ เมื่อสำเร็จการศึกษา จงึ นำภาษาของประเทศน้ันมาใชป้ ะปน
.............. กับภาษาของตน

๘. การอพยพยา้ ยถน่ิ ฐานมาจากสาเหตุหลายประการ เช่น สภาพเศรษฐกจิ
.............. ตอ้ งไปประกอบอาชพี ยังประเทศตา่ ง ๆ ภยั สงคราม การเมืองการปกครอง

๙. การเจริญสมั พันธไมตรีทางการทตู การติดต่อทางการทูต ย่อมทำให้ภาษา
.............. ของเจา้ ของถนิ่ เดิมหรอื ผอู้ พยพโยกยา้ ยมาใหมน่ ำมาใชร้ ว่ มกัน เชน่ องั กฤษ
ฝร่งั เศส
๑๐.
.............. วรรณคดอี ินเดยี ทีไ่ ทยนำเข้ามา เช่น เรือ่ งมหากาพย์รามายณะ และมหาภารตะ
แตง่ ขึ้นเป็นภาษาสันสกฤต อิเหนาเปน็ วรรณคดีท่ีมีเค้าเรื่องมาจากเร่ืองดาหลงั
ของชวา

คนไทยมเี สรีภาพในการนบั ถือศาสนามาเปน็ เวลาชา้ นาน เม่ือนบั ถือศาสนาใด
กย็ ่อมไดร้ ับถ้อยคำภาษาท่ีใชใ้ นคำสอน หรือคำเรยี กช่ือต่าง ๆ ในทางศาสนา
ของศาสนานัน้ ๆ

การนำวัฒนธรรมและประเพณที เ่ี คยยดึ ถือปฏบิ ตั ิ ถ้อยคำภาษาทเ่ี ก่ยี วข้อง
กบั วฒั นธรรมและประเพณเี หล่านัน้ ก็กลายมาเปน็ ถ้อยคำภาษาทีเ่ กย่ี วข้อง
กบั ชีวติ ประจำวันของคนไทย

42

แบบฝกึ ทักษะเรื่องคำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

กิจกรรมที่ ๒ คำภาษาไทยที่ยมื มาจากภาษาต่างประเทศ

คำชี้แจง จงเลือกคำภาษาตา่ งประเทศท่ีเข้ามาปะปนในภาษาไทยด้วยสาเหตตุ ่างๆ มาเตมิ ในตาราง ให้
ถูกต้อง

ศีล พาณิชย์ ปญั ญา อสัญแดหวา หนุ้

กงเตก๊ เทคโนโลยี กระยาหงนั เซียมซี ทฤษฎีบท

ความสัมพันธ์ทางดา้ นศาสนา
ความสัมพันธ์ทางด้านการค้า
ความสัมพันธท์ างดา้ นวรรณคดี
ความสัมพนั ธ์ทางด้านวัฒนธรรมและประเพณี
ความสัมพนั ธท์ างด้านการศึกษาและวทิ ยาการด้านต่างๆ

43

แบบฝึกทกั ษะเรือ่ งคำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

กจิ กรรมท่ี ๓ คำภาษาไทยที่ยืมมาจากภาษาตา่ งประเทศ
คำชแี้ จง จงเลอื กคำภาษาต่างประเทศของแตล่ ะภาษามาเติมในตารางให้ถูกต้อง

วิชา สนั ติ กริช ปาหนนั เปิงมาง พลาย

กิโมโน สุก้ียาก้ี กว๋ ยเต๋ียว เตา้ ฮวย บำเพ็ญ เสวย

ครัวซองต์ บฟุ เฟต่ ์ โฆษณา ภรรยา กอลฟ์ นิวเคลียร์

หม่อง สว่ ย

บาลี
สนั สกฤต
จีน
อังกฤษ
เขมร
ชวา-มลายู
ฝร่ังเศส
ญ่ปี นุ่
มอญ
พมา่

44

แบบฝึกทักษะเร่ืองคำภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

กิจกรรมที่ ๔ อทิ ธิพลของภาษาตา่ งประเทศทม่ี ตี อ่ ภาษาไทย
คำชีแ้ จง จงเติมเครื่องหมาย / หน้าข้อความที่ถกู ต้อง และเตมิ เคร่ืองหมาย  หน้าขอ้ ความท่ผี ิด

เครอื่ งหมาย ขอ้ ความ

๑. ภาษาไทยเปน็ ภาษาตระกูลคำโดด เม่ือยมื คำภาษาอน่ื มาใช้
ทำใหค้ ำมมี ากพยางค์ขน้ึ
๒. โดยธรรมชาติของภาษาไทยจะไม่มคี ำควบกลำ้ เมื่อรับภาษาอน่ื
เข้ามาใช้ เป็นเหตใุ ห้มีคำควบกลำ้ มากขึ้น
๓. นก พาชี ปกั ษา อาชา วหิ ค สกณุ า เป็นคำไวพจน์ทมี่ ีความหมาย
เหมือนกันท้ังหมด
๔. คำไทยแทส้ ่วนใหญม่ ตี ัวสะกดตรงตามมาตรา เม่ือไดร้ ับอทิ ธพิ ล
ภาษาต่างประเทศ คำใหม่จงึ มตี วั สะกดไม่ตรงตามมาตราจำนวนมาก
๕. เมอ่ื ไทยได้รับอิทธพิ ลภาษาต่างประเทศ ทำให้โครงสร้างของภาษา
ไมเ่ ปล่ียนแปลง

45

แบบทดสอบหลังเรียน

แบบฝึกทักษะเรือ่ งคำภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

คำชี้แจง ใหน้ ักเรียนทำเครอื่ งหมาย  ทับในช่องตัวอักษร ก, ข, ค, ง ที่เห็นว่าถูกท่ีสุดเพยี งคำตอบ
เดียวในกระดาษคำตอบ

๑. “คนไทยมีเสรภี าพในการนบั ถอื ศาสนา เมอ่ื นับถือศาสนาใดก็ตามย่อมไดร้ ับถ้อยคำภาษาท่ีใช้
ในคำสอนหรือคำเรียกช่อื ตา่ งๆของศาสนานัน้ มาปะปนอย่ใู นภาษาไทย” จากข้อความดังกล่าว
ความสัมพันธ์ข้อใดถูกต้อง

ก. ความสัมพนั ธท์ างด้านประวตั ิศาสตร์
ข. ความสัมพนั ธ์ทางด้านภมู ศิ าสตร์
ค. ความสัมพนั ธท์ างดา้ นวัฒนธรรมและประเพณี
ง. ความสมั พนั ธ์ทางดา้ นศาสนา
๒. “คนไทยทอ่ี าศัยอยู่บรเิ วณชายแดนมีความเกี่ยวพันกับชนชาตติ า่ งๆโดยปรยิ าย มกี ารเดินทาง
ขา้ มแดนไปมาหาสู่กนั แต่งงานกันเป็นญาติกนั ” จากข้อความดงั กลา่ วความสัมพนั ธข์ ้อใดถูกต้อง

ก. ความสัมพนั ธ์กันทางเชอ้ื ชาติและถน่ิ ท่ีอยู่อาศยั ตามภูมศิ าสตร์
ข. ความสัมพันธ์ทางดา้ นวฒั นธรรมและประเพณี
ค. ความสมั พนั ธท์ างดา้ นการคา้
ง. ความสมั พนั ธ์ทางการทตู
๓. ข้อใดไม่ใช่สาเหตทุ ี่ทำให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนในภาษาไทย

ก. ความสัมพนั ธ์กันทางเชอ้ื ชาติและถ่ินที่อยู่อาศัยตามภมู ิศาสตร์
ข. ความสัมพนั ธ์ทางด้านสงครามการคา้
ค. ความสัมพนั ธ์ทางด้านความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
ง. ความสมั พนั ธ์ทางด้านศาสนา
๔. ดว้ ยเหตุทวี่ รรณคดที ำให้ภาษาสนั สกฤตและภาษาชวาเข้ามาปะปนในภาษาไทยน้นั มีอิทธิพล มาจาก
ความสัมพนั ธ์ดา้ นใด

ก. ความสัมพนั ธท์ างดา้ นวรรณคดี
ข. ความสมั พันธ์ส่วนตวั กับคนต่างชาติ
ค. ความสัมพันธ์ทางดา้ นวฒั นธรรมและประเพณี

46

ง. ความสัมพนั ธท์ างดา้ นประวตั ิศาสตร์
๕. จากอทิ ธิพลของภาษาต่างประเทศท่ีมตี อ่ ภาษาไทย ทำให้ลกั ษณะของภาษาไทยเปล่ยี นไป จากเดมิ

คือคำมีพยางค์มากข้นึ คำในขอ้ ใดมี ๓ พยางค์ทกุ คำ

ก. โทรศัพท์ ปรารถนา ข. อุทกภัย จนั ทร

ค. ยาตรา จกั รยาน ง. สาธารณ มารดา

๖. ข้อใดเป็นคำทเ่ี กดิ จากความก้าวหน้าทางวทิ ยาการและเทคโนโลยี

ก. ปญั ญา ศลี
ข. ปฏกิ ริ ิยา เซยี มซี

ค. คอมพิวเตอร์ ทฤษฎบี ท

ง. ทรพั ย์ ห้นุ

๗. ภาษาต่างปะเทศท่เี ขา้ มาปะปนในภาษาไทยดว้ ยสาเหตตุ ่าง ๆ มอี ทิ ธิพลตอ่ ภาษาไทย คอื ทำให้
ลักษณะของภาษาไทยเปลี่ยนไปจากเดิม ข้อใดกลา่ วไมถ่ ูกตอ้ ง

ก. คำมีพยางค์มากขึน้

ข. เกิดความยงุ่ ยากในการใชค้ ำ

ค. มคี ำควบกล้ำใชม้ ากข้ึน

ง. มีคำไวพจน์ใช้มากข้ึน

๘. ข้อใดคอื คำที่มคี วามหมายเหมอื นกันทงั้ หมด

ก. นก ปักษา สกณุ า วหิ ค

ข. มา้ พาชี อาชา อศั วะ

ค. ดอกไม้ กรรณกิ า บุปผชาติ สุมาลี

ง. นำ้ คงคา ธารา รัชนีกร