การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ม.4 ppt

การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น

การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ม.4 ppt

การแสดงความคิดเห็น คือ การแสดงอารมณ์ ความรู้สึก ความคิด และข้อสันนิษฐานนั้นออกมาให้ผู้ฟัง ผู้อ่านได้รับรู้ เมื่อกล่าวถึงความคิดเห็น จำเป็นต้องกล่าวถึงข้อเท็จจริงด้วย ข้อเท็จจริงคือ ข้อมูล ปรากฏการณ์ และเรื่องราวต่างๆ ตามที่ปรากฏแก่บุคคลทั่วไป  
การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ม.4 ppt


เขียนโดย Krit ที่09:16

การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ม.4 ppt

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

. การอ่าน า ความการอ่านขยายความ คือ การอ่านเพื่อน�าข้อมูลมาอธิบายเพิ่มเติมให้มีความละเอียดมากขึ้นจากเนื้อความเดิม ทั้งนี้การอ่านขยายความสามารถใช้วิธีการยกตัวอย่างประกอบ หรือการอ้างอิง เปรียบเทียบ เพื่อให้ได้เนื้อความที่กว้างขวางออกไปจนเป็นที่เข้าใจยิ่งขึ้นตัวอยา การอาน ่อ ยายความพระพุทธเจ้าตรัสสอนว่าเปมโต ชายตี โสโกเปมโต ชายตี ภย�เปมโต วิป ปมุต ตส ส นต ถี โสโก กุโต ภย�ความโศกเกิดจากความรัก ความกลัวเกิดจากความรัก ผู้ที่สละความรักได้แล้วก็ไม่โศก ก็ไม่กลัวพุทธภาษิตนี้ให้ข้อคิดว่า ความรักเป็นต้นเหตุให้เกิดความโศกและความกลัว ผู้ที่ละความรักได้แล้วย่อมไม่มีความโศก ไม่มีความกลัวเมื่อบุคคลมีความรักต่อสิ่งใดหรือคนใด เขาก็ต้องการให้สิ่งนั้น หรือคนนั้นคงอยู่ให้เขารักตลอดไป มนุษย์โดยทั่วไปย่อมจะกลัวว่าสิ่งนั้นๆ จะสูญหาย หรือคนที่ตนรักจะจากไป ทั้งที่โดยก ธรรมชาติแล้ว ทุกสิ่งทุกอย่าง รวมทั้งมนุษย์และสัตว์ทั้งหลายย่อมต้องเปลี่ยนแปลง สูญสลายหรือแตกดับท�าลายไปตามสภาพของมันเป็นแน่แท้ ถ้าบุคคลรู้ความเป็นจริงในข้อนี้ จะสามารถละความรัก ความผูกพัน และความติดใจที่มีต่อสิ่งนั้นเสีย เพื่อว่าเขาจะไม่ต้องเศร้าโศก ไม่ต้องกลัวอีกต่อไปจะดูจิตใจข้าทาส มิตร และภรรยาว่าดีหรือไม่ ให้ดูจากการกระท�าของเขาตัวอยา การอาน ่อ ยายความดูข้าดูเมื่อใช้ การหนักดูมิตรพงศารัก เมื่อไร้ดูเมียเมื่อไข้จัก จวนชีพอาจจักรู้จิตไว้ ว่าร้าย ดี(โคลงโลกนิติ : สมเด็จ กรมพระยาเดชาดิศร)45 â Å âÅ¡¹ ÊØÀÒÉÔµ ¤×Í ¶ŒÍ¤íÒÊíҹǹ·Õè¡Å‹ÒÇÊ׺µ‹Í¡Ñ¹ÁÒªŒÒ¹Ò¹ÁÕ¤ÇÒÁËÁÒÂ໚¹¤µÔÊ͹㨠´Ñ§·Õè»ÃÒ¡ ã¹¾ÃÐäµÃ» ¡ËÃ×Í·ÕèàÃÕ¡NjҾط ÒʹÊØÀÒ Ôµ «Öè§à»š¹¤íÒÊ͹¢Í§ÊÁà´ç¨¾ÃÐÊÑÁÁÒÊÑÁ¾Ø· à¨ŒÒ «Ö觷ç¡Å‹ÒÇäÇŒã¹ÃÙ»¢Í§¢ŒÍ¤ÇÒÁ¢¹Ò´ÊÑé¹ áµ‹ÁÕà¹×éÍËÒáÅÐÊÒÃÐÍѹÅÖ¡«Öé§ ÊÒÁÒö¹íÒä»ãªŒà»š¹¢ŒÍ¤Ô´ã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇԵ䴌໚¹Í‹ҧ´ÕÍ‹ҧäáçµÒÁ ã¹ÊÁѵ‹Íæ ÁÒ ä´ŒÁÕ¡ÒùíҾط Òʹ ÊØÀÒ Ôµ «Öè§áµ‹à´ÔÁ໚¹¤Ò¶ÒÀÒ ÒºÒÅÕ ÁÒá»ÅáÅÐàÃÕºàÃÕ§ᵋ§à»š¹ÇÃó¤´Õ´ŒÇ¤íÒ»Ãоѹ »ÃÐàÀ·µ‹Ò§æ ·ÕèÃÙŒ¨Ñ¡¡Ñ¹Í‹ҧá¾Ã‹ËÅÒ 䴌ᡋ âÅ¡¹ÔµÔ¤íÒâ¤Å§ ËÃ×Íâ¤Å§âÅ¡¹ÔµÔ ¾ÃйԾ¹ ã¹ÊÁà´ç¨ ¡ÃÁ¾ÃÐÂÒà´ªÒ´Ô Ã «Öè§ä´ŒÃѺ¾ÃСÃسÒâ»Ã´à¡ÅŒÒ¨Ò¡¾ÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃйÑè§à¡ÅŒÒ ਌ÒÍÂÙ‹ËÑÇ ãËŒ·Ã§áµ‹§¢Öé¹à¾×è͹íÒä»»ÃдѺäÇŒ·Õè ÒÅÒ·Ô Ãͺ¾ÃÐÁËÒ਴Տ ´ŒÒ¹à˹×Í ã¹¤ÃÒÇ·ÕèÁÕ¡Òû ÔÊѧ¢Ã³ÇÑ´¾ÃÐવؾ¹ÇÔÁÅÁѧ¤ÅÒÃÒÁ àÁ×èÍ ¾ â´ÂÁÕà¹×éÍËÒÇ‹Ò´ŒÇÂÀÒ Ôµã¹´ŒÒ¹µ‹Ò§æ ·Ñ駷ҧâÅ¡áÅзҧ ÃÃÁ «Öè§ÊÒÁÒö¹íÒä»»ÃѺ㪌㹪ÕÇÔµãËŒ´íÒà¹Ô¹ä»ã¹·Ò§·Õè¶Ù¡µŒÍ§´Õ§ÒÁสรรพ์สาระการดูจิตใจผู้ใดว่าร้ายหรือไม่ ต้องสังเกตจากการกระท�าของคนผู้นั้น เช่น จะดูว่าข้าทาสมีความอดทนขยันขันแข็งหรือไม่ ให้สังเกตเมื่อใช้งานหนัก เพราะถ้าตั้งใจท�างาน หมายความว่าข้าทาสนั้นไม่เกียจคร้าน จะดูเพื่อนหรือญาติพี่น้องว่าจริงใจหรือไม่ ให้ดูเมื่อเรายากไร้ เพราะเมื่อเราร�่ารวยย่อมมีเพื่อนฝูงและญาติพี่น้องมารุมล้อมมากมาย แต่เมื่อถึงคราวล�าบากญาติมิตรที่จริงใจอย่างแท้จริงเท่านั้นที่จะอยู่เคียงข้างคอยช่วยเหลิือ และจะดูว่าภรรยารักสามีจริงหรือไม่ ให้สังเกตเมื่อสามีป วยไข้ว่าภรรยาจะคอยปรนนิบัติดูแลสามีหรือไม่การอ่านเป็นการรับสารที่ผู้เขียนสื่อให้ผู้อ่านเข้าใจความตามตัวอักษร ผู้อ่านจะต้องรู้ความหมายของค�าศัพท์ ส�านวน โวหารในเรื่อง อ ิบายความหมายได้ถูกต้อง เรียกว่า การอ่านแปลความ ถ้าผู้อ่านพิจารณาเนื อหาสาระ ใจความส�าคั และบริบท หรือศ กษาจากภูมิหลังของผู้เขียน ผู้อ่านจะค้นพบความหมายที่แฝงไว้ในเนื อหานั น เรียกว่า การอ่านตีความ การตีความเรื่องใดเรื่องหน ่ง ผู้อ่านแต่ละคนอาจตีความได้ไม่เหมือนกัน ทั งนี อยู่ที่ความรู้เดิมหรือประสบการณ์เดิมของผู้อ่าน การอ่านจะท�าให้ผู้รับสารเข้าใจได้ดียิ่งข น หากผู้อ่านรู้จักการอ ิบาย ขยายความให้ผู้อื่นรับรู้ด้วย การขยายความจ งเป็นทักษะในการส่งสารที่จ�าเป็นต้องฝึกฝน4 ะ·Ñ¡ СÒÃ͋ҹ໚¹·Ñ¡ зÕè ¡ ¹áÅÐ¾Ñ ¹Òä´Œ¨Ò¡¡Òà ¡àÅ‹ÒàÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹ãËŒ¼ÙŒÍ×è¹ §áÅСÒúѹ·Ö¡ÊÒÃзÕèä´ŒÃѺ¨Ò¡¡ÒÃÍ‹Ò¹â´ÂàÃÕºàÃÕ§໚¹ÀÒ Ò¢Í§µ¹àͧ ¡ÒÃ¾Ñ ¹Ò·Ñ¡ СÒÃÍ‹Ò¹ÊÒÁÒö ¡ä´Œ¨Ò¡¡ÒÃÍ‹Ò¹àÃ×èͧÊÑé¹æ ¡‹Í¹ áŌǨ֧¹íÒàÃ×èͧ·ÕèÂÒÇ¢Öé¹ÁÒÍ‹Ò¹ ¢³ÐÍ‹Ò¹µŒÍ§¨Ñºã¨¤ÇÒÁÊíÒ¤Ñ ¢Í§àÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹´ŒÇ «Ö觡ÒÃ¾Ñ ¹Ò·Ñ¡ СÒÃÍ‹Ò¹ÁÕá¹Ç·Ò§» ÔºÑµÔ ´Ñ§¹Õé ¡‹Í¹Í‹Ò¹ ¼ÙŒÍ‹Ò¹µŒÍ§¡íÒ˹´¨Ø´»ÃÐʧ¤äÇŒã¹ã¨¡‹Í¹Ç‹Ò¨ÐÍ‹Ò¹à¾×èÍÍÐäà ઋ¹ à¾×èͤÇÒÁÃÙŒ à¾×èͤÇÒÁ¤Ô´ ËÃ×Íà¾×èͤÇÒÁºÑ¹à·Ô§ áÅеÑ駻ÃÐà´ç¹¤íÒ¶ÒÁ·Õ赌ͧ¡ÒÃÃÙŒ¨Ò¡àÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹ ·Ñ駹ÕéàÁ×èÍÍ‹Ò¹¨º¨Ðä´Œ»ÃÐàÁԹNjҡÒÃÍ‹Ò¹¤ÃÑ駹Õéä´Œ¤íҵͺ·Õ赌ͧ¡ÒÃËÃ×ÍäÁ‹ ¢³ÐÍ‹Ò¹ ¼ÙŒÍ‹Ò¹µŒÍ§ÁÕÊÁÒ ÔáÅФÇÒÁʹ㨨´¨‹Íµ‹ÍàÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹â´ÂÊÒÁÒöµÍº¤íÒ¶ÒÁ·ÕèµÑé§änj䴌áÅŒÇà¢Õ¹»ÃÐà´ç¹ÊíÒ¤Ñ ¨Ò¡¡ÒÃ͋ҹ䴌 ËÅѧ͋ҹ ¼ÙŒÍ‹Ò¹µŒÍ§ÊÒÁÒöÊÃػ㨤ÇÒÁÊíÒ¤Ñ ËÃ×ÍÊÃØ»»ÃÐà´ç¹ÊíÒ¤Ñ ¨Ò¡àÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹´ŒÇÂÀÒ Ò¢Í§µ¹àͧ·Õè¡ÃЪѺ 䴌㨤ÇÒÁ â´ÂÍÒ¨ÊÃØ»´ŒÇ¡ÒÃà¢Õ¹ ¡Ò÷íÒá¼¹ÀÒ¾â¤Ã§àÃ×èͧ ¡Òþٴ ËÃ×Í¡ÒÃàÅ‹ÒàÃ×èͧ‹ÍãËŒ¼ÙŒÍ×è¹ § »ÃÐàÁÔ¹¼Å¡ÒÃÍ‹Ò¹¢Í§µ¹Ç‹Ò ä´ŒÊÒÃеÒÁ·ÕèµÑ駨ش»ÃÐʧ¤äÇŒËÃ×ÍäÁ‹ áÅÐä´ŒÃѺ»ÃÐ⪹ ËÃ×ͤÇÒÁÃÙŒà¾ÔèÁàµÔÁËÃ×ÍäÁ‹ Í‹ҧäà â´Âà»ÃÕºà·ÕºàÃ×èͧ·ÕèÍ‹Ò¹¡Ñº»ÃÐʺ¡Òóà´ÔÁ¨Ð·íÒãËŒ·ÃÒºÇ‹Ò ¡ÒÃÍ‹Ò¹ª‹ÇÂ¾Ñ ¹Ò¤ÇÒÁÃÙŒ ¤ÇÒÁ¤Ô´ËÃ×ÍäÁ‹ µÃǨÊͺNjҨ´ºÑ¹·Ö¡ÊÒÃÐÊíÒ¤Ñ ¤Ãº¶ŒÇ¹µÒÁ·Õ赌ͧ¡ÒÃËÃ×ÍäÁ‹ ËÒ¡äÁ‹¤Ãº¶ŒÇ¹¤ÇÃŒ͹¡ÅѺä»Í‹Ò¹ áŌǷíҺѹ·Ö¡ÊÃØ»ÊÒÃÐÊíÒ¤Ñ ãËÁ‹ÍÕ¡¤ÃÑé§ ¹íÒ¤ÇÒÁÃÙŒ·Õèä´ŒÃѺ¨Ò¡¡ÒÃÍ‹Ò¹ÁÒ»ÃÐÂØ¡µãªŒã¹¡ÒôíÒà¹Ô¹ªÕÇÔµ áÅйíÒ᧋ÁØÁ·Õè´ÕÁÒ¾Ñ ¹Ò Ñ¡ÂÀÒ¾¢Í§µ¹àͧการพั นาทักษะการอ่านหองสมุดเปนสถานที่หนึ่งที่เงียบสงบ ชวยให ูอาน มีสมาธิในการอานหนังสือ4 ¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. นักเรียนฝึกแปลความ ตีความ และขยายความจากส�านวนสุภาษิต เช่น- รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา- รักวัวให้ผูก รักลูกให้ตี- เห็นช้างขี้ อย่าขี้ตามช้าง๒. ให้นักเรียนเลือกอธิบายศาสนสุภาษิตที่นักเรียนประทับใจ ๑ ศาสนสุภาษิตหน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนในชั้นเรียน๓. ให้นักเรียนรวบรวมค�าที่สื่อต่างๆ นิยมตั้งฉายานักกี า นักร้อง นักแสดงมาแปลความหมายของฉายาเหล่านั้นให้ถูกต้องตรงตามความหมาย๑. การอ่านแปลความมีความส�าคัญต่อการอ่านอย่างไร๒. การบอกความหมาย การอธิบาย เป็นการอ่านในขั้นตอนใด เพราะเหตุใด๓. บริบทหรือสิ่งแวดล้อมท�าให้ความหมายของค�าเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร จงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ๔. การตีความไม่ใช่การถอดค�าประพันธ์ นักเรียนเห็นด้วยหรือไม่ เพราะเหตุใด๕. การอ่านแปลความ ตีความ และขยายความ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร4 นวยการ รียนร ที่ตอนที่ ôสาระการ รียนร กนกลา • การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น• มีมารยาทในการอ่านการอานเพื่อแสดงความคิดเห็นการอานของแตละ ุคคลยอมมี ุดประสงคแตกตางกันออกไป ึ่ง อาน าเปนตองทรา ุดมุงหมายกอนอานทุกครั้ง เพราะการอานชวยใหเกิดการเรียนร  เปนการชวยใหไดรั ขาวสาร สาระตางๆ เพื่อประกอ การตัดสินใ ชวยใหแกไขป หา ท าใหเกิดความเขาใ ที่ลึก ึ้ง และน าความร ไปใชในการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกั เรื่องที่อานไดตัว ี วัด• วิเคราะห์ วิจารณ์ แสดงความคิดเห็น โต้แย้งเกี่ยวกับเรื่องที่อ่านและเสนอความคิดใหม่ อย่างมีเหตุผล ท ๑ ๑ ม ๔-๖ ๕ • ตอบค�าถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่ก�าหนด ท ๑ ๑ ม ๔-๖ ๖ • อ่านเรื่องต่างๆ แล้วเขียนกรอบแนวคิด ผังความคิด บันทึก ย่อความ และรายงาน ท ๑ ๑ ม ๔-๖ • มีมารยาทในการอ่าน ท ๑ ๑ ม ๔-๖ ๑. การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น หมายถึง การอ่านที่ผู้อ่านพิจารณาเรื่องที่อ่านด้วยเหตุผล หรือหลักวิชาที่เกี่ยวข้องกับการวิเคราะห์ วิจารณ์ แล้วแสดงความคิดเห็นของตนที่มีต่อองค์ประกอบส่วนต่างๆ ของเรื่อง เช่น ชื่อเรื่อง แนวคิด เนื้อหาสาระ กลวิธีในการน�าเสนอ ภาษาที่ผู้เขียนเลือกใช้ เป็นต้น โดยอาจแสดงออกด้วยวิธีการเขียน หรือการพูด ๑.๑ องค์ประกอบของการแสดงความคิดเห็น ประกอบด้วยส่วนส�าคัญ ๓ ส่วน๑) ที่มา คือ ส่วนที่เป็นเรื่องราวต่างๆ หรือต้นเรื่องที่ผู้อ่านต้องการจะแสดงความคิดเห็น การอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น ผู้อ่านอาจเป็นผู้เลือกเรื่องเอง หรือถูกก�าหนดก็ได้๒) ข้อสนับสนุนคือ ข้อเท็จจริง หลักการ รวมทั้งข้อมูลอันเป็นความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งผู้แสดงความคิดเห็นน�ามาประกอบเพื่อให้ความคิดเห็นของตนมีความน่าเชื่อถือ เพราะการแสดงความคิดเห็นด้วยอารมณ์ ความรู้สึกไม่ใช่แนวทางการแสดงความคิดเห็นที่เหมาะสม๓) ข้อสรุปคือ สิ่งที่ต้องการสื่อให้ผู้รับสารยอมรับ หรือน�าไปปฏิบัติ โดยข้อสรุปอาจเป็นข้อเสนอแนะ ข้อสันนิษฐาน หรือการประเมินค่าสารที่ได้รับ๑.๒ แนวทางการอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็นเพื่อให้ผู้อ่านมีข้อมูลที่จะน�าไปใช้แสดงความคิดเห็น และเพื่อให้ความคิดเห็นที่สื่อสารได้รับการยอมรับ จ�าเป็นต้องมีแนวทางใช้ฝึกปฏิบัติ ดังนี้๑. ผู้อ่านต้องจับใจความส�าคัญจากเรื่องที่อ่าน เพื่อให้รับรู้ประเด็นต่างๆ ที่เป็นสาระส�าคัญของเรื่อง ในการจับใจความส�าคัญท�าได้โดยพิจารณาชื่อเรื่อง ชื่อ ชื่อตอน ชื่อหัวข้อต่างๆ และการจับใจความส�าคัญในแต่ละย่อหน้า เพื่อให้ทราบประเด็นหลัก ประเด็นย่อย ๒. ผู้อ่านต้องพิจารณารายละเอียดอื่นๆ นอกเหนือจากเนื้อหา เช่น ข้อมูลทางสถิติ ตัวอย่าง กรณีศึกษา ตาราง เพราะอาจน�ามาใช้ประกอบการแสดงความคิดเห็นได้ ๓. ผู้อ่านต้องวิเคราะห์ข้อเท็จจริงที่ปรากฏในเรื่อง โดยมีเกณฑ์ว่า ข้อเท็จจริง หมายถึง ข้อมูลที่เป็นเรื่องราว เหตุการณ์ สถานการณ์ที่แสดงให้เห็นว่าใคร ท�าอะไร เมื่อไร ที่ไหน อย่างไร อาจเป็นการบรรยาย พรรณนา ตัวเลข สถิติ แผนภูมิ รูปภาพ การวิเคราะห์ข้อเท็จจริงที่ปรากฏในเรื่อง จะช่วยให้ผู้อ่านสรุป หรือแสดงความคิดเห็นได้ว่า ผู้เขียนน�าเสนอเรื่องโดยการบิดเบือนข้อเท็จจริงหรือไม่ ๔. ผู้อ่านต้องวิเคราะห์ความคิดเห็นของผู้เขียน ข้อคิดเห็น หมายถึง ความคิดความเห็นที่ผู้เขียนแสดงไว้ แม้จะไม่ใช่ข้อเท็จจริง แต่มีส่วนช่วยสะท้อนว่าผู้ส่งสารมีเจตนาอย่างไรต่อข้อเท็จจริงที่น�าเสนอ โดยข้อความที่ตามหลังค�าเหล่านี้มักจะเป็นข้อคิดเห็น คิดว่า เชื่อว่า เห็นว่า เห็นด้วย ไม่เห็นด้วย น่าจะ คง อาจจะเป็นเพราะ หรือไม่อย่างไร50 ๕. ผู้อ่านต้องตีความสาร ในกรณีที่อ่านสารประเภทเรื่องสั้น นวนิยาย บทร้อยกรองเพราะงานเขียนประเภทนี้ผู้เขียนจะไม่สื่อสารแนวคิดออกมาโดยตรง แต่จะซ่อนอยู่ในองค์ประกอบส่วนต่างๆ ของเรื่อง เช่น แสดงผ่านพ ติกรรมของตัวละคร เป็นต้น ๖. ผู้อ่านต้องพิจารณาความน่าเชื่อถือของเรื่องที่อ่าน โดยพิจารณาเบื้องต้นจากผู้ส่งสาร ว่ามีความรู้ ความช�านาญในเรื่องที่เขียนมากน้อยเพียงใด รวมถึงข้อมูลที่น�ามาใช้อ้างอิง ๗. ผู้อ่านต้องวิเคราะห์กลวิธีน�าเสนอของผู้เขียน เช่น การวางโครงเรื่อง การเปดเรื่อง การด�าเนินเรื่อง เป็นต้น โดยมีแนวทางวิเคราะห์ว่ากลวิธีน�าเสนอเหมาะสมกับเนื้อเรื่องหรือไม่และผู้เขียนเลือกใช้กลวิธีได้อย่างมีประสิทธิภาพเพียงใด ๘. ผู้อ่านต้องวิเคราะห์การใช้ภาษา สังเกตความกลมกลืนระหว่างภาษากับเนื้อเรื่อง การใช้ส�านวนโวหาร ความถูกต้องตามหลักภาษา . ผู้อ่านต้องตัดสินใจ ประเมินค่า หรือแสดงความคิดเห็นได้ว่าเรื่องที่อ่าน ดีหรือไม่ ชอบหรือไม่อย่างไร โดยให้เหตุผลประกอบ ประการส�าคัญควรมีข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ หรือเรียกว่า ติเพื่อก่อ ซึ่งสิ่งที่จะน�าไปแสดงความคิดเห็น ก็คือ ข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์ส่วนต่างๆ ของเรื่องที่อ่าน ๑.๓ ข้อควรค�านึงในการแสดงความคิดเห็น การแสดงความคิดเห็นอาจจะแสดงด้วยการพูด หรือการเขียนที่ประกอบด้วยเหตุผล มีข้อมูลหลักฐานที่ผู้อื่นจะเชื่อถือได้ การแสดงความคิดเห็นจะต้องกลั่นกรองมาเป็นอย่างดี ภาษาที่ใช้ต้องสุภาพและไม่ท�าให้ผู้อื่นได้รับความเสียหาย โดยมีข้อควรค�านึงในการแสดงความคิดเห็น ดังนี้๑) ประโยชน์ความคิดเห็นที่ดีต้องมีประโยชน์และมีคุณค่าต่อผู้อ่าน ประโยชน์ในที่นี้ต้องเป็นประโยชน์ต่อบุคคลส่วนใหญ่ไม่ใช่เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง๒) ความสมเหตุสมผลความคิดเห็นที่ดีต้องมีความสมเหตุสมผล มีข้อสนับสนุนที่มี ความน่าเชื่อถือเป็นที่ยอมรับของบุคคลทั่วไป กรณีตัวอย่างที่น�ามาอ้างต้องเป็นตัวแทนของกรณีทั้งหมดได้อย่างแท้จริง๓) ความเหมาะสมกับผู้รับสารและกาลเทศะโดยปกติแล้วการแสดงความคิดเห็นจะต้องเขียนเพื่อให้บุคคล หรือชุมชนกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งอ่าน บางเรื่องอาจน�าเสนอแก่สาธารณชนได้แต่บางเรื่องก็ไม่ควรแสดงต่อบุคคลทั่วไป ผู้เขียนจึงต้องพิจารณาสารดังกล่าวเพื่อน�าเสนอได้ถูกต้องเหมาะกับกาลเทศะ๔) การใช้ภาษาภาษาที่ใช้ต้องชัดเจนตรงตามความต้องการ เหมาะสม ไม่กระทบกระเทียบ หรือท�าให้ผู้ฟังตีความไปได้หลายแง่มุม51 ตัวอยา การอาน ่อ สด ความคิด นวัยรุ่นกับความรุนแรงนับจากต้นปีที่ผ่านมา จะมีข่าวที่วัยรุ่นก่อความรุนแรงมากมาย เช่น ข่าวที่วัยรุ่นใช้ปืนยิงเพื่อนนักเรียนเสียชีวิต ยกพวกตีกันระหว่างสถาบัน และล่าสุด คือ เมื่องานคอนเสิร์ตทรัพย์สินทางปัญญาได้มีวัยรุ่นประมาณ ๑,๐๐๐ คน ยกพวกตีกันจนท�าให้มีผู้เสียชีวิต ๒ ราย ปัญหาเหล่านี้ จัดว่าเป็นปัญหาทางสังคม ที่นับวันได้มีแนวโน้มที่แสดงออกถึงการทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ“วัยรุ่น” เป็นวัยที่ผู้คนมักเรียกกันว่า “วัยหัวเลี้ยวหัวต่อ” เพราะวัยนี้พยายามที่จะค้นหาความเข้าใจในตนเอง ยิ่งในโลกปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การติดต่อสื่อสารท�าได้อย่างรวดเร็ว ส่งผลให้โลกทัศน์ของวัยรุ่นกว้างขึ้น บางคนก็ค้นพบตนเองในทางที่ถูกต้อง แต่บางคนหันเหไปในทางที่ผิด ท�าให้เป็นบ่อเกิดของปัญหาที่เราเห็นในปัจจุบันถ้าวิเคราะห์ถึงปรากฏการณ์ของความรุนแรงที่เกิดขึ้นกับวัยรุ่นในขณะนี้ คิดว่าคงจะมีสาเหตุมาจากหลายๆ ด้าน ทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านอารมณ์ของวัยรุ่น สภาพครอบครัว สภาพสังคมต่างๆ ที่เป็นตัวหล่อหลอมพฤติกรรมของวัยรุ่นผ่านสื่อต่างๆ ทั้งภาพยนตร์ วิดีโอ เกม ที่ล้วนมีผลต่อความรุนแรง เข้าไปอยู่ในจิตใต้ส�านึก โดยที่เขาเองก็ไม่รู้ตัวสิ่งส�าคัญที่สุดที่จะบ่งชี้ถึงพฤติกรรมของวัยรุ่น คือ ครอบครัว เพราะครอบครัวเป็นสถาบันที่มีอิทธิพลส�าคัญที่สุดในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของวัยรุ่น ครอบครัวจะเป็นหน่วยพื้นฐานที่คอยเสริมสร้างประสบการณ์ของเด็กเมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่น ความสัมพันธ์กับบุคคลในครอบครัวจะยุ่งยากสลับซับซ้อนมากขึ้น และมักจะเกิดปัญหาขัดแย้งกันเสมอ อาจสังเกตได้ง่ายว่าวัยรุ่นเริ่มมีความรู้สึกอยากเป็นอิสระ ไม่อยากให้ใครมาบังคับ และต้องการเป็นตัวของตัวเอง ดังนั้น ส่วนส�าคัญที่สุด คือ พ่อ แม่ ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีให้ลูก ควรให้ค�าปรึกษา เข้าใจในชีวิตของเด็กวัยนี้ ไม่ขัดขวาง ห้ามในสิ่งที่เขาต้องการค้นหา แต่ควรให้ค�าปรึกษาที่ดีเพราะเด็กวัยนี้ยิ่งห้ามก็เหมือนยิ่งยุโดยทั่วไปแล้วเด็กวัยรุ่นมักจะเกิดความขัดแย้งกับพ่อแม่เสมอ ท�าให้หันเหชีวิตไปหาเพื่อน เป็นส่วนใหญ่ กลุ่มเพื่อนจึงเป็นสิ่งแวดล้อมที่วัยรุ่นให้ความส�าคัญเหนืออื่นใด จึงเกิดการเกาะติดความเป็นพรรค เป็นพวก สืบเนื่องไปจนถึงความเป็นสถาบัน และยึดถือปฏิบัติกฎเกณฑ์ที่รุ่นพี่ในสถาบันตั้งขึ้นเราจึงเห็นกลุ่มวัยรุ่นต่างสถาบันยกพวกตีกันมาตั้งแต่สมัยรุ่นปู่ รุ่นพ่อ สืบมาจนถึงรุ่นปัจจุบันจากสาเหตุที่ท�าให้วัยรุ่นใช้ความรุนแรงในการตัดสินปัญหา ท�าให้เราเห็นว่าครอบครัวน่าจะเป็นจุดเริ่มต้นที่ดีที่สุด ในการปลูกฝังอบรมเด็ก สร้างบุคลิกภาพที่ดีให้แก่เด็กเมื่อเขาโตขึ้นและย่างเข้าสู่วัยรุ่น พ่อ แม่ ต้องเป็นส่วนส�าคัญในการชี้แนวทางการด�าเนินชีวิต การแก้ไขปัญหาต่างๆ ด้วยวิธีที่ถูกต้อง และต้องเข้าถึงอารมณ์ความรู้สึกของวัยรุ่น ไม่ดุด่า หรือปล่อยจนเกินไป เพราะสาเหตุเหล่านี้จะท�าให้วัยรุ่นกลายเป็นคนที่ก้าวร้าว และตีตัวออกห่างจากครอบครัว ไปมั่วสุมกับเพื่อนๆ และเลือกเดินในแนวทางที่ผิดจนกลายเป็นปัญหาของสังคมอย่างที่ปรากฏในปัจจุบัน(สุชัญญา วงค์เวสช์ : นิตยสารเพื่อนวัยรุ่น)52 การ สด ความคิด น ร ่อ วัยร นกับความร น ร บทความเรื่อง วัยรุ่นกับความรุนแรง ของ สุชัญญา วงค์เวสช์ ในหนังสือนิตยสารเพื่อนวัยรุ่น เขียนขึ้นเพื่อต้องการน�าเสนอปัญหาของวัยรุ่นที่ก่อความรุนแรงอยู่ในขณะนี้ โดยผู้เขียนได้วิเคราะห์ถึงสาเหตุของสภาพปัญหาที่แท้จริงว่าเกิดจากอะไร ซึ่งสามารถน�าเสนอเรื่องราวของปัญหาได้อย่างรอบด้าน และมีความสัมพันธ์ต่อเนื่องกัน ท�าให้ผู้อ่านมองเห็นเรื่องราวได้ตลอดและสอดคล้อง น่าติดตามอ่านจนจบเรื่องสามารถชักจูงหรือโน้มน้าวให้ผู้อ่านเห็นจุดประสงค์ของผู้เขียนที่ต้องการน�าเสนอให้ทราบถึงปัญหาความรุนแรงของวัยรุ่นมาจากจุดใด ท�าให้ผู้อ่านเข้าใจจุดประสงค์ที่ผู้เขียนบทความต้องการสื่อถึงผู้อ่านได้อย่างชัดเจนตรงประเด็นและสอดคล้องกับเรื่องราวที่น�าเสนอได้เป็นอย่างดีบทความนี้เขียนน�าเสนอล�าดับเรื่องราวได้ดี โดยย่อหน้าแรกได้น�าเสนอปัญหาที่รุนแรงของวัยรุ่น ซึ่งผู้อ่านได้รับทราบจากข้อมูลข่าวสารต่างๆ ที่น�าเสนอทางวิทยุ โทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์อยู่เสมอ ท�าให้เกิดความรู้สึกร่วมกันกับปัญหานั้นเป็นอย่างดีว่านั่นคือ ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้นกับวัยรุ่นในขณะนี้ และสามารถชักน�าให้ผู้อ่านคล้อยตามไปถึงสาเหตุที่แท้จริงนั้นเริ่มต้นจากครอบครัว ดังข้อความในย่อหน้าที่สี่และย่อหน้าที่ห้าที่สนับสนุนให้เห็นอย่างเด่นชัด ช่วยให้ผู้อ่านมองเห็นประเด็นปัญหาที่หลายคนอาจมองข้ามว่าเป็นเรื่องหยุมหยิมเล็กๆ น้อยๆ แต่เรื่องราวดังกล่าวกลับเป็นปัญหาที่ส่งผลต่อการแสดงออกของวัยรุ่นในลักษณะรุนแรง เนื้อหาที่ผู้เขียนน�าเสนอจึงเป็นสิ่งกระตุ้นเตือนให้รู้จักและเข้าใจวัยรุ่นได้มากขึ้น และมองเห็นว่าปัญหาความรุนแรงของวัยรุ่นเป็นเรื่องใกล้ตัวที่ไม่ควรมองข้าม หรือไม่ให้ความส�าคัญอีกต่อไป หากแต่ควรเข้าใจและเข้าใกล้เขาให้มากที่สุด การแก้ปัญหาของวัยรุ่นจึงต้องแก้ที่สาเหตุที่ท�าให้วัยรุ่นก้าวร้าวใช้ความรุนแรงโดยมองไปที่ครอบครัวต้องเป็นผู้เริ่มแก้ปัญหาและได้มอบภาระนี้ให้เป็นหน้าที่ของพ่อแม่ ซึ่งไม่สอดคล้องกับสภาพในปัจจุบันเพราะแม่ไม่ได้มีหน้าที่รับผิดชอบดูแลท�างานภายในบ้านเพียงอย่างเดียวเหมือนในอดีต การแก้ไขปัญหาของวัยรุ่นจึงเป็นหน้าที่ของทุกคนที่เป็นสมาชิกในครอบครัวโดยต้องให้ความร่วมมือในการเอาใจใส่ดูแลวัยรุ่นมากขึ้น เพื่อให้ปัญหาความรุนแรงเกิดน้อยลง บทความนี้จึงเป็นบทความที่ให้ทั้งความรู้และข้อคิดจากเรื่องราววัยรุ่นกับความรุนแรงได้อย่างน่าสนใจ รวมทั้งการน�าเสนอเรื่องราวที่เรียบง่ายแต่หนักแน่นด้วยข้อมูลที่น�ามาประกอบกับเรื่องราว จึงท�าให้บทความเรื่องนี้มีจุดที่น่าสนใจ และน�าพาผู้อ่านให้ไปถึงจุดหมายปลายทางตามที่ผู้เขียนต้องการชี้ให้เห็นถึงการแก้ปัญหาวัยรุ่นกับความรุนแรงได้เป็นอย่างดีความคิดเห็นของแต่ละบุคคลย่อมมีความแตกต่างกันตามความรู้ ทัศนคติ ความเชื่อและประสบการณ์ อย่างไรก็ตาม ผู้อ่านสามารถฝึกฝนได้โดยเริ่มจากการเป็นนักอ่าน ท�าความเข้าใจหลักการอ่านเพื่อแสดงความคิดเห็น และคิดพิจารณาอย่างมีเหตุผล ตลอดจนถ่ายทอดด้วยภาษาที่ถูกต้อง เพื่อให้ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างมีคุณค่า53 ¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนอ่านข่าวจากหนังสือพิมพ์ แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็นจากข่าว เพื่อฝึกกระบวนการแสดงความคิดเห็นร่วมกัน๒. ให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับหนังสืออ่านนอกเวลา ๑ เรื่อง แล้วร่วมกัน อภิปรายและสรุปความคิดเห็นตามประเด็นที่ได้ก�าหนดไว้๓. ให้นักเรียนหาบทความแสดงความคิดเห็นมาศึกษาหลักการแสดงความคิดเห็น เพื่อใช้เป็นแนวทางในการอ่าน และแสดงความคิดเห็นจากการอ่านได้อย่างมีประสิทธิภาพ๑. เหตุใดจึงกล่าวว่า การแสดงความคิดเห็นเป็นเรื่องเฉพาะตัวของผู้อ่าน จงอธิบายพอสังเขป๒. การเขียนเป็นงานสาธารณะที่ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็นหรือวิจารณ์ได้ นักเรียนเห็นด้วยกับข้อความนี้หรือไม่ เพราะเหตุใด๓. การแสดงความคิดเห็นอย่างไรที่แสดงให้เห็นว่าเจ้าของความคิดเห็นเป็นผู้มีมารยาทในการแสดงความคิดเห็น๔. การอ่านอย่างมีหลักการช่วยในการแสดงความคิดเห็นได้อย่างไร จงอธิบาย และยกตัวอย่างประกอบ๕. หากต้องแสดงความคิดเห็นในสิ่งที่ไม่รู้ นักเรียนมีแนวทางปฏิบัติอย่างไร54 การเขียนปจจุบันการสื่อสารดวยเทคโนโลยีมีบทบาทมากขึ้นในการดําเนินชีวิต แตการสื่อสารดวยวิธีการเขียนยังคงมีความสําคัญและมีความจําเปนตอการทํางาน การติดตอสื่อสารทั่วไป หากผูเขียนหรือเรียกอีกนัยหนึ่งวาผูสงสารเขียนไมถูกตอง ใชถอยคําไมเหมาะสม หรือเขียนไมชัดเจน ผิดจุดประสงค อาจทําใหผูอานหรือผูรับสารเขาใจผิด มีอคติตอสารที่ไดรับ และสงผลใหการสื่อสารไมสัมฤทธิผล ดังนั้น การเขียนจึงมีความสําคัญเปนอยางมากในการติดตอสื่อสารทําความเขาใจกันตอนที่ò นวยการ รียนร ที่ตอนที่ ñการเขียน ันทึกความร ตัว ี วัด• บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อน�าไปพัฒนาตนเองอย่างสม�่าเสมอ ท ๒ ๑ ม ๔-๖ • มีมารยาทในการเขียน ท ๒ ๑ ม ๔-๖ สาระการ รียนร กนกลา • การเขียนบันทึกความรู้จากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย• มารยาทในการเขียนการเขียน คือ การถายทอดความร  ความคิด ความร สึก ินตนาการ ความตองการของ สงสารออกมาเปนลายลักษณอักษร เพื่อให รั สารสามารถอานเขาใ ตรงตามที่ เขียนตองการได การเขียนให อานเขาใ สารตรงตามที่ เขียนตองการไดนั้น ขึ้นอย กั องคประกอ หลายประการ เชน ประส การณและสิ่งแวดลอมของ เขียนกั อาน ทักษะทางภาษา ระ ความคิด ๑. การเ น น กความร ากการอ่านการเขียนบันทึกความรู้จากการอ่าน หมายถึง การเก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งต่างๆ เพื่อน�ามาใช้ในการเขียน ผู้อ่านจ�าเป็นต้องมีทักษะการเขียนสรุปความ ถอดความ และคัดลอกข้อความส�าคัญ การมีระบบการบันทึกที่ดีจะช่วยให้ผู้อ่านสามารถรวบรวมข้อมูลข่าวสารต่างๆ จากการอ่านไปใช้ให้เป็นประโยชน์ได้อย่างถูกต้องครบถ้วน ช่วยให้การจัดระเบียบข้อมูลที่ได้ จากการอ่านเป็นไปอย่างมีระบบ ทั้งยังช่วยให้ผู้อ่านเข้าใจและจดจ�าข้อมูลเหล่านั้นได้โดยง่าย การบันทึกการอ่านจึงเป็นทักษะที่มีความส�าคัญและจ�าเป็นอย่างยิ่งต่อการเรียน ทั้งนี้เพราะการเรียนจะต้องค้นคว้าเอกสารประกอบการเรียนเป็นจ�านวนมาก นอกจากนี้การบันทึกการอ่านยังช่วยให้ผู้เรียนมีสมาธิในการอ่านอีกด้วย อย่างไรก็ตาม ผู้อ่านต้องเลือกบันทึกเฉพาะประเด็นส�าคัญที่ต้องการน�าไปใช้ ดังนั้น การบันทึกความรู้จากการอ่าน ผู้อ่านต้องมีความเข้าใจเรื่องที่อ่านเป็นอย่างดี และสร้างความคิดของตนเองในขณะที่เขียนบันทึกด้วย๑) การบันท กความรู้ ากการอ่านต้องมีความสามารถในด้านต่างๆ ต่อไปนี้ ๑. จับใจความส�าคัญของเรื่องได้ ๒. ทราบว่าข้อมูลใดเกี่ยวข้องกับเรื่องที่ตนต้องการศึกษา ๓. มีวิธีการบันทึกที่เป็นระบบ ๔. สามารถเชื่อมโยงหัวข้อส�าคัญต่างๆ เข้าด้วยกัน แล้วน�าข้อมูลเหล่านั้นไปเขียนเป็นผังความคิด หรือ ให้เข้าใจได้ง่าย ๕. เขียนบันทึกด้วยถ้อยค�าของตนเอง ๖. บันทึกแหล่งที่มาของข้อมูลนั้นๆ ได้อย่างชัดเจน๒) ว ีการบันท กความรู้ ากการอ่าน มีดังนี้ ๑. รู้จักเลือกและมีวิธีการบันทึกที่เป็นระบบ โดยค�านึงถึงวัตถุประสงค์ในการอ่านเสมอว่าต้องการอะไรจากการอ่าน ก่อนจะลงมือบันทึกต้องส�ารวจข้อเขียนนั้นอย่างคร่าวๆ ก่อน โดยพิจารณาว่าอะไรคือประเด็นความคิดส�าคัญของเรื่อง เลือกอ่าน และบันทึกเฉพาะสิ่งที่เกี่ยวข้องกับประเด็นที่ต้องการศึกษา แยกข้อเท็จจริงกับข้อคิดเห็นในเรื่องที่อ่านออกจากกัน และแยกระหว่างข้อคิดเห็นของตนกับสิ่งที่ได้จากการอ่าน พร้อมทั้งระบุแหล่งที่มาของข้อมูลให้ชัดเจนทุกครั้ง ในการบันทึกควรน�าหัวข้อส�าคัญๆ จากการอ่านมาวางเป็นเค้าโครงของเรื่องโดยที่เค้าโครงนี้มีโครงสร้างเช่นเดียวกับข้อเขียนที่อ่าน แต่ละหัวข้ออาจใช้ตัวเลข หรือตัวอักษรในการเรียงล�าดับและการจัดหมวดหมู่ของหัวข้อย่อยต่างๆ เพื่อให้เข้าใจง่าย นอกจากนี้การบันทึกที่เป็น5 ลักษณะของโครงเรื่องถือเป็นประโยชน์หากต้องการเขียนสรุปความจากประเด็นส�าคัญต่างๆ ที่ได้จากการอ่านด้วยการใช้ภาษาของตนเอง๒. ทราบวัตถุประสงค์และความส�าคัญของข้อเขียน ก่อนลงมือบันทึกต้องทราบวัตถุประสงค์และบทบาทหน้าที่ของข้อเขียนว่า มีความส�าคัญอย่างไร ไม่ว่าจะต้องการบันทึกข้อความในข้อเขียนเพียงบางส่วนหรือทั้งหมดก็ตาม ทั้งนี้โดยพิจารณาส่วนต่างๆ ดังนี้● พิจารณาชื่อเรื่อง บทคัดย่อ หรือบทน�า● อ่านข้อความในย่อหน้าแรก● ส�ารวจข้อเขียนอย่างคร่าวๆ และสังเกตวิธีการร้อยเรียงองค์ประกอบต่างๆ ของข้อเขียน●อ่านส่วนที่เป็นภาพประกอบและคาดเดาว่าผู้เขียนใช้เนื้อหาส่วนนั้นเพื่อวัตถุประสงค์อะไร การส�ารวจดังกล่าวเป็นการเริ่มต้นการอ่านที่มีประสิทธิภาพ ทั้งนี้เพราะจะท�าให้สามารถเลือกอ่านเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสิ่งที่ต้องการอ่าน ซึ่งจะช่วยประหยัดเวลาในการอ่านได้เป็นอย่างดี๓. ทราบลักษณะการน�าข้อมูลต่างๆ มาใช้ในการเขียน ข้อเขียนเป็นจ�านวนมากน�าหลักการส�าคัญของเรื่องมาร้อยเรียงเข้าด้วยกัน ในขณะที่บางเรื่องมีการเรียงล�าดับเนื้อหาตามความส�าคัญ ในการอ่านเพื่อบันทึกข้อมูลผู้อ่านจ�าเป็นต้องทราบว่า ผู้เขียนเรียบเรียงข้อมูลเป็นเรื่องเดียวกันในลักษณะใด ทั้งนี้เพื่อให้สามารถค้นหาความคิดส�าคัญและความสัมพันธ์ขององค์ประกอบต่างๆ ในเรื่องได้ การเรียงล�าดับเนื้อหาในการเขียนมีหลายลักษณะ ดังนี้● จากแนวคิดในอดีตมาจนถึงปัจจุบัน● เรียงตามล�าดับขั้นตอนหรือเหตุการณ์● เรียงจากความส�าคัญมากไปหาความส�าคัญน้อย● เรียงจากแนวคิดที่ไม่ซับซ้อนไปหาแนวคิดที่ซับซ้อนมากที่สุด● เรียงจากแนวคิดกว้างๆ ทั่วไปไปหาแนวคิดที่เฉพาะเจาะจง● เรียงจากส่วนที่ใหญ่ที่สุดไปหาส่วนที่เล็กที่สุด● เรียงจากตัวปัญหาไปสู่การแก้ปัญหา● เรียงจากเหตุไปหาผล๔. แสดงความคิดเห็นของตนเองขณะบันทึกสาระส�าคัญที่ได้จากการอ่าน ผู้เขียนต้องน�าเสนอความคิดเห็นที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับเรื่องที่อ่าน โดยมีการบันทึกให้เห็นอย่างชัดเจนว่าข้อความส่วนใดคือส่วนที่ได้จากการอ่านและข้อความส่วนใดเป็นความคิดเห็นของตนเอง5 ตัวอยา การบันท กความร ากการอานป า รุควนเคร งป่าพรุควนเคร็ง เป็นป่าพรุที่ยังเหลืออยู่ไม่กี่แห่งแล้วในประเทศไทย ในอดีตเคยเป็นพื้นที่ชุ่มน�้าผืนใหญ่ที่มีระบบนิเวศน�้าผิวดินเชื่อมติดต่อกับทะเล มีความอุดมสมบูรณ์และเอื้ออ�านวยประโยชน์ต่อการด�ารงชีวิตของมนุษย์และสัตว์ แต่การเปลี่ยนแปลงที่ผ่านมาในรอบ ๑ ป มี ป าเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องปีละกว่า ๑๐๐ จุด และสถานการณ์ทวีความรุนแรงขึ้นเรื่อยๆ โดยเ พาะในปี ๒ มีไ ไหม้ป่าพรุมาแล้ว กว่า ๑ ๐ จุด ท�าให้พื้นที่ป่าพรุได้รับความเสียหายไม่น้อยกว่า ๑ ,๐๐๐ ไร่ ซึ่งคาดว่าเป็นฝีมือมนุษย์ และในช่วงหลายปีที่ผ่านมามีป า ูกบุกรุกโดยฝีมือมนุษย์มากขึ้นจนท�าให้ป า รุ ูกท าลายเสียหายอย่างรวดเร็วเดิมนั้นป่าพรุมีความสัมพันธ์ต่อการด�าเนินชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่รอบๆ พื้นที่บริเวณป่าพรุเป็นอย่างมาก ป่าพรุควนเคร็งจึงมีสถานะเป็น “ป่าชุมชน” เพื่อการเลี้ยงชีพ ชาวบ้านได้เข้าไปเก็บของป่า หาต้นกระจูด กก ปรือ ย่านลิเภา เพื่อน�าไปแปรรูปเป็นเสื่อ กระสอบ ท�าเครื่องจักสาน เครื่องประดับ มีการเข้าไปหาพืชผัก และของป่ามาเพื่อการบริโภค เช่น บัว ผักกูด ล�าเท็ง ยอดพืชชนิดต่างๆ มีการจับสัตว์น�้าด้วยเครื่องมือที่ท�าขึ้นเอง เช่น ไซ ลัน สุ่ม เบ็ด เพื่อน�าไปบริโภคกันในครัวเรือน หากจับได้เป็นจ�านวนมากก็มีการแบ่งปันแจกจ่าย หรือขายออกให้แก่เพื่อนบ้าน หรืออาจแปรรูปเพื่อการบริโภคในโอกาสต่อๆ ไป แต่หลังจากที่ป่าพรุถูกท�าลายก็ส่งผลให้รายได้ของคนในพื้นที่ลดลงตามไปด้วยในรอบ ๑๐ ปีที่ผ่านมา ยังมีการเปลี่ยนแปลงที่ส�าคัญอีกนั่นคือ การสร้างที่ขวางทางน าแม้ว่าเป็นการป องกันการรุกล�้าของน�้าเค็มที่จะเข้ามาท�าลายพื้นที่การเกษตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ก็ท�าให้พื้นที่ป่าพรุถูกท�าลายเช่นกันและยังมีป หาระ ับน าล ลงจากการขุดคลองชลประทานต่างๆ ที่เป็นการเร่งให้น�้าในป่าพรุระบายออกไปเร็วขึ้น ส่งผลให้ป่าพรุเสียหายจากการที่ป่าพรุเสียหายจากสาเหตุต่างๆ ดังกล่าวข้างต้น นอกจากจะส่งผลให้ประชาชนมีราย ้ล ลงแล้ว ยังส่งผลกระทบต่อสัตว์ป่าด้วย โดยท�าให้นกป าใกล้สู ัน ์ุและแหล่งเ าะ ัน ุ์สัตว์น าล ลง อย่างเช่น ปลาดุกล�าพันที่เคยมีอยู่ในป่าพรุเป็นจ�านวนมาก แต่ปัจจุบันนี้ได้สูญพันธุ์ไปแล้ว อีกทั้งการที่ป่าพรุเป็นแก้มลิง เป็นแหล่งบ�าบัดน�้าเสียก่อนปล่อยลงสู่ทะเล ดังนั้นความเสียหายของป่าพรุจึงท�าให้แหล่งเก บกักน าและบ าบั น าเสียล ลงด้วยสิ่งที่เกิดขึ้นมาทั้งหมดนั้น หากไม่มีการควบคุมที่ดีพอในเรื่องการบุกรุกเข้าใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ ไม่มีการ ื น ูด้วยการสร้างจิตส�านึกให้แก่ประชาชนทุกระดับสาขา5 แ น ว ท า ง แ ก้ไ ขผ ล ข อ ง ก า ร ล ด จ�านว นแ ห ล่ง อ า ห า รไป่าก า ร บุก รุกสิ่ง ก่อ ส ร้า ง ที่ข ว า ง ท า ง น้ �าขุด ค ล อ ง ช ล ป ร ะ ท า นแ ห ล่ง อ า ชีพเก็บ กัก น้ �าบ �า บัด น้ �า เสียป ร ะ โ ย ช น์ส า เห ตุก า ร ล ด จ �า น ว นป ลูก จิต ส �า นึกป ร ะ ช า ช น ข า ด ร า ย ได้สัต ว์ป่า สูญ พัน ธุ์ไ ม่มีแ ห ล่ง กัก เ ก็บ น้ �าอ อ ก ก ฎ ห ม า ยล ด ก า ร เผ า ป่าป ลูก ป่า ต้น น้ �าป า รุควนเคร งอาชีพให้รู้สึกหวงแหนและร่วมมือกันอนุรักษ์พื้นที่ป่าพรุควนเคร็ง เช่น ลดการเผาป่าลง ร่วมกันปลูกป่าต้นน�้า เคารพกฎหมายอย่างเคร่งครัดและรัฐเอาจริงเอาจังในเรื่องการถือครองที่ดิน ก็ยากที่จะท�าให้ป่าพรุคืนความอุดมสมบูรณ์กลับคืนมาดังเดิมได้ตัวอยา การบันท กความร ากการอาน แหล่งการอ่าน ห้องสมุดโรงเรียน ชื่อหนังสือที่อ่าน ชื่อเรื่อง ป่าพรุควนเคร็ง ผู้แต่ง ไม่ปรากฏชื่อ ความรู้ที่ได้จากการอ่าน ป่าพรุควนเคร็ง เป็นป่าพรุที่ยังเหลืออยู่ไม่กี่แห่งในประเทศไทย ป่าพรุมีความสัมพันธ์ต่อการด�าเนินชีวิตของประชาชนที่อาศัยอยู่รอบๆ เป็นแหล่งอาหารและการหาเลี้ยงชีพ แต่เนื่องจากป่าถูกบุกรุกโดยฝีมือมนุษย์มากขึ้น ส่งผลให้ประชาชนมีรายได้ลดลงและส่งผลกระทบต่อสัตว์ป่า เช่น นกป่าใกล้สูญพันธ์ุ แหล่งเพาะพันธ์ุสัตว์น�้าลดลง รวมถึงแหล่งเก็บกักน�้าและบ�าบัดน�้าเสียลดลงด้วย หากมีการควบคุมในเรื่องการบุกรุกป่า จะช่วยให้ป่าพรุคืนความอุดมสมบูรณ์ได้ดังเดิม นอกจากนี้ผู้บันทึกยังสามารถสรุปความรู้เป็นแผนผังมโนทัศน์ได้ เช่น 0 . การเ น น กความร ากการ งมนุษย์อาศัยการฟังเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว ตั้งแต่การฟังและเลียนเสียงพูดของพ่อแม่ในวัยเด็ก จนถึงการฟังในกระบวนการสื่อสารที่ซับซ้อนขึ้นเมื่อเติบโตเป็นผู้ใหญ่ การฟังช่วยให้การเรียนรู้ของมนุษย์ขยายวงกว้างขวาง ทั้งเพิ่มเติมและสนับสนุนการเรียนรู้ด้วยวิธีการอ่านและอื่นๆ จากการศึกษาปริมาณการฟังของมนุษย์ที่ใช้แต่ละวัน พบว่ามนุษย์ใช้เวลาไปกับการฟังมากกว่าทักษะอื่นๆ๑) ลักษ ะของการ งการฟังสารมีหลายลักษณะ แตกต่างกันไปตามการฝึกฝนของแต่ละบุคคล ประสิทธิภาพในการฟังของแต่ละบุคคลยังแตกต่างกันอีกด้วย ซึ่งพิจารณาได้จากลักษณะของการฟังด้วยความไม่สมัครใจ การฟังด้วยความสมัครใจ และการฟังที่เป็นนิสัย๑ ๑ การ ด วยความ มสมัคร เป็นพ ติกรรมการฟังที่มีประสิทธิภาพในระดับน้อย ผู้ฟังอาจจะถูกบังคับให้ฟังหรือจ�าใจฝ นอารมณ์ฟังเรื่องที่ตนไม่สนใจ ไม่เห็นคุณค่าสาระของสารที่ฟัง อาจเป็นการฟังเพื่อรักษามารยาท เช่น เด็กวัยรุ่นฟังพระเทศน์ เด็กวัยรุ่นจะฟังอย่างไม่สนใจเพราะถูกบังคับหรืออยู่ในภาวะจ�ายอมที่ต้องฟัง ลักษณะการฟังเช่นนี้ ผู้ฟังจะไม่ตั้งใจฟัง ไม่มีสมาธิหรือจิตใจที่จะจดจ่อต่อสารที่ฟังท�าให้รับสารได้ไม่ครบถ้วน เป็นการฟังที่บกพร่อง และผู้ฟังจะเสียเวลาฟังไปโดยเปล่าประโยชน์๑ ๒ การ ด วยความสมัคร เป็นการฟังที่มีประสิทธิภาพในระดับสูงขึ้น ผู้ฟังถูกชักจูงโน้มน้าวให้ฟังด้วยความเต็มใจ มีความสนใจที่จะรับสารและเกิดความต้องการที่จะฟัง จิตใจจดจ่อต่อสารที่ฟัง จึงได้รับประโยชน์จากการฟัง อย่างไรก็ตามประสิทธิภาพการฟังจะเพิ่มมากขึ้นถ้าผู้ฟังจดบันทึกสารที่ฟัง และน�าไปใช้ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตหรือในการท�างาน๑ การ ป นนิสัย เป็นการฟังที่มีประสิทธิภาพในระดับสูงซึ่งทุกคนควรพัฒนาให้เกิดขึ้นจนเป็นนิสัย โดยเรียนรู้และฝึกฝนอย่างสม�่าเสมอ กล่าวคือฟังโดยไม่ต้องบังคับหรือฝ นใจฟังฟังเป็นกิจวัตร โดยไม่ค�านึงว่าเป็นเรื่องพูดที่ใช้วาทศิลป ดีเยี่ยม หรือเป็นเรื่องที่เคยฟังมาแล้วการมีนิสัยชอบติดตามฟังเรื่องราวข่าวสารต่างๆ อย่างสม�่าเสมอส่งผลให้เป็นคนรอบรู้ ผู้ที่มีนิสัยรักการฟัง แสวงหาโอกาสที่จะฟังเป็นนิจ จะทันโลกทันเหตุการณ์ และได้รับประสบการณ์อย่างกว้างขวาง สามารถน�ามาใช้เป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหาต่างๆ ได้ดี อาจกล่าวได้ว่าการฟังที่เป็นนิสัยพื้นฐานท�าให้บุคคลเป็น พหูสูต คือ เป็นผู้ฟังมากรู้มาก๒) การบันท กความรู้ ากการ งการฟังและการจดบันทึกเป็นของคู่กัน บันทึกคือผลของการสื่อสารระหว่างผู้บรรยายกับผู้ฟัง ค�าบรรยายเป็นเสมือนค�าสนทนาของผู้พูดกับผู้ฟังผู้สอนกับผู้เรียน ผลการสนทนาจะประสบผลส�าเร็จเพียงใด ดูได้จากบันทึกที่จด หากผู้ฟังหรือผู้เขียนเข้าใจเรื่องที่ฟังได้ดีบันทึกย่อมดี การฟังให้เข้าใจได้ดีนั้นขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายประการ เช่น ความสนใจในเรื่องที่บรรยาย รูปแบบของการบรรยาย ความพร้อมของผู้ฟัง 1 นอกจากเรื่องการฟังแล้วผู้เรียนจะต้องรู้วิธีการบันทึกอย่างมีประสิทธิภาพ คือ รู้แนวทางและวิธีการบันทึก๓) แนวทางการบันท กความรู้ ากการ งสมุดบันทึกเป็นสิ่งหนึ่งที่มีคุณค่าในการเรียนรู้ ผู้บันทึกควรมีแนวทางการบันทึกอย่างมีประสิทธิภาพ การบันทึกอาจแยกเป็นการจดบันทึกกับการเขียนบันทึก โดยทั้งสองลักษณะมีวิธีการที่คล้ายคลึงและแตกต่างกัน ๑ การ ดบันท ก คือ การเขียนข้อความที่ได้จากการอ่าน ฟัง ดู อย่างย่อๆ เพื่อให้รู้เรื่องเดิม สามารถกลับไปทบทวน หรือค้นคว้าเพิ่มเติมได้ภายหลัง โดยมีแนวทาง ดังนี้ ๑. พิจารณาแหล่งข้อมูล ผู้บันทึกต้องทราบวิธีการเข้าถึง หรือการค้นคว้าข้อมูลที่ตนเองต้องการ ทั้งด้านความถูกต้อง ความน่าเชื่อถือ ความละเอียด และความทันสมัยของข้อมูล ๒. การจดบันทึกจากการฟังควรจดบันทึกเฉพาะใจความส�าคัญ หรือประเด็นหลักของเรื่อง ไม่ควรจดบันทึกทุกเรื่องทุกค�า เพราะจะท�าให้ไม่สามารถจดบันทึกได้ทัน ดังนั้น ผู้ฟังจึงควรฟังและคิดพิจารณาให้ดีก่อนว่าเนื้อความใดควรจดบันทึก เมื่อฟังจบแล้วก็ควรกลับมาอ่านและเติมบันทึกจากการฟังใหม่ให้ถูกต้องครบถ้วนก่อนที่จะลืม ๓. การจดบันทึกจากการฟัง ผู้ฟังอาจจดเป็นค�าย่อ หรือเครื่องหมายแทนได้เพื่อความรวดเร็ว และควรใช้อย่างสม�่าเสมอจนคุ้นเคย เช่น ก.ม. หมายถึง ก หมาย หมายถึง บาท ค่าเงิน เป็นต้น หากจดบันทึกไม่ทัน ผู้จดบันทึกควรใช้เครื่องหมาย แทนลงในข้อความเพื่อเตือนความจ�า เมื่อฟังจบแล้วอาจสอบถามจากผู้พูด หรือผู้ฟังคนอื่นๆ ๔. การจดบันทึกจากการฟัง ผู้ฟังควรบันทึกรายละเอียดต่างๆ ให้ครบถ้วน เช่น รายละเอียดเกี่ยวกับผู้พูด สถานที่พูด เวลาที่พูดทั้งเวลาเริ่มต้นและเวลาจบ เนื้อหาสาระในการพูด และชื่อผู้จดบันทึก โดยอาจบันทึกลงในบัตรบันทึกข้อมูลที่ท�าจากกระดาษแข็ง หรือกระดาษที่มีความหนาพอสมควร ให้มีขนาด ๓ ๕ นิ้ว ๔ ๖ นิ้ว หรือ ๕ ๗ นิ้ว×××ผู้พูด .เรื่อง………………………………………………………………………………………………สถานที่พูด .พูดเมื่อวันที่ . เดือน . ปี……………………………เวลาเริ่ม……………………………………………น เวลาสิ้นสุด……………………………………………น รวมเวลา ..ผู้จดบันทึก ...................................................................................................................................................................................................................... ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................หมายเหตุ ........................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ตัวอย่าง รูปแบบการจดบันทึกจากการ ัง(เนื้อหาที่บันทึก) 2 ๒ การ ียนบันท ก คือ การเขียนบรรยาย พรรณนาเกี่ยวกับประสบการณ์ของผู้บันทึก เช่น บันทึกประจ�าวัน หรืออนุทิน บันทึกการเดินทางท่องเที่ยว เป็นต้น โดยมีแนวทางที่จะช่วยฝึกฝนให้ผู้เขียนมีความช�านาญ ดังนี้ ๑. ให้ความสนใจ ใส่ใจรายละเอียดกิจวัตรในชีวิตประจ�าวันของตนเอง รวมถึงเหตุการณ์ระหว่างวันที่น่าสนใจ ๒. ใช้ความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับย่อหน้าในการเรียบเรียง โดยก�าหนดแนวคิดว่าวันนี้จะเขียนเกี่ยวกับเรื่องอะไร ๓. เรียงล�าดับสิ่งที่เกิดขึ้นตามข้อเท็จจริง ความสมเหตุสมผล เพราะการเรียงล�าดับที่ดีจะช่วยให้ผู้อ่านบันทึกติดตามเรื่องต่อไปจนจบ ด้วยความสนใจใคร่รู้ หากบันทึกมีมากกว่าหนึ่งย่อหน้า ผู้เขียนจะต้องเชื่อมโยงแต่ละย่อหน้าให้สอดคล้องกัน ๔. ภาษาที่ใช้ในการบันทึกควรเป็นภาษาที่เข้าใจง่าย สื่อความชัดเจน สอดคล้อง กลมกลืนเป็นระดับเดียวกัน จะเห็นว่าการจดบันทึกและการเขียนบันทึกมีความแตกต่างกัน กล่าวคือ การจดบันทึกเป็นการบันทึกเฉพาะใจความส�าคัญของสิ่งที่ได้อ่าน ได้ฟัง ได้ดู แต่การเขียนบันทึกเป็นการเขียนเพื่อเล่าเรื่อง ดังนั้น ข้อความจึงมีลักษณะของการบรรยาย พรรณนาให้เห็นภาพ จึงปรากฏทั้งสิ่งที่เป็นใจความ และรายละเอียดปลีกย่อยอื่นๆ▼การ งที่ดีตองรูจักสรุปใจความส าคั ใหเปนและจดบันทึกสิ่งที่ไดจากการ งควบคูไปดวยเพื่อสะดวกในการ ึกษาคนควา ายหลัง 3 ตัวอยา การ ียนบันท กความร ากการ อความที่อานกระ าย สีย ทา ส านีวิทย รายการป าสวยน า สเร ่อง ว ก ตสัตว์ป าเม อง ทยในขณะที่เวลาผ่านไปทุกๆ หนึ่งนาที โลกของเราจะสูญเสียพื้นที่ป่าไม้เป็นจ�านวนเท่ากับสนาม ุตบอลจ�านวน สนาม ถ้าค�านวณแล้วปรากฏว่า ในหนึ่งปีเราจะเสียพื้นที่ป่าไม้เท่ากับพื้นที่ของประเทศลาวและเขมรรวมกัน ในขณะที่ป่าไม้ถูกท�าลายไป ถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์จ�านวนมากก็ถูกท�าลายไปด้วย ส่งผลให้สัตว์ป่าหลายชนิดมีจ�านวนลดลงอย่างน่าวิตก บางชนิดก็สูญพันธุ์จากโลกนี้ไปแล้ว ตัวอย่างที่เห็นได้ชัดเจนที่สุด คือ การสูญพันธุ์ของสมัน ในอดีตเคยพบอย่างชุกชุมในบริเวณพื้นที่ราบภาคกลางของประเทศไทย แต่ปัจจุบันเราจะพบเห็นเขาที่สวยงามของมันอยู่ตามฝาผนังของนักสะสมของหายาก อีกตัวอย่างหนึ่งคือ ในระยะเวลา ๑๐๐ ปี ที่ผ่านมาเราสูญเสียเสือโคร่งไปแล้ว ๐ เปอร์เซ็นต์ ของประชากรที่เคยมีอยู่ในอดีต ปัจจุบันทั่วทั้งโลกเหลือเสือโคร่งเพียง ,๐๐๐ ตัว นอกจากนี้ยังมีสัตว์อีกหลายชนิดที่อยู่ในขั้นวิกฤตเช่นเดียวกับเสือโคร่งประเทศไทยก็ประสบปัญหาป่าไม้ถูกท�าลายอย่างหนักในช่วง ๒ ทศวรรษที่ผ่านมาท�าให้สัตว์ป่าโดยเ พาะสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมหลายชนิดมีสถานภาพอยู่ในขั้นวิกฤต หรือใกล้ที่จะสูญพันธุ์ไปจากประเทศไทย แต่ก็ยังมีบุคคลกลุ่มหนึ่งที่คิดแสวงหาผลประโยชน์จากมูลค่าของสัตว์ป่าที่เหลืออยู่ไม่มาก ซึ่งสามารถท�าก�าไรที่งดงาม เป็นรองเพียงแค่ก�าไรที่ได้จากการค้ายาเสพติด ซึ่งทั้งสองสิ่งนี้ถือว่าเป็นกิจกรรมที่ผิดกฎหมายขั้นร้ายแรงของโลกเลยทีเดียว ประเทศไทยของเราก็เคยได้รับบทเรียนจากการลักลอบซื้อขายสัตว์ป่าของบุคคลที่เห็นแก่ตัวดังกล่าวซึ่งเกือบจะท�าให้ประเทศไทยของเราสูญเสียรายได้จากการค้าขายระหว่างประเทศคิดเป็นจ�านวนเงินแล้วนับเป็นพันล้านบาท พูดง่ายขึ้นก็คือ ห้ามประเทศไทยส่งสินค้าออกไปจ�าหน่ายยังต่างประเทศ แต่ก็นับว่าโชคดีที่ประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ ( ) ท�าให้ประเทศไทยส่งสินค้าออกไปจ�าหน่ายยังต่างประเทศได้ตามปกติ ถึงแม้จะลงนามในอนุสัญญาไปแล้ว การซื้อขายสัตว์ป่าภายในประเทศก็ยังไม่ลดลงเลย จากข้อมูลติดตามตรวจสอบและสอดส่องบริเวณพรมแดนของประเทศไทยและประเทศเพื่อนบ้าน สัตว์ป่าเป็นสินค้าที่มีความต้องการอยู่ในประเทศจีน โดยเ พาะอวัยวะของสัตว์ป่าที่ชาวเอเชียตะวันออกนิยมรับประทานกันเป็นอย่างมาก และมีความต้องการปริมาณสูงมาก ปัญหาสัตว์ป่าลดจ�านวนลงเนื่องจากถิ่นอาศัยถูกท�าลายและการล่าเพื่อการซื้อขายก็เพียงพอแล้วที่จะท�าให้สัตว์ป่าสูญพันธุ์ ส่วนราชการที่มี 4 การเขียนบันท กความรู้ เป็นลักษณะของการจับใจความส�าคั จากเรื่องที่ได้อ่านได้ ง หรือได้ดู แล้วน�าสาระมาเรียบเรียงด้วยภาษาที่กระชับ สละสลวย และได้ใจความสามารถที่จะน�าข้อมูลที่บันท กไว้มาทบทวนเพื่อหาความรู้เพิ่มเติมได้อย่างรวดเร็วในภายหลังนับว่าเป็นการเขียนบันท กความรู้ได้ตามวัตถุประสงค์ที่ตั งไว้และเกิดประโยชน์ต่อผู้บันท กเป็นอย่างยิ่งก�าลังคนเพียงน้อยนิดต่างก็พยายามปราบปรามกันอย่างเต็มที่ แต่ก็ไม่สามารถปราบปรามได้หมดเพราะผู้กระท�าผิดมีมากมายเหลือเกินและท�ากันอย่างลับๆ จะมีก็เพียงแต่พลังมวลชนที่จะชวนกันสอดส่องดูแลและช่วยกันแจ้งเบาะแสให้แก่ทางราชการทราบตัวอยา การ ียนบันท กความร ากการ ช ่อเร ่องวิกฤตสัตว์ป่าเมืองไทยรายการ ป่าสวยน�้าใสแหล่งที่มา สถานีวิทยุ เอ เอ็ม มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่วันพุธที่ ๒๒ กรกฎาคม ๒ ๒ เวลา ๑ ๐๐ น ความรู้ที่ได้จากการ ังเรื่อง “วิกฤตสัตว์ป่าเมืองไทย” (เป็นข้อๆ) จากบทความทางวิทยุเรื่องนี้ ท�าให้ได้ความรู้ดังต่อไปนี้ ๑ ถ้าป่าไม้ถูกท�าลาย ถิ่นที่อยู่อาศัยของสัตว์จ�านวนมากจะถูกท�าลายไปด้วยส่งผลให้สัตว์ป่าหลายชนิดมีจ�านวนลดลง บางชนิดก็สูญพันธุ์ไปแล้ว เช่น การสูญพันธุ์ของสมัน และการสูญเสียเสือโคร่ง ซึ่งปัจจุบันทั่วทั้งโลกเหลือเสือโคร่งเพียง ,๐๐๐ ตัว และยังมีสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมอีกหลายชนิดที่อยู่ในขั้นวิกฤตและใกล้จะสูญพันธุ์ ๒ การลักลอบซื้อขายสัตว์ป่า โดยเ พาะสัตว์ป่าที่ชาวเอเชียนิยมรับประทานและเป็นสินค้าที่มีความต้องการในประเทศจีน เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ท�าให้สัตว์ป่าในประเทศไทยสูญพันธุ์ ประเทศไทยได้ลงนามในอนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งสัตว์ป่าและพืชป่าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ หรือที่รู้จักคุ้นเคยดีในตัวย่อว่า ไซเตส ( ) แต่ปัญหาการลักลอบซื้อขายสัตว์ป่ายังเป็นปัญหาที่ยากจะปราบปรามได้หมด เนื่องจากผู้กระท�าผิดมีจ�านวนมากและท�ากันอย่างลับๆ 5 ¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนศึกษาความรู้เกี่ยวกับงานเข่ียนประเภทเรื่องสั้นหรือสารคดีที่สนใจ แล้วน�ามาสรุปความรู้ด้วยการน�าเสนอในรูปแบบ ๒. ให้นักเรียนสอบถามเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของชุมชนจากผู้ปกครองหรือผู้รู้ แล้วน�ามาเรียบเรียงข้อมูลในรูปแบบของแผ่นพับเผยแพร่ความรู้ให้แก่สมาชิกในชุมชน เพื่อให้เกิดความภูมิใจในชุมชน๓. ให้นักเรียนเข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาของชุมชน แล้วเขียนบันทึกความรู้ที่ได้รับและน�ามาแลกเปลี่ยนความรู้กับเพื่อนๆ ในชั้นเรียน๑. การจับใจความของเรื่องมีความส�าคัญต่อการเขียนบันทึกความรู้อย่างไร จงอธิบาย๒. การบันทึกแหล่งที่มาของข้อมูลมีประโยชน์หรือไม่ อย่างไร๓. หากต้องการแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่อ่าน ควรเขียนบันทึกความรู้อย่างไรจงอธิบายและยกตัวอย่างประกอบ๔. การฟังที่มีประสิทธิภาพเป็นการฟังในลักษณะใด จงอธิบายพอสังเขป๕. การจดบันทึกอย่างมีตรรกะ มีประโยชน์ต่อการบันทึกความรู้อย่างไร ตอนที่ นวยการ รียนร ที่òสาระการ รียนร กนกลา • การเขียนจดหมายกิจธุระ• การเขียนเรียงความ• การเขียนย่อความการเขียนเรียงความ ยอความ ดหมายการเขียนเรียงความยอความ ดหมาย เปนกระ วนการที่ตองใชทักษะการเขียนเพื่อการสื่อสารทางความคิดที่มนุษยใชอย เสมอในชีวิตประ าวัน ทั้งการเขียนเรียงความ ยอความและ ดหมาย มีกระ วนการคิดและร ปแ ที่แตกตางดังนั้น เขียนตองศึกษาท าความเขาใ ใหถองแท ึง ะท าใหงานเขียนมีคุณภาพและสามารถสื่อสารไดตรงตามเ ตนาตัว ี วัด• การเขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูล และสาระส�าคัญชัดเจน ท ๒ ๑ ม ๔-๖ ๑ • เขียนเรียงความ ท ๒ ๑ ม ๔-๖ ๒ • เขียนย่อความจากสื่อที่มีรูปแบบและ เน ้อหาหลากหลาย ท ๒ ๑ ม ๔-๖ ๑.การเ นเร งความเรียงความ คือ การเขียนขยายข้อความโดยการเรียงร้อยถ้อยค�าให้เป็นเรื่องราว โดยแสดงความรู้ ความคิด อารมณ์ ความรู้สึก จินตนาการ และความเข้าใจ ด้วยภาษาที่ถูกต้องเหมาะสม ตรงความหมาย กะทัดรัด สละสลวย เป็นระบบที่น่าอ่าน ๑.๑ องค์ประกอบของเร งความองค์ประกอบของเรียงความ แบ่งเป็น ๓ ส่วน ดังนี้๑) ค าน าเป็นส่วนแรกที่เปดประเด็นให้ผู้อ่านทราบว่าจะเขียนเรื่องอะไร เป็นส่วนที่ชักน�าให้ผู้อ่านสนใจ ท�าให้เรื่องน่าอ่านยิ่งขึ้น ค�าน�าจึงต้องเขียนให้กระชับ เร้าใจ ใคร่รู้ วิธีเขียนค�าน�าสามารถท�าได้หลายวิธี เช่น● เริ่มต้นการยกค�าพูด ค�าคม หรือสุภาษิตที่น่าสนใจ สอดคล้องกับเนื้อหา●เริ่มด้วยค�าประพันธ์●เริ่มด้วยค�าถามการเขียนค�าน�านั้น ผู้เขียนพึงระวังอย่าเขียนอ้อมค้อม เขียนไม่ตรงกับเนื้อเรื่อง เขียนยาวเกินไป หรือเขียนออกตัวเป็นท�านองว่าผู้เขียนมีความรู้น้อย หรือไม่พร้อมที่จะเขียน จะท�าให้ค�าน�าไม่น่าสนใจ๒) เน อเร ่องเป็นส่วนส�าคัญและยาวที่สุดของเรียงความ ประกอบด้วยความรู้ ความคิด และข้อมูลที่ผู้เขียนค้นคว้า และเรียบเรียงอย่างเป็นระบบระเบียบ โดยใช้ย่อหน้าช่วยล�าดับประเด็น ซึ่งควรขึ้นย่อหน้าใหม่เมื่อกล่าวถึงประเด็นใหม่ การเขียนเนื้อเรื่องเป็นการขยายความในประเด็นต่างๆ ตามโครงเรื่องที่วางไว้ล่วงหน้าแล้ว ในการเขียนอาจมีการยกตัวอย่างการอธิบาย การพรรณนา หรือยกโวหารต่างๆ มาประกอบด้วยการเขียนเนื้อเรื่อง ควรยึดแนวทาง ดังนี้๑. มีสารัตถภาพ ได้แก่ ความถูกต้อง แจ่มแจ้งสมบูรณ์ ผู้อ่านสามารถเข้าใจเจตนารมณ์ของผู้เขียนได้เป็นอย่างดี๒. มีเอกภาพ ได้แก่ ใจความส�าคัญแต่ละย่อหน้า จะต้องมีเพียงใจความเดียว ไม่ออกนอกเรื่อง สับสน วกวน๓. มีสัมพันธภาพ ได้แก่ เนื้อหาในแต่ละย่อหน้าจะต้องมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันโดยตลอด ย่อหน้าต่อๆ มา จะต้องเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กับย่อหน้าที่แล้ว๓) สรุปเป็นส่วนสุดท้ายของการเขียนเรียงความ ผู้เขียนจะต้องเน้นความรู้ ความคิดหลักหรือประเด็นส�าคัญของเรื่องที่เขียนอีกครั้งให้ได้ใจความและสอดคล้องกับเนื้อเรื่อง การสรุป อาจสรุปด้วยค�าถาม ข้อคิด ค�าคม สุภาษิต บทร้อยกรอง อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยใช้ถ้อยค�าที่กระชับ คมคาย เพื่อให้ผู้อ่านประทับใจ น�าข้อคิดไปไตร่ตรองต่อไปได้ ๑.๒ การวาง ครงเรื่องเร งความการวางโครงเรื่อง เป็นการรวบรวมความรู้ ความคิด และจัดล�าดับความคิดให้เป็นระบบ ความรู้ ความคิดบางเรื่องอาจเป็นประสบการณ์เดิม ความรู้เดิมของผู้เขียน หรือเป็นความรู้ใหม่ที่ได้จากการสังเกต สอบถาม แลกเปลี่ยนความรู้ในกลุ่มเพื่อน หรือการค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ แนวทางการวางโครงเรื่องสามารถท�าได้ ดังนี้๑. ระดมความคิดว่ามีค�า กลุ่มค�า หรือข้อความใดที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่จะเขียนบ้าง แล้วเขียนค�า กลุ่มค�า หรือข้อความนั้นไว้๒. ตั้งค�าถามที่สงสัย ใคร่หาค�าตอบ เขียนค�าถามเป็นข้อๆ แล้วพยายามหาค�าตอบสั้นๆ โดยอาจตอบเอง หรือค้นคว้าหาความรู้จากแหล่งความรู้ต่างๆ๓. จัดล�าดับค�าถาม-ค�าตอบนั้นๆ ว่าควรล�าดับก่อนหลังอย่างไร ควรจัดหัวข้อใดในส่วนค�าน�า เนื้อเรื่อง หรือสรุป โดยจัดให้ไม่ซ�้ากัน ไม่วกวนสับสน และตัดส่วนที่ไม่จ�าเป็นออกตัวอยา การวา โคร ร ่อ การ ียน รีย ความ ร ่อ ารประหย ด ๑ รวบรวมความรู้ ความคิด หาค�า ข้อความ สุภาษิต ค�าพังเพยที่เกี่ยวข้องกับการประหยัดดังตัวอย่าง ต่อไปนี้●ค�าที่เกี่ยวข้องกับชื่อเรื่อง เช่น เก็บ ออม ธนาคาร ประหยัด ตระหนี่ โลภ ุ่มเ ือย ุ งเ อ ร�่ารวย ยากจน เป็นต้น●ข้อความ ภาษิต ค�าประพันธ์ที่เสริมความคิด ความเข้าใจ เช่น “ประหยัดวันนี้ เป็นเศรษฐีในวันหน้า” “อย่าอายท�ากิน อย่าหมิ่นเงินน้อย อย่าคอยวาสนา” “เกียจคร้านเป็นแมลงวัน ขยันเป็นแมลงผึ้ง” เป็นต้น๒ ตั้งค�าถามเกี่ยวกับความประหยัด ดังตัวอย่างต่อไปนี้●การประหยัด หมายความว่าอย่างไร เหมือนกับค�าว่าตระหนี่หรือไม่●ท�าไมจึงต้องประหยัด●เราจะมีวิธีประหยัดได้อย่างไร●การประหยัดส่วนตัว การประหยัดในครอบครัว การประหยัดในโรงเรียนท�าได้อย่างไร●การประหยัดช่วยตนเองและช่วยชาติได้อย่างไร●ผลดีของการประหยัดเป็นอย่างไร●ตัวอย่างนิทานหรือบุคคลที่รู้จักประหยัดอดออม มีอะไรบ้าง●ค�าประพันธ์ ค�าสั่งสอนที่เกี่ยวกับการประหยัด มีอะไรบ้าง สรรพ์สาระÅ ¡ Ð Ã Â ÇÒ ´ àÃÕ§¤ÇÒÁ·Õè´Õ¤ÇÃÁդسÅÑ¡ ³Ð ´Ñ§¹Õéñ. ÁÕàÍ¡ÀÒ¾ ¤×Í à¹×éÍËҷءʋǹÁÕ¤ÇÒÁà¡ÕèÂÇà¹×èͧ໚¹àÃ×èͧà´ÕÂǡѹ äÁ‹¡Å‹Òǹ͡àÃ×èͧ ¹Í¡»ÃÐà´ç¹ò. ÁÕÊÑÁ¾Ñ¹¸ÀÒ¾ ¤×Í à¹×éÍËҷءʋǹÁÕ¤ÇÒÁÊÑÁ¾Ñ¹ à¡ÕèÂÇà¹×èͧ¡Ñ¹µÒÁÅíҴѺ äÁ‹ÊѺʹó. ÁÕÊÒÃѵ¶ÀÒ¾ ¤×Í à¹×éÍËÒᵋÅÐʋǹÁÕ¤ÇÒÁÊÁºÙó ¶Ù¡µŒÍ§ ¤Ãº¶ŒÇ¹ จัดล�าดับค�าถามที่จะขยายความเป็นค�าตอบในเนื้อเรื่อง ดังนี้(๑) เขียนค�าน�า ด้วยค�าขวัญ สุภาษิต ชี้ให้เห็นความส�าคัญของการประหยัด (๒) ส่วนเนื้อหา มีประเด็นต่างๆ ดังนี้●การประหยัดหมายความว่าอะไร เหมือนกับค�าว่าตระหนี่หรือไม่●ความส�าคัญของการประหยัด●เราจะมีวิธีประหยัดได้อย่างไรบ้าง●ผลดีของการประหยัด●ตัวอย่างบุคคล นิทาน ที่เกี่ยวกับการประหยัด สรุปความส�าคัญ ความจ�าเป็นที่คนเราต้องรู้จักประหยัดอดออม เพื่อช่วยคน ช่วยชาติด้วยค�าประพันธ์ ค�าขวัญ ๑.๓ วิ การเข นเร งความการเขียนเรียงความที่ดีควรมีวิธีการ ดังนี้๑. เขียนเรียงความตามโครงเรื่องที่ก�าหนด โดยใช้ค�า ข้อความ สุภาษิต ที่ได้คิดไว้ในตอนต้นประกอบการเขียน ขยายข้อความจากโครงเรื่อง โดยใช้ส�านวนโวหารที่เหมาะสมกับเนื้อเรื่อง มีหลักฐาน ข้อมูลประกอบ หรืออ้างอิงจากแหล่งที่เชื่อถือได้ เพื่อสนับสนุนงานเขียนให้มีคุณค่าน่าสนใจในการแบ่งส่วนค�าน�า เนื้อเรื่อง สรุป ต้องย่อหน้าในแต่ละส่วน โดยไม่ต้องบอกว่าส่วนใด คือ ค�าน�า เนื้อเรื่อง หรือสรุป ผู้อ่านจะเข้าใจได้เอง ส�าหรับเนื้อหาหากมีหลายประเด็นแต่ละประเด็นต้องย่อหน้า ฉะนั้นในการเขียนเรียงความจะต้องมีอย่างน้อย ๓ ย่อหน้า คือ ค�าน�า เนื้อเรื่อง และสรุป โดยเฉพาะส่วนเนื้อเรื่องนั้นไม่จ�ากัดว่าจะต้องมีกี่ย่อหน้า แล้วแต่ว่าจะแตกประเด็นได้กี่ประเด็น๒. อ่านทบทวนข้อความที่เขียนว่าสอดคล้อง เป็นเรื่องเดียวกันตามประเด็นในโครงเรื่องที่ก�าหนดหรือไม่ เกี่ยวเนื่องกันตามล�าดับถูกต้อง สมบูรณ์ ครบถ้วนหรือไม่๓. ให้เพื่อนๆ หรือผู้รู้อ่าน แล้ววิพากษ์วิจารณ์ให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม๔. ผู้เขียนอ่านทบทวน พิจารณาข้อเสนอแนะ ปรับปรุงแก้ไขเพิ่มเติม แล้วน�ามาเขียนเรียบเรียงใหม่อีกครั้ง เป็นเนื้อหาเรียงความที่ถูกต้องตามรูปแบบและมีคุณค่าน่าอ่าน 0 ตัวอยา รีย ความส าน กรักบ้านเก อ่างทองเป็นเมืองที่ราบลุ่มขนาดเล็กทางภาคกลางตอนล่างของประเทศไทย ซึ่งหล่อเลี้ยงด้วยแม่น�้าส�าคัญ ๒ สาย คือ แม่น�้าเจ้าพระยา และแม่น�้าน้อยที่ท�าให้ดินแดนแห่งนี้อุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหารหลากหลายชนิดตลอดทั้งปี วิถีชีวิตของชาวอ่างทองส่วนใหญ่ด�าเนินไปอย่างเรียบง่าย ธรรมดา และสมถะ ตามแบบอย่างของสังคมชนบท มีความผูกพันกับการท�าเกษตรกรรมและยึดมั่นในการจรรโลงพระพุทธศาสนา เป็นแหล่งก�าเนิดของวั นธรรมขนบธรรมเนียมประเพณี และภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ก่อเกิดมาจากวิถีชีวิตของบรรพชนชาวอ่างทองในอดีตที่สืบทอดมาสู่ลูกหลานจนถึงปัจจุบัน แม้จะอยู่ห่างจากกรุงเทพมหานครเพียง ๑๐ กิโลเมตรเท่านั้นในสมัยกรุงศรีอยุธยา อ่างทองถือว่าเป็นเมืองหน้าด่านที่ส�าคัญมาก ซึ่งมีชื่อเดิมว่า “แขวงเมืองวิเศษไชยชาญ” อันเป็นบ้านเกิดเมืองนอนของนายดอก นายทองแก้ว สองวีรบุรุษผู้หาญกล้า ยอมเสียสละพลีกาย เพื่อรักษาความเป็นเอกราชของชาติ ท่านทั้งสองได้เข้าร่วมกับชาวบ้านบางระจันเข้าต่อสู้กับพม่าอย่างเข้มแข็ง โดยมิได้เกรงกลัวต่อภยันตราย ลูกหลานชาวอ่างทองทุกคนต่างร�าลึกสดุดี และเชิดชูวีรชนไทยใจกล้าไว้ในใจตลอดมา ทั้งยังมีความภาคภูมิใจในสายโลหิตที่อยู่ภายในร่างกายของชาวอ่างทองทุกคน อ่างทองเป็นเมืองแห่งพระพุทธศาสนา มีวัดวาอารามตั้งเรียงอยู่ริมสอง ากฝั งแม่น�้า อันสะท้อนถึงวิถีชีวิตของคนในอดีตที่แม่น�้ามีความส�าคัญต่อการคมนาคม และการตั้งชุมชนของมนุษย์ เช่น ตลาดวิเศษชัยชาญ ชุมชนริมแม่น�้าน้อยที่มีความเจริญรุ่งเรืองมากกว่าร้อยปี ความวิจิตรงดงามของแต่ละวัดที่มีทั้งด้านประติมากรรมและสถาปัตยกรรมด้วยฝีมือของช่างในอดีตที่ตกทอดสู่ปัจจุบัน อีกทั้งพระพุทธรูปล้วนมีพุทธศิลป อันงดงามที่สอดแทรกในความเก่าแก่และความศักดิ สิทธิ อาทิ พระพุทธไสยาสน์องค์ใหญ่ วัดขุนอินทประมูล พระพุทธไสยาสน์ วัดป่าโมกวรวิหาร พระมหาพุทธพิมพ์ วัดไชโยวรวิหาร นับว่าเป็นปัญญาของคนรุ่นเก่าที่สอดแทรกประวัติความเป็นมา และการเปลี่ยนแปลงของวั นธรรมแฝงฝากฝีมือทั้งด้านสถาปัตยกรรม วัตถุโบราณ วัด และภาพวาดที่ท�าให้ย้อนเวลาสู่อดีตผ่านดวงตา และความรู้สึกได้อย่างดี ท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงของสังคมในปัจจุบันนี้อ่างทองเป็นเพียงจังหวัดเล็กๆ มีเขตการปกครอง อ�าเภอ และมีประชากรเพียงแค่ ๒๐๐,๐๐๐ กว่าคน แต่ฝีมือและความสามารถของคนอ่างทองนั้นเป็นหนึ่งไม่เป็นรองใคร เริ่มต้นที่อ�าเภอโพธิ ทอง มีศูนย์ศิลปหัตถกรรมงานจักสานบ้านบางเจ้า ่า ซึ่งมีผลงานจักสาน ที่มีเอกลักษณ์เ พาะตัว ถูกประดิดประดอยขึ้นจากความคิด และสองมือบรรจงสร้างสรรค์ด้วย 1 ความตั้งใจจริง เกิดเป็นผลงานที่โดดเด่นสวยงาม มีความละเอียดลออ ทุกๆ ลายที่ถักทอมาสะท้อนให้เห็นถึงฝีมือของชาวบ้านได้ดีทีเดียว ต่อมาที่อ�าเภอป่าโมก มีหมู่บ้านที่ท�ากลองที่ใหญ่ที่สุดในโลกอยู่ที่ต�าบลเอกราช กลองทุกใบจากที่นี่มีคุณภาพดีเยี่ยม ซึ่งท�ามาจากฝีมือของช่างชั้นครูที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่น เริ่มจากการขัดเกลาท่อนไม้ให้กลายเป็นกลอง ขึงหนังกลองด้วยความประณีต ด้วยความช�านาญเชิงช่างและการดนตรี ท�าให้กลองทุกใบมีเสียงที่ไพเราะน่า ัง ที่ต�าบลบางเสด็จมีการปั นตุ กตาชาววัง ภูมิปัญญาจากรั้ววัง ที่ปั นดินจากท้องทุ่งนาให้กลายเป็นตุ กตาที่มีชีวิตชีวา ด้วยความช�านาญ ละเอียด และอดทน ท�าให้ตุ กตาทุกตัวที่อยู่ในอิริยาบถของวั นธรรม ประเพณี และการละเล่นพื้นบ้าน เช่น มอญซ่อนผ้า ม้าก้านกล้วย ตีวงล้อ รีรีข้าวสาร ล สิ่งต่างๆ เหล่านี้เป็นสิ่งที่เชื่อมโยงปัจจุบันสู่อดีต ด้วยเอกลักษณ์เ พาะตัวที่น�า “ทรัพย์ในดิน สินในน�้า” อันอุดมสมบูรณ์ในท้องถิ่นเมืองอ่างทอง มารังสรรค์เป็นผลงานทองหัตถศิลป ชิ้นเอกด้วยความมีฝีมือและความสามารถของคนในอดีต รวมทั้งเป็นสิ่งที่เชื่อมต่อคนเ ่าคนแก่กับคนรุ่นใหม่ เพื่อสืบสานสร้างสรรค์ ภูมิปัญญาเหล่านี้บนวิถีแห่งความยั่งยืนสิ่งส�าคัญที่สุดอาชีพหลักของชาวอ่างทองที่เกิดมาจากภูมิประเทศและภูมิอากาศที่เอื้ออ�านวยจึงท�าให้ “การท�านา” ของคนอ่างทองที่มีการปลูกข้าวเต็มท้องทุ่งนาไกลสุดลูกหูลูกตา ยามออกรวงก็จะเต็มไปด้วยต้นข้าวสีทองอร่าม นอกจากนี้ยังมีการปลูกสวนผัก ผลไม้ ตามแนวพระราชด�าริเศรษฐกิจพอเพียง และด้วยความที่อ่างทองเป็นแหล่งเกษตรกรรม ชาวบ้านต่างสามารถหาของรอบตัวมาใช้ทั้งการบริโภคและอุปโภค จึงท�าให้เป็นคนประหยัด มัธยัสถ์ และมีความพอเพียง อีกทั้งจังหวัดอ่างทองยังเป็น “อู่ข้าว อู่น�้า” ที่ส�าคัญของประเทศที่พรั่งพร้อมไปด้วยทุ่งนาเขียวในที่ราบลุ่มแห่งนี้ชาวอ่างทองทุกคนจึงควรมีความรัก ความหวงแหน และภาคภูมิใจในแผ่นดินถิ่นเกิดแห่งนี้ร่วมกันด�ารงและสืบทอดศิลปะทางภูมิปัญญาของบรรพบุรุษที่ได้คิดค้นขึ้นมา เพื่อ ื นวั นธรรม ื นประวัติศาสตร์ และ ื นจิตส�านึกรักท้องถิ่น มิเพิกเ ยปล่อยให้สิ่งต่างๆ เหล่านี้สูญหาย หรือตกไปอยู่ในมือของคนอื่น โดยเ พาะพลังส�านึกรักบ้านเกิดของลูกหลานเยาวชนคนรุ่นใหม่ มีทั้งทางก�าลังแรงกาย และก�าลังความคิดที่จะต้องร่วมมือร่วมใจกันพั นาถิ่นฐานบ้านเกิดแห่งนี้ให้มีความเจริญน่าอยู่ เป็นที่รู้จักด้วยสิ่งที่ตนเองได้ศึกษาเล่าเรียนมา หรือความช�านาญของตนมาท�าประโยชน์เพื่อทดแทนบุญคุณบ้านเกิดอันเป็นที่รักยิ่ง เป็นที่พึ่งพา และที่อาศัยของเราทุกคนแผ่นดินเกิดมีคุณแก่เรา และเราท�าให้แผ่นดินเกิดอันอุดมสมบูรณ์ไปด้วยพืชพันธุ์ธัญญาหาร แหล่งน�้ากินน�้าใช้ และทรัพยากรต่างๆ มีความเจริญรุ่งเรือง น่าอยู่ ผู้คนมีคุณภาพชีวิตที่ดี โดยมีวัดเป็นสิ่งยึดเหนี่ยวจิตใจ ท�าให้อ่างทองมีความสงบสุขตลอดมา อีกทั้งของเด่น ของดีที่ปรากฏในค�าขวัญท่องเที่ยว คลังวั นธรรมพื้นบ้านแห่งลุ่มน�้าเจ้าพระยา ท�าให้ชาว 2 อ่างทองทุกคนสามารถบอกชาวไทยและชาวโลกได้ว่า “เป็นคนอ่างทอง” ได้อย่างเต็มภาคภูมิด้วยผลงานและแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงาม ความเป็นลูกหลานคนกล้า และเมืองที่อุดมสมบูรณ์“ในน�้ามีปลาในนามีข้าว” แห่งนี้ ด้วยความส�านึกรักบ้านเกิดและภาคภูมิใจ จนท�าให้เมือง “สองพระนอน” คงอยู่สืบไปด้วยกระแสแห่งความรัก ความหวงแหนของคนรุ่นเก่า ที่ลูกหลานชาวอ่างทองทุกคนสัมผัสได้(เรียงความชนะเลิศอันดับที่ ๑ โครงการส�านึกรักบ้านเกิด ของบริษัทโทเทิล แอคเซส คอมมูนิเคชั่น (ดีแทค) : นายวร ัตร น้ามังคละกุล)จากเรียงความเรื่อง ส�านึกรักบ้านเกิด รางวัลชนะเลิศโครงการส�านึกรักบ้านเกิดเป็นงานเขียนเรียงความที่ดี แสดงให้เห็นองค์ประกอบและโครงสร้างของการเขียนที่เป็นตัวอย่างที่ดีในการเขียนเรียงความ ดังนี้๑ มีความสมบ รณ นอ ค ประกอบ ครบ วนทั สวน คือ๑ ๑ ค าน า เป็นส่วนแรกที่ผู้เขียนเรียงความเปดประเด็นให้ผู้อ่านทราบว่าจะเขียนเรื่องราวใดที่เกี่ยวกับส�านึกรักบ้านเกิด ซึ่งคือจังหวัดอ่างทอง โดยกล่าวถึงภาพรวมทั้งหมดของจังหวัดอ่างทอง ในด้านของสภาพภูมิศาสตร์ วิถีชีวิตความเป็นอยู่ วัฒนธรรมประเพณีที่ส�าคัญๆ ด้วยภาษาที่เรียบง่าย กะทัดรัด ตรงไปตรงมา และสอดคล้องกับชื่อเรื่อง๑ ๒ น อ ร ่อ ผู้เขียนน�าเสนอเนื้อเรื่องแยกออกเป็นตอนตามที่ได้เขียนเสนอไว้ในค�าน�ามีการน�าเสนอเนื้อเรื่องอย่างเป็นล�าดับขั้นตอน โดยเริ่มจากประวัติความเป็นมาของจังหวัดอ่างทอง ตั้งแต่สมัยโบราณจนถึงปัจจุบัน ลักษณะเด่นทางด้านศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาของชาวอ่างทองในอ�าเภอต่างๆ การประกอบอาชีพของชาวอ่างทอง และปดท้ายเนื้อเรื่องด้วยการปลุกจิตส�านึกของชาวอ่างทองให้ภูมิใจและส�านึกรักในบ้านเกิด จึงท�าให้เนื้อเรื่องมีความสัมพันธ์สอดคล้อง น่าอ่านน่าติดตามได้ตลอดทั้งเรื่อง๑ สร ป ผู้เขียนสามารถสรุปเรื่องได้ครอบคลุมและตรงประเด็น โดยใช้ถ้อยค�าส�าคัญๆ เช่น เป็นคนอ่างทอง ในน�้ามีปลาในนามีข้าว สองพระนอน มาช่วยสรุปเรื่องได้อย่างน่าสนใจ๒ มีลัก ณะ ป น อก า เนื้อหาของค�าน�า เนื้อเรื่อง และสรุปเกี่ยวเนื่องเป็นเรื่องเดียวกัน ท�าให้เนื้อหาทุกตอนที่น�าเสนอมีสัมพันธภาพเกี่ยวเนื่องกันตามล�าดับ ไม่สับสน และมีสารัตถภาพ คือ เนื้อหาในแต่ละส่วนมีความสมบูรณ์สอดคล้องกับชื่อเรื่อง 3 .การเ น ่อความย่อความ เป็นค�าที่ใช้กันโดยทั่วไปในวิชาภาษาไทยในความหมายของการลดให้สั้นเป็นการเรียบเรียงเสนอเฉพาะใจความส�าคัญของเรื่องอย่างย่อๆ เพื่อให้สามารถอ่านเข้าใจได้อย่างรวดเร็ว มีสาระถูกต้อง ครบถ้วน และสมบูรณ์ตามเรื่องเดิมการเขียนย่อความอาจย่อจากข้อเขียนร้อยแก้ว ร้อยกรอง เรื่องที่ย่ออาจเป็นวิชาการสารคดี บันเทิงคดี จดหมาย แจ้งความ ประกาศ ค�าสั่ง แถลงการณ์ หรืออาจย่อความจากการฟังปาฐกถา ค�าปราศรัย โอวาท ค�าบรรยาย อภิปราย ก็ได้๒.๑ ครงสร้างของ ่อความโครงสร้างของย่อความขึ้นอยู่กับประเภทของเรื่องที่น�ามาย่อ โดยทั่วไปจะเริ่มต้นด้วยย่อหน้าแรกบอกแหล่งที่มาของเรื่อง เพื่อความสะดวกในการอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมจากต้นฉบับ และย่อหน้าต่อไปเป็นสาระของเรื่องที่ย่อความส�าหรับย่อหน้าแรกซึ่งบอกแหล่งที่มา ควรใช้รูปแบบของรายการทางบรรณานุกรมเพราะให้ข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งที่มาได้สมบูรณ์ หรือในวิชาภาษาไทยมักให้รายละเอียด ดังนี้๑) ย่อความเรียงร้อยแก้ว รรม า เช่น นิยาย นิทาน ต�านาน ประวัติ ฯลฯ ให้บอกชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ที่มา ดังนี้ย่อเรื่อง .ของ .จาก ..ความว่า…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .๒) ย่อความเรียงที่ตั ตอนมาให้บอกชื่อเรื่อง ชื่อผู้แต่ง ที่มา ดังนี้ย่อเรื่อง……………………………………ของ ..คัดมาจากเรื่อง .ความว่า…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ..๓) ย่อประกาศ แ ้งความ แ ลงการ ์ ระเบียบ ค าสั่ง ก าหน การ ล ให้บอกประเภท เรื่องอะไร ของใคร วันเดือนป ที่ออก ดังนี้ย่อแถลงการณ์เรื่อง………………………………………………ของ ..ลงวันที่ .ความว่า .. .. 4 ๔) ย่อ หมายโต้ตอบ สาร หนังส อราชการ ให้บอกประเภท เป็นของใคร เลขที่เท่าไร ลงวันที่เท่าไร ถึงใคร เรื่องอะไร ดังนี้ย่อหนังสือราชการของ ..เลขที่ .ลงวันที่ .ถึง………………………………………………………………………………………เรื่อง………………………………………………………………………ความว่า…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… มาย ต ในการย่อจดหมายหลายฉบับติดต่อกันให้ใช้แบบขึ้นต้นจดหมายเฉพาะฉบับแรก ส่วนฉบับต่อๆ ไปให้ย่อต่อจากฉบับแรกโดยใช้ค�าพูดเชื่อมต่อกัน เช่น บอกว่าใครตอบ เมื่อไร ความว่าอย่างไร ) ย่อรายงาน ระราช ารัส โอวาท สุนทร น์ ปา ก า ให้บอกประเภท ของใคร มีแก่ใคร เรื่องอะไร เนื่องในโอกาสใด ที่ไหน เมื่อไร ดังนี้ย่อ ..ของ . แสดง ให้ พระราชทาน แก่ ..เรื่อง ..เนื่องใน…………………………………… ณ .วันที่ . ถ้าย่อจากหนังสือให้ลงชื่อหนังสือ ป ที่พิมพ์ และเลขหน้า ความว่า……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………ถ้าเป็นการย่อรายงานที่มีค�าปราศรัยของผู้ตอบรับรายงานด้วย อาจย่อเป็นรูปแบบ ดังนี้ย่อรายงานของ ..ใน………………………………………………………………เรื่อง ..และค�าปราศรัยของ………………………………………………………………………ความว่า………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… .. ผู้ตอบ กล่าวตอบว่า……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ) ย่อบทร้อยกรองให้บอกย่อเรื่องอะไร ใช้ค�าประพันธ์ประเภทใด ใครเป็นผู้แต่ง จากหนังสืออะไร หน้าใด ดังนี้ย่อเรื่อง…………………………………………………ประเภทค�าประพันธ์ ..ของ .จากหนังสือ ..หน้า ..ความว่า ..………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5 ตัวอยา บทร อยกรอ นมัสการอา ร ยคุ อนึ่งข้าค�านับน้อม ต่อพระครูผู้การุญ โอบเอื้อและเจือจุน อนุสาสน์ทุกสิ่งสรรพ์ยัง บ ทราบก็ได้ทราบ ทั้งบุญบาปทุกสิ่งอัน ชี้แจงและแบ่งปัน ขยายอัตถ์ให้ชัดเจนจิตมากด้วยเมตตา และกรุณา บ เอียงเอน เหมือนท่านมาแกล้งเกณฑ์ ให้ ลาดและแหลมคมขจัดเขลาบรรเทาโม หะจิตมืดที่งุนงม กังขา ณ อารมณ์ ก็สว่างกระจ่างใจคุณส่วนนี้ควรนับ ถือว่าเลิศ ณ แดนไตร ควรนึกและตรึกใน จิตน้อมนิยมชม(นมัสการอาจาริยคุณ : พระยาศรีสุนทรโวหาร (น้อย อาจารยางกูร))ย่อความเรื่อง นมัสการอาจริยาคุณ ประเภทค�าประพันธ์ อินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ ของ พระยาศรีสุนทรโวหาร น้อย อาจารยางกูร จากหนังสือเรียนวรรณคดีวิจักษ์ หน้า ๑๕ ความว่า ร้อย รอง น ่าว ง าร ่คร อาจารย อน ิ ย ห้พ้นจา ความ ง่เ า ความไม่ร ้ ความม วเมา น ิ่ง ิด เพื่อจะได้เป็นคนด น งคม คร เป็น คค ่เป ยมไปด้วยความเม า ร า จ ง อน ิ ย ง ดย ารอ ิ าย ะ าร ่งป น หรือ าร ห้วิชาความร ้ ดยไม่หวง ด้วยเห น จ ง ือว่าพระค องคร น นยิ่ง ห ่ น าม ไม่ว่าจะเป็นมน ย วรรค หรือ าดา ควร ่ ิ ย จะ ร ้ค ๒.๒ ความส�าค ของการ ่อความการย่อความมีความส�าคัญและมีประโยชน์ ดังนี้๑. ช่วยประหยัดเวลาของผู้อ่าน เรื่องที่มีความยาวมากต้องใช้เวลาอ่านนาน การย่อความจะท�าให้ติดตามเรื่องได้รวดเร็ว โดยใช้เวลาไม่มากนัก๒. ช่วยให้เข้าใจเรื่องที่มีเนื้อหามาก เนื้อหายาก หรือมีความซับซ้อนได้ดีขึ้น เรื่องที่มีความซับซ้อนและยุ่งยาก อาจท�าให้ผู้อ่านเกิดความสับสนได้ การย่อความจึงช่วยให้ผู้อ่านเรียบเรียงเนื้อเรื่องได้ง่ายขึ้น และช่วยให้ท�าความเข้าใจเรื่องได้ดีขึ้น ๓. ช่วยให้เข้าใจสาระส�าคัญ การย่อความช่วยให้ผู้อ่านจับประเด็นส�าคัญของเรื่องได้สมบูรณ์ ครบถ้วน และถูกต้องได้ง่ายขึ้น๔. ช่วยให้ผู้ที่ไม่ได้อ่านจากต้นฉบับจริงได้รับประโยชน์จากการอ่าน การติดตามสาระความรู้ด้วยการอ่านเรื่องย่อโดยไม่ได้อ่านจากต้นฉบับจริง สามารถท�าให้ผู้อ่านรับรู้เรื่องราวได้อย่างคร่าวๆ แต่สามารถพิจารณาเนื้อหา และน�าประโยชน์ไปใช้ได้๒.๓ ห กการ ่อความการย่อความ ประกอบด้วยทักษะส�าคัญ ๒ ประการ คือ การอ่านและการเขียน๑) การอ่านเ ่อย่อความเป็นการอ่านแบบสรุปความ หรือการอ่านจับใจความส�าคัญของเรื่อง ซึ่งมีขั้นตอน ดังนี้๑. อ่านเรื่องที่จะเขียนย่อความทั้งหมดอย่างละเอียด เพื่อให้ทราบว่าเป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร ใคร ท�าอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร๒. แยกอ่านและท�าความเข้าใจเรื่องแต่ละย่อหน้าอย่างละเอียด๓. จับความคิดหลัก หรือประโยคใจความส�าคัญในแต่ละย่อหน้า ความคิดหลักหมายถึง ความรู้ ความคิด ที่ผู้เขียนเสนอต่อผู้อ่าน ในแต่ละย่อหน้าจะต้องมีความคิดหลักที่ผู้อ่านสรุปได้เพียงอย่างเดียว ซึ่งมักแสดงด้วยประโยคใจความส�าคัญซึ่งอาจอยู่ต้นย่อหน้า กลางย่อหน้า หรือท้ายย่อหน้า ส่วนประกอบอื่นๆ ได้แก่ ประโยคขยายความหรือพลความ ซึ่งท�าหน้าที่ขยายใจความส�าคัญ หรือความคิดหลักในย่อหน้าเพื่อให้ผู้อ่านเข้าใจชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น รายละเอียดข้อเปรียบเทียบ ตัวอย่าง ย่อหน้าบางแบบอาจมีความคิดหลักแต่ไม่มีประโยคใจความส�าคัญ มีแต่ประโยคขยายความเรียงต่อเนื่องกันไป๒) การเขียนเ ่อย่อความเป็นการเรียบเรียงสาระส�าคัญที่บันทึกไว้จากการอ่าน โดยมีหลัก ดังนี้๒ ๑ อความที่ยอ ๑. มีเฉพาะสาระส�าคัญ คือ ความคิดหลัก ส่วนที่เป็นพลความตัดออกทั้งหมด ๒. ในกรณีที่สาระส�าคัญซ�้ากันหลายๆ แห่ง เมื่อน�ามาเรียบเรียงให้กล่าวเพียงครั้งเดียว ๓. ครอบคลุมประเด็นส�าคัญของเรื่องได้ครบถ้วน สมบูรณ์ ถูกต้องตามเรื่องเดิม ๔. ข้อความที่เป็นค�าพูดอยู่ในเครื่องหมายอัญประกาศ ถ้าไม่ใช่ประเด็นส�าคัญให้ตัดออก ถ้าเป็นประเด็นส�าคัญให้สรุปสั้นๆ ๕. ข้อความที่ย่อเรียงล�าดับอย่างไรก็ได้ให้อ่านเข้าใจง่าย ไม่จ�าเป็นต้องเรียงล�าดับตามเรื่องเดิม๒ ๒ ส านวน า า ๑. ใช้ส�านวนภาษาของผู้ย่อ โดยเป็นการเรียบเรียงเนื้อความใหม่ ไม่ควรใช้ส�านวนภาษาของเรื่องเดิม และต้องไม่ตัดต่อประโยคใจความส�าคัญของต้นฉบับ ๒. เรียบเรียงเป็นเรื่องราวในรูปแบบร้อยแก้ว ถ้าจะกล่าวถึงบุคคลอื่น ให้ใช้ชื่อหรือใช้สรรพนามบุรุษที่ ๓ ห้ามใช้สรรพนามบุรุษที่ ๑ และ ๒ ในการย่อความ ๓. ใช้ส�านวนภาษาที่ดี มีความกะทัดรัด ชัดเจน สละสลวย น่าอ่าน และถูกต้องตามหลักการใช้ภาษา เช่น การใช้ราชาศัพท์ ๔. ส�านวนภาษาหรือค�ายาก ค�ายาว ในเรื่องเดิมให้เปลี่ยนมาใช้ค�าธรรมดา ๕. ไม่จ�าเป็นต้องใช้อักษรย่อในข้อความที่ย่อ นอกจากชื่อเดิมจะยาวมากและอักษรย่อนั้นเป็นที่รู้จักกันแพร่หลาย เช่น กทม. รสช. ร.ส.พ. ททท. ๖. ถ้าเรื่องเดิมเป็นร้อยกรองให้ย่อความเป็นร้อยแก้ว ๗. ใช้ส�านวนภาษาที่คงไว้ซึ่งลีลาหรือน�้าเสียงให้เหมือนเดิม เช่น ความรู้สึกสะเทือนใจ๒ ความยาว อ ยอความ ไม่มีก เกณฑ์แน่นอนว่า ย่อความควรมีสัดส่วนเหลือเท่าไรจากเรื่องเดิม หรือเรื่องขนาดใด ควรย่อให้สั้นเท่าใด ขึ้นอยู่กับความต้องการและการน�าไปใช้ประโยชน์ และที่ส�าคัญคือ สาระส�าคัญและพลความในเรื่องเดิมหากเรื่องใดมีสาระส�าคัญมาก พลความน้อย ย่อความก็จะไม่สั้น คือ ประมาณ ๑ ใน๒ ของเรื่องเดิม เพราะถ้าย่อสั้นมากไป จะไม่ได้ใจความครบถ้วนตามเรื่องเดิมการย่อความเป็นทักษะอย่างหนึ่งที่ต้องอาศัยการฝึกฝน ผู้ที่มีความสามารถในการเขียนเป็นอย่างดีมักเป็นผู้ที่มีทักษะในการอ่านที่ดีด้วย ทั้งนี้เพราะคนที่อ่านได้เข้าใจถูกต้องสามารถจับใจความส�าคัญได้จะเป็นคนที่มีความคิดกระจ่าง และสามารถเขียนสื่อสารความคิดของตนได้อย่างชัดเจน ดังนั้น ความสามารถในการอ่านจึงควบคู่ไปกับความสามารถในการเขียน การอ่านเพื่อให้มีทักษะในการจับใจความแล้วน�ามาเขียนย่อความได้อย่างชัดเจน จึงต้องอาศัยการฝึกฝนโดยปฏิบัติตามหลักการย่อความข้างต้น ซึ่งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการอ่านและเขียนย่อความมากขึ้น .การเ น ดหมา ปัจจุบันโลกมีการพัฒนาทางการสื่อสารโทรคมนาคมได้สะดวกและรวดเร็ว สามารถพูดคุย หรือส่งข้อมูลโต้ตอบกันได้ในทันที แต่การสื่อสารผ่านจดหมายก็ยังคงมีความส�าคัญต่อการสื่อสารในชีวิตประจ�าวัน จดหมายที่ใช้สื่อสารกันอยู่ทุกวันนี้แบ่งออกเป็น ๔ ประเภท ดังนี้๑) หมายส่วนตัวเป็นจดหมายที่เขียนติดต่อระหว่างบุคคลที่คุ้นเคยกัน ญาติสนิทครู อาจารย์ เพื่อไต่ถามทุกข์สุขส่วนตัว เล่าเรื่องราวที่พบเห็นมา แสดงความเสียใจ แสดงความยินดี ขอบคุณ หรือแจ้งกิจธุระบางอย่างที่มีความเกี่ยวข้องกันระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ๒) หมาย ุรก เป็นจดหมายที่เขียนติดต่อกันระหว่างบริษัท ห้างร้าน และองค์กรต่างๆ เพื่อติดต่อกันในเรื่องเกี่ยวกับธุรกิจ พาณิชยกรรม และการเงิน๓) หมายก ุระเป็นจดหมายที่บุคคลเขียนติดต่อกับบุคคลอื่น หรือระหว่างบุคคลกับบริษัท ห้างร้าน องค์กร เพื่อแจ้งธุระต่างๆ เช่น นัดหมาย ขอสมัครงาน ขอทราบผลการสอบบรรจุพนักงาน ขอความช่วยเหลือ และขอค�าแนะน�าเพื่อประโยชน์ในด้านการงานต่างๆ๔) หมายราชการหรือที่เรียกว่าหนังสือราชการ เป็นจดหมายที่เขียนติดต่อกันระหว่างส่วนราชการต่างๆ หรือบุคคลเขียนไปถึงส่วนราชการ หรือส่วนราชการมีไปถึงส่วนราชการด้วยกันเอง หรือมีไปถึงตัวบุคคล การเขียนจดหมายราชการต้องค�านึงถึงแบบของหนังสือราชการตามระเบียบงานสารบรรณด้วย ข้อความในหนังสือดังกล่าวถือเป็นหลักฐานทางราชการ มีสภาพผูกมัดถาวร ดังนั้น จึงควรเขียนให้กระจ่างและชัดเจน ตัวอยา ด มายรา การจดหมายแต่ละประเภทมีรูปแบบและการใช้ภาษาที่แตกต่างกัน ในระดับชั้นนี้ควรฝึกเขียนจดหมายกิจธุระ ซึ่งเป็นจดหมายที่สามารถน�าไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ�าวันได้คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร ถนนหน้าพระลาน กรุงเทพ ๑๐๒๐๐๑ ตุลาคม ๒ เรื่อง ขอความอนุเคราะห์บุคลากรเป็นวิทยากรเรียน ผู้อ�านวยการส�านักศิลปากรที่ ๑ ภูเก็ต ด้วยคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากรร่วมกับกรมศิลปากร จัดโครงการเสวนาสรรสาระวั นธรรม (ปีที่ ) ทุกวันเสาร์สุดท้ายของเดือนตุลาคม ๒ กันยายน ๒ โดยในเดือนตุลาคม ๒ นี้ ทางคณะ จัดบรรยายในวันเสาร์ที่ ๐ ตุลาคม ๒ ในหัวข้อ “ย้อนเส้นทางสายไหมทางทะเล : ทุ่งตึกเมืองท่าการค้านานาชาติ” เวลา ๑ ๐๐ ๑ ๐๐ น ณ ห้องประชุมด�ารงราชานุภาพ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร ในการนี้คณะโบราณคดี ใคร่ขอความอนุเคราะห์ให้ ร้อยเอกบุณยฤทธิ ายสุวรรณ เป็นวิทยากรในการบรรยายเรื่อง “ย้อนเส้นทางสายไหมทางทะเล : ทุ่งตึกเมืองท่าการค้านานาชาติ” ในวันเสาร์ที่ ๐ ตุลาคม ๒ เวลา ๑ ๐๐ ๑ ๐๐ น ณ ห้องประชุมด�ารงราชานุภาพ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณาด้วย จักขอบพระคุณยิ่งขอแสดงความนับถือ(รองศาสตราจารย์ชนัญ วงษ์วิภาค)รองคณบดีฝ่ายกิจกรรมพิเศษปฏิบัติราชการแทนคณบดีคณะโบราณคดีส�านักงานเลขานุการคณะโบราณคดีโทรศัพท์ ๐ ๒๒๒ โทรสาร ๐ ๒๒๒ 0 ๓.๑ การเข น ดหมา กิ ระจดหมายกิจธุระเป็นจดหมายที่เขียนติดต่อกับบุคคล หรือองค์กรต่างๆ เช่น ห้างร้าน บริษัทสมาคม ฯลฯ เพื่อติดต่อกิจธุระต่างๆ แม้แต่นักเรียนก็ต้องเขียนจดหมายกิจธุระอยู่เสมอๆ เช่น เขียนจดหมายขอลาหยุดเรียนเมื่อเจ็บป วย มีกิจธุระจ�าเป็น หรือเชิญวิทยากรมาบรรยาย ขอเข้าชมกิจการของสถานประกอบการต่างๆ เป็นต้นการเขียนจดหมายกิจธุระต้องใช้ภาษากะทัดรัดและตรงประเด็น เพื่อสื่อสารให้ผู้อ่านเข้าใจตรงกัน โดยมีรูปแบบการเขียนเช่นเดียวกับหนังสือราชการ ดังตัวอย่างตัวอยา บบการ ียน ด มายกิ ระโรงเรียนปลูกปัญญา๑ ๒ ถ ตะนาว พระนคร กรุงเทพ ๑๐๒๐๐๑๐ มีนาคม ๒ ๒เรื่องเรียนสิ่งที่ส่งมาด้วยขอแสดงความนับถือ(นายปัญญวีร์ โรจนหิรัญพงศ์)ผู้อ�านวยการโรงเรียนปลูกปัญญา 1 แบบของ หมายก ุระส่วนที่ ๑ ประกอบด้วย หน่วยงานเจ้าของจดหมาย วัน เดือน ปี จุดมุ่งหมายของการเขียนจดหมายกิจธุระ บับนั้น ซึ่งใช้ค�าว่า เ ื่อ ค�าขึ้นต้นใช้ค�าว่า เ ี น ตามด้วยชื่อต�าแหน่งหรือชื่อบุคคลที่จดหมาย บับนั้นส่งไปถึง ถ้ามีรายละเอียดหรือข้อมูลต่างๆ ส่งไปด้วย ก็ใช้ค�าว่า ่ ที่ า ส่วนที่ ๒ เป็นใจความของจดหมายกิจธุระ บับนั้น ซึ่งอาจมีหลายย่อหน้าก็ได้ส่วนที่ ๓ ประกอบด้วย ค�าลงท้าย ซึ่งส่วนใหญ่ใช้ค�าว่า อ า นับ ือ มีลายเซ็นพร้อมวงเล็บชื่อ สกุลเต็ม และต�าแหน่งของผู้เขียนจดหมายตัวอยา ด มายกิ ระ ด มาย ิญวิทยากรโรงเรียนไทยศึกษา ถนนวิภาวดีรังสิต รังสิต บางเขน กรุงเทพ ๑๐๒๐๐๒ พฤศจิกายน ๒ ๒เรื่อง ขอเชิญวิทยากรเรียน คุณนิติรัฐ เอี่ยมระหง เนื่องด้วยทางโรงเรียนไทยศึกษาจะจัดงานวันสิ่งแวดล้อมไทยขึ้น ในวันศุกร์ที่ ธันวาคม ๒ ๒ โดยมีวัตถุประสงค์ให้นักเรียนตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมและรณรงค์ให้นักเรียนร่วมใจรักษาสิ่งแวดล้อม ทางโรงเรียนตระหนักดีว่าท่านเป็นผู้ทรงคุณวุ ิ มีความรอบรู้ในเรื่องสิ่งแวดล้อม จึงขอเรียนเชิญท่านเป็นวิทยากรบรรยายเรื่อง “รักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อวันพรุ่งนี้”ในวันศุกร์ที่ ธันวาคม ๒ ๒ เวลา ๑ ๐๐ ๑ ๐๐ น ณ หอประชุมโรงเรียนไทยศึกษา จึงเรียนมาเพื่อโปรดอนุเคราะห์เป็นวิทยากร ตามวัน เวลา และสถานที่ดังกล่าว และขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ด้วยขอแสดงความนับถือสมศักดิ ภักดี(นายสมศักดิ ภักดี)ผู้อ�านวยการโรงเรียนไทยศึกษา 2 ตัวอยา ด มายกิ ระ ด มายสมัคร าน ถนนอู่ทองใน เขตดุสิต แขวงบางซื่อ กรุงเทพ ๑๐ ๐๐ ๐ สิงหาคม ๒ ๒เรื่อง สมัครงานในต�าแหน่งเลขานุการเรียน ผู้จัดการฝ่ายบุคคลบริษัทศรีสุข จ�ากัดสิ่งที่ส่งมาด้วย ดิ ันได้ทราบข่าวจากประกาศของกรมแรงงาน เมื่อวันที่ ๒ สิงหาคม ๒ ๒ ว่าบริษัท ศรีสุข จ�ากัด ต้องการรับพนักงานในต�าแหน่งเลขานุการ ๒ ต�าแหน่ง ดิ ันขอสมัครรับใช้ท่านในต�าแหน่งดังกล่าว จึงขอเสนอให้ท่านพิจารณาความเหมาะสม รายละเอียดต่อไปนี้ ดิ ันชื่อ นางสาวลดาวัลย์ คงมั่น อายุ ๒ ปี สัญชาติไทย มีสุขภาพสมบูรณ์แข็งแรงส�าเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร ปีการศึกษา๒ ๐ ตลอดระยะเวลา ปี ที่ดิ ันศึกษาอยู่ในสถาบันนี้ ดิ ันฝ กฝนการใช้ภาษาต่างประเทศและทักษะการใช้คอมพิวเตอร์โปรแกรมต่างๆ เป็นอย่างดี ดิ ันสามารถใช้คอมพิวเตอร์ได้คล่องแคล่ว และสามารถพิมพ์ดีดทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้นาทีละ ๐ ค�า ระหว่างการศึกษาดิ ันเคยฝ กงานด้านเลขานุการที่บริษัทโชคอนันต์ จ�ากัด (มหาชน) เป็นเวลา เดือน เมื่อจบการศึกษาแล้ว ดิ ันได้ท�างานที่บริษัท ไทยพั นา จ�ากัด ในต�าแหน่งผู้ช่วยเลขานุการกรรมการผู้จัดการเป็นเวลา ๑ ปี สาเหตุที่ลาออกเพราะดิ ันต้องการประสบการณ์ในการท�างานที่มากขึ้น เพื่อเป็นการรับรองความรู้และความประพฤติในการท�างาน ท่านอาจสอบถามได้ที่ ๑ ผศ ดร อุไรพร แก้วเจริญ อาจารย์ประจ�าคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร โทร ๐ ๒๑๒ ๒ นายชนะ สุขสการ หัวหน้าทรัพยากรบุคคล บริษัทโชคอนันต์ จ�ากัด (มหาชน)โทร ๐ ๒ ๒ ๑ นางวรรณมาลี สุภากร เลขานุการกรรมการผู้จัดการบริษัท ไทยพั นา จ�ากัดโทร ๐ ๒ ๑๑ ขอให้ดิ ันได้มีโอกาสได้พบท่าน เพื่อเรียนท่านด้วยตนเองว่า ดิ ันจะรับใช้ท่านได้อย่างไรบ้าง ท่านสามารถติดต่อดิ ันได้ตามที่อยู่ข้างต้น หรือโทร ๐ ๒ ๐๐๐ขอแสดงความนับถือ(นางสาวลดาวัลย์ คงมั่น) 3 ตัวอยา บประวัติยอนางสาวลดาวัลย์ คงมั่น๑ ที่อยู่ปัจจุบัน ถนนอู่ทองใน เขตดุสิตแขวงบางซื่อ กทม ๑๐ ๐๐๒ ประวัติส่วนตัว ๒ ๑ อายุ ปีเกิด ๒ ปี ๒ มีนาคม ๒ ๒ ๒ ๒ ศาสนา พุทธ ๒ น�้าหนัก ส่วนสูง กก ส่วนสูง ๑ ซม ๒ สัญชาติ เชื้อชาติ ไทย ไทย ๒ สถานภาพการสมรส โสด ๒ สุขภาพ แข็งแรง การศึกษา ๑ มัธยมศึกษาตอนปลาย โรงเรียนสตรีกรุงเทพ ๒ ปริญญาตรี คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร พ ศ ๒ ๐ ประสบการณ์ ฝ กงานด้านเลขานุการที่บริษัท โชคอนันต์ จ�ากัด (มหาชน) เดือน ระหว่างวันที่ ๑ มิถุนายน ๑ สิงหาคม ๒ ๑ กิจกรรมนอกหลักสูตร เลขานุการสโมสรนักศึกษาคณะอักษรศาสตร์ ประชาสัมพันธ์ชมรมศิลปะการแสดง ประธานชมรมศิลปะการพูด ผลงาน ประชาสัมพันธ์เผยแพร่กิจกรรมชมรมศิลปะการแสดงจนเป็นที่รู้จักของคนทั่วไป คุณสมบัติพิเศษ พิมพ์ดีดภาษาไทยและภาษาอังกฤษได้นาทีละ ๐ ค�า มีความเป็นผู้น�า สามารถพูดและเขียนภาษาอังกฤษ จีน และญี่ปุ่นได้เป็นอย่างดี 4 ▼๓.๒ ข้อควรค�านึงในการเข น ดหมา ๑. เขียนข้อความในจดหมายให้ชัดเจน จะช่วยให้เกิดประโยชน์ทั้งผู้ส่งสารและผู้รับสารตามที่ตั้งวัตถุประสงค์ไว้๒. ใช้รูปแบบของจดหมายให้ถูกต้องซึ่งแสดงให้เห็นถึงความเป็นผู้รู้จักกาลเทศะ และส่งผลให้การส่งจดหมายฉบับนั้นสัม ทธิผล๓. แสดงมารยาทที่เหมาะสมกับบุคคลที่ติดต่อด้วย ทั้งการเลือกใช้ถ้อยค�าภาษา ความสะอาด กระดาษเขียนจดหมายและความเป็นระเบียบของลายมือ หรือการจัดหน้ากระดาษ๔. การบรรจุซองจะต้องเรียบร้อยจ่าหน้าซองให้ชัดเจน โดยเขียนระบุชื่อผู้รับ ที่อยู่ และรหัสไปรษณีย์ให้ชัดเจน จ งกล่าวได้ว่าในการเขียนงานเขียนแต่ละประเภท เป็นการใช้ภาษาเพื่อถ่ายทอดความรู้ ความคิดให้ผู้อื่นทราบโดยใช้ภาษาเป็นสื่อ ผู้ที่มีความรู้ดีจะสามารถจัดระเบียบความคิดดี และรู้จักเลือกใช้ภาษาถ่ายทอดความรู้ ความคิดนั นได้อย่างเหมาะสม มีศิลปะในการใช้ภาษา จะท�าให้งานเขียนนั นมีคุณค่า น่าอ่าน และน่าสนใจ โดยเ พาะการเขียนเรียงความ ่งเป็นการถ่ายทอดความรู้ ความคิด จะต้องวางโครงเรื่องให้ดี และเขียนด้วยภาษาที่ถูกต้อง ส่วนการย่อความต้องจับใจความส�าคั ของเรื่องราวต่าง ให้กระชับ แต่ได้ใจความครบถ้วนถูกต้องสมบูรณ์ เหมาะส�าหรับผู้ที่มีเวลาน้อย แต่ต้องการทราบเรื่องราวทั งหมด ผู้ที่ย่อความเป็นมักจะต้องเป็นนักอ่าน คนที่อ่านได้อย่างรวดเร็วและจับใจความส�าคั ได้ดีจะสามารถย่อความได้ดีด้วย ในขณะเดียวกันการเขียนจดหมาย ผู้ที่สามารถเขียนจดหมายได้ดีต้องรู้หลักการเขียน มีมารยาทในการเขียน ใช้ภาษาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม เพื่อให้ผู้อื่นรับรู้เรื่องราวที่ต้องการสื่อสารได้ตรงตามวัตถุประสงค์ ▼ การสงจดหมายใหสัม ทธิ ล ูจัดสงตองเขียนหรือพิมพที่อยูของ ูรับใหถูกตองชัดเจน 5 ะดวงตราไปรษณียากร´Ç§µÃÒä»Ã ³ÕÂÒ¡Ã ËÃ×ÍáʵÁ» ໚¹ËÅÑ¡ Ò¹¡ÒêíÒÃФ‹ÒºÃÔ¡ÒÃä»Ã ³Õ Áѡ໚¹¡ÃÐ´Ò ÃÙ»ÊÕèàËÅÕèÂÁà¾×è͵Դº¹«Í§¨´ËÁÒ ᵋáʵÁ» ·ÕèÁÕÃٻËҧËÃ×Í·íÒ¨Ò¡ÇÑÊ´ØÍ×蹡çÁÕÍÂÙ‹ºŒÒ§áʵÁ» ÁÑ¡¾ÔÁ¾Í͡໚¹á¼‹¹ »ÃСͺ´ŒÇÂáʵÁ» ËÅÒ´ǧ »¡µÔÍÂÙ‹ÃÐËÇ‹Ò§ ¶Ö§ ´Ç§ ÁÕ¡ÒûÃØÃÙÃͺ´Ç§áʵÁ» ¹áʵÁ» ´ŒÒ¹ËÅѧáʵÁ» ÁÕ¡ÒÇà¤Å×ͺÍÂÙ‹ ¡ÃÐ´Ò ·Õè㪌¾ÔÁ¾ÁÑ¡á·Ã¡ÊÔ觾Ôà äÇŒà¾×èÍ» ͧ¡Ñ¹¡ÒûÅÍÁá»Å§ ઋ¹ ÅÒ¹éíÒËÃ×Í´ŒÒÂÊÕáʵÁ» ªØ´áá¢Í§ä·Â ¤×Í ªØ´âÊ Í͡㪌໚¹¤ÃÑé§àÁ×èÍÇѹ·Õè ÊÔ§ËÒ¤Á ¾ »ÃСͺ´ŒÇÂáʵÁ» ÃÒ¤Ò˹Öè§âÊ ¤ÃÖè§ÍÑ Ë¹Öè§ÍÑ Ë¹Öè§àÊÕéÂÇ ÊͧÍÑ Ë¹Ö觫ա ÊÕèÍÑ áÅÐ˹Öè§ÊÅÖ§ ÊԺˡÍÑ ¹Í¡¨Ò¡¹Õéã¹ÊÁѹÑé¹ÂѧÁÕáʵÁ» ÍÕ¡´Ç§ÃÒ¤Ò˹Öè§à ͧ á»´ÍÑ áµ‹à¹×èͧ¨Ò¡Ê‹§ÁÒ¶Ö§ä·ÂÅ‹ÒªŒÒ¨Ö§äÁ‹ÁÕ¡ÒÃ㪌§Ò¹¨ÃÔ§ áʵÁ» ªØ´¹ÕéÍ͡ẺáÅоÔÁ¾·Õè¡ÃاÅ͹´Í¹ ÊËÃÒªÍҳҨѡà 㹪‹Ç§¹Ñé¹ä·ÂÂѧäÁ‹ä´Œà¢ŒÒËÇÁ໚¹ÊÁÒªÔ¡ÊËÀÒ¾ÊÒ¡Åä»Ã ³Õ ¨Ö§äÁ‹ÁÕª×èÍ»ÃÐà· »ÃÒ¡ ʋǹáʵÁ» ·ÕèÊÑ觾ÔÁ¾ªØ´µ‹Íæ ÁÒ໚¹ä»µÒÁ¡ ¢Í§ÊËÀÒ¾ÊÒ¡Åä»Ã ³Õ ¡Å‹ÒǤ×Í ÁÕª×èÍ»ÃÐà· áÅÐÃÒ¤Òã¹ÀÒ ÒÍѧ¡ áÅÐÁÕ¤íÒÇ‹Ò «Öè§ËÁÒ¶֧໚¹¡ÒêíÒÃФ‹Òä»Ã ³Õ ¡Ô¨¡ÃÃÁสร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ค�าถามประจ�าหน่วยการเรียนรู้๑. ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับปัญหาสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน แล้วเขียนสรุปความรู้เพื่อเขียนเรียงความเกี่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม คนละ ๑ เรื่อง๒. จัดกิจกรรมประกวดเรียงความเชิงสร้างสรรค์ในหัวข้อเรื่องที่ก�าลังเป็นที่สนใจของสังคม เช่น - ถุงผ้าช่วยลดโลกร้อน - พลังงานทดแทน - ละครเกาหลีกับสังคมไทย - ความสุขกับชีวิตที่พอเพียง๓. ให้นักเรียนเลือกฟัง ดู หรืออ่านเรื่องที่นักเรียนสนใจจากสื่อต่างๆ แล้วเล่าเรื่องให้เพื่อนๆ ในชั้นเรียนฟัง เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ที่น่าสนใจและเป็นประโยชน์๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับความส�าคัญของจดหมายในชีวิตประจ�าวัน๕. ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับความเป็นมาและวิวัฒนาการของจดหมายจากอดีตถึงปัจจุบัน แล้วจัดท�าเป็นรายงานส่งครู๑. การวางโครงเรื่องก่อนการเขียนเรียงความมีความส�าคัญอย่างไร๒. การเลือกหัวข้อเรื่องในการเขียนเรียงความ มีความจ�าเป็นหรือไม่ อย่างไร๓. การย่อความจากสื่อต่างๆ มีประโยชน์ต่อการสื่อสารอย่างไร๔. การย่อความจากบทร้อยกรองมีวิธีการอย่างไร จงอธิบาย๕. ในยุคที่การสื่อสารมีความเจริญก้าวหน้าเช่นปัจจุบัน การเขียนจดหมายกิจธุระมีความส�าคัญอย่างไรต่อชีวิตประจ�าวัน นวยการ รียนร ที่ตอนที่ óสาระการ รียนร กนกลา • การเขียนสื่อสารด้วยการเขียนอธิบายการเขียนอธิ ายการเขียนอธิ ายเปนการเขียนที่มุงให อานเขาใ เรื่องราวอยางใดอยางหนึ่งไดโดยถ กตองชัดเ น การเขียนอธิ ายเปนการเขียนเชิงป ิ ัติที่ เขียน ะตองมีความร  ความเขาใ เกี่ยวกั เรื่องที่เขียน ุดมุงหมาย ประเภท และวิธีการเขียนอธิ าย ึง ะชวยใหการเขียนอธิ ายสัม ทธิ ลตรงตาม ุดประสงคที่ก าหนดไวตัว ี วัด• เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและสาระส�าคัญชัดเจน ท ๒ ๑ ม ๔-๖ ๑ ๑. ดม ่งหมา องการเ นอ ิ า การเขียนอธิบายมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่านเข้าใจเรื่องราวอย่างใดอย่างหนึ่งอย่างถูกต้องชัดเจน เช่น อธิบายวิธีการท�าขนมครก อธิบายวิธีใช้เครื่องซักผ้า อธิบายหลักการใช้ภาษาไทย อธิบายวิธีนั่งกรรมฐาน อธิบายศัพท์เทคนิค อธิบายสุภาษิตและค�าพังเพย เป็นต้นในด้านความรู้และความคิด การอธิบายมีความจ�าเป็นมาก ครูที่สอนนักเรียนอยู่ทุกวันก็ต้องมีการอธิบายเนื้อหาของวิชาให้นักเรียนเข้าใจ การเขียนต�าราทุกสาขาวิชาก็คือการเขียนอธิบายเนื้อหาวิชาของสาขานั้นๆ ค�าแนะน�าต่างๆ เช่น ค�าแนะน�าการปองกันโรคติดต่อ ค�าแนะน�าการปลูกพืชเศรษฐกิจ ค�าแนะน�าการเลี้ยงทารกด้วยนมมารดา เป็นต้นการเขียนอธิบายจึงมีความส�าคัญมากต่อการสื่อสาร เนื่องจากการชี้แจงเรื่องต่างๆหากไม่สามารถถ่ายทอดไปยังบุคคลอื่นๆ ได้อย่างถูกต้องชัดเจน การสื่อสารย่อมไม่ประสบความส�าเร็จได้ในปัจจุบันมีการเขียนอธิบายเกิดขึ้นมากมาย เช่น หนังสือคู่มือต่างๆ ที่เขียนอธิบายการใช้หนังสือหรือต�ารา เป ื อง นคร ่าว ง ารเ ยนอ ิ ายว่า หมาย ง าร อ เ ่าเรื่องราวจา ความร ้ ่ได้จา าร งเ พิจาร า หรือความร ้ ่ได้มาจา าร า ื ค้นหรือความคิดอ่านอย่างหน ่งอย่าง ดอ นเ ิด น จ ดยม ะ าค คือ ความ จ่ม จ้งช ดเจน ความน่าอ่าน ะ ารเ ยนอ ิ ายจะ ่อารม อง ้เ ยน งไปด้วยไม่ได้ ้องเ ยนอย่างม อ เ า เพราะความม ่งหมาย อง ารเ ยนน คือ าร ห้ความร ้การเขียนอธิบายจึงเป็นการเขียนเชิงปฏิบัติที่มีจุดมุ่งหมายเพื่อขยายความ ตีความ หรือแสดงเนื้อหาความรู้ให้กระจ่าง รวมทั้งการวิเคราะห์ข้อเท็จจริง และการให้เหตุผลต่างๆ▼ การเขียนอธิบายขาวที่ปราก ในหนังสือพิมพ ูอานตองใชวิจารณ าณในการอานและวิเคราะหขอเท จจริง . ร เ องการเ นอ ิ า การเขียนอธิบายอาจจ�าแนกประเภทได้ ๔ ประเภท ดังนี้๑) การเขียนอ บายประเภทค า ากั ความ ได้แก่ การเขียนอธิบายความหมายของค�าข้อความ ส�านวน สุภาษิต ค�าพังเพย หัวข้อทางวิชาการต่างๆ ตลอดจนหัวข้อประชุม หัวข้ออภิปราย ญัตติในการโต้วาที เป็นต้น การให้ค�าจ�ากัดความแต่ละเรื่องจะต้องกระชับ ชัดเจน และเข้าใจง่าย เช่นกาน า(แบบ) น หญิงที่รักกานต์(แบบ) ว เป็นที่รัก, โดยมากใช้เป็นส่วนท้ายของสมาส เช่น ค�าว่าจันทรกานต์ เป็นที่รักของพระจันทร์ ได้แก่ แก้วผลึกที่ถูกแสงจันทร์แล้วมีเหงื่อ, คู่กับ สูรยกานต์ เป็นที่รักของพระอาทิตย์ ได้แก่ แก้วที่รวมแสงอาทิตย์ให้เกิดไ ได้ (ส )กานท์(โบ) น บทกลอน เช่น สารสยามภาคพร้อง กลกานท์ นี้ฤ (ยวนพ่าย) กานน ๑ ( นน) (แบบ) น ป่า, ดง, เช่น อันว่าท้องเขาวงกฏกานน (ม ค�าหลวง วนปเวสน์) (ป ส )กานน ๒ ( นน) น ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ( ) ในวงศ์ มีทางปักษ์ใต้ เนื้อไม้แข็งแรงทนทาน, ทางปักษ์ใต้มักเรียกสั้นๆ ว่า นน ทางภาคกลางเรียก สมอกานน กาน ลู( พลู) น ดอกตูมรวมทั้งก้านดอกของต้นกานพลู ซึ่งเป็นพรรณไม้ขนาดย่อมชนิดหนึ่ง ( ) ในวงศ์ มีรสเผ็ดร้อน นับเข้าในเครื่องเทศ (ทมิ กิรามบู) ๒) การเขียนอ บายประเภทเช งอรร เป็นค�าอธิบายหรือข้ออ้างอิงที่เขียนหรือพิมพ์ไว้ที่ส่วนล่างของหนังสือหรือตอนท้ายของเรื่อง อาจจะเป็นการขยายความ ให้ความหมาย บอกที่มาของเรื่อง หรือค�าที่ปรากฏอยู่ในเนื้อเรื่อง แต่ส่วนที่เป็นเชิงอรรถจะไม่เกี่ยวข้องกับเนื้อเรื่อง หรือไม่สมควรที่จะมาปะปนอยู่ในเนื้อเรื่อง เพราะจะท�าให้เสียรสหรือเสียความไป การเขียนเชิงอรรถเป็นการเขียนอธิบายอย่างหนึ่งซึ่งต้องกระชับ ชัดเจน และเข้าใจง่าย ประสิทธิ กาพย์กลอน เขียนเชิงอรรถอธิบายขยายความ โดยใช้เครื่องหมายดอกจัน และเชิงอรรถอ้างอิงแหล่งที่ค้นคว้าโดยใส่ตัวเลขก�ากับ ดังนี้ 0 ตัวอยา การอ า อิ ิ อรร นิทานเรื่องอิหร่านราชธรรม เป็นวรรณคดีที่มีมาตั้งแต่อยุธยา เป็นเรื่องที่ให้แง่คิดแก่คนในสังคมไม่ว่าจะเป็นชนชั้นปกครอง หรือผู้ที่อยู่ใต้ปกครองว่าทุกคนล้วนมีบทบาทที่ส�าคัญ มีส่วนช่วยในการพั นาสังคม หากมีความส�านึกในบทบาทหน้าที่ของตน และปฏิบัติตนให้ดีที่สุด ย่อมน�ามาซึ่งความสงบสุขในสังคม อีกทั้งได้สอดแทรกคติธรรมที่ดีด้วยนิทานเรื่องนี้เดิมทีเรียกว่า “นิทานสิบสองเหลี่ยม” ต่อมาเมื่อราชบัณฑิตสภาได้จัด*พิมพ์หนังสือนิทานชุดนี้จึงมีการเรียกชื่อใหม่ว่า “นิทานอิหร่านราชธรรม” โดยสมเด็จ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพ ได้ปรารภว่า “เรื่องสิบสองเหลี่ยม เห็นว่าไม่ชวนอ่านเหมือนเป็น นามป ดค่าของหนังสือ นิทานเหล่านี้สิเป็นของพวกแขกอิหร่านและว่าด้วยราชธรรม จึงให้ชื่อเสียใหม่ว่า นิทานอิหร่านราชธรรม”๑นิทานอิหร่านราชธรรมมีที่มาตามที่สมเด็จ กรมพระยาด�ารงราชานุภาพทรงสันนิษฐานว่า คงเป็นเรื่องที่ชาวเปอร์เซียน�าเข้ามาในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชเมื่อครั้งพระเจ้าแผ่นดินเปอร์เซียโปรดให้แต่งราชทูตเข้ามาเกลี้ยกล่อมให้พระองค์เข้ารีตศาสนาอิสลาม โดย บับแรกเป็นของขุนกัลยาบดี ขุนนางแขกเปอร์เซียที่เข้ามารับราชการในอยุธยา ท่านได้รวบรวมและเรียบเรียงนิทานดังกล่าวถวายพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ เมื่อ พ ศ ๒๒ ๒*กุสุมา รักษมณี กล่าวว่า นิทานเรื่องนี้ได้กล่าวถึงพระมณฑปที่ประดิษฐานพระศพพระเจ้าเนาวสว่านว่าเป็นมณฑปสิบสองเหลี่ยม จึงเป็นเหตุให้คนไทยในสมัยก่อนเรียกนิทานชุดนี้ว่า นิทานสิบสองเหลี่ยม๑น ทานอ หร่านราช รรม (พระนคร : องค์การค้าของคุรุสภา, ๒ ๐ ), หน้า ง ๒กุสุมา รักษมณี, ล ล ตอ หร่านราช รรม วรร ค ีในอั มและนวมรัชกาล ศ ลปวั น รรม , (มิถุนายน ๒ ๒ ) : หน้า จากตัวอย่างเชิงอรรถข้างต้น จะเห็นได้ว่า เชิงอรรถ เป็นการอธิบายเพิ่มเติมเชิงอรรถที่ ๑ และ ๒ เป็นการบอกแหล่งที่มาของการอ้างอิง 1 ๓) การเขียนอ บายประเภทความรู้หร อว ชาการ ผู้เขียนจะต้องมีความรู้ในเรื่องนั้นอย่างแท้จริง อาจเป็นความรู้ที่ได้จากหลักฐานและการค้นคว้า หรือการที่ได้ยินได้ฟังมาจากแหล่งที่เชื่อถือได้ การเขียนจะต้องใช้ความชัดเจน ความง่าย และความถูกต้องของภาษา ซึ่งจะท�าให้ผู้อ่านอ่านแล้วได้ความรู้และความเข้าใจเป็นอย่างดี เช่น พระบรมราชาธิบาย พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๕ ว่าด้วยธรรมเนียมราชตระกูลในกรุงสยาม ซึ่งพระองค์ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้นเมื่อวันเสาร์ เดือน ๕ แรม ๑ ค�่า ป ขาล สัม ทธิศก จุลศักราช ๑๒๔ ตรงกับวันที่ ๒๗ เมษายน พ.ศ. ๒๔๒๑ เนื้อความมีดังนี้ธรรมเนียมราชตระกูลในกรุงสยามนี้ แตกต่างจากเมืองลาว กล่าวคือราชตระกูลของสยามมีหลายชั้น ส่วนของลาว เช่น เชียงใหม่ หลวงพระบาง ไม่ได้นับเป็นชั้น ถ้ามีเชื้อสายในราชตระกูลก็เรียกว่าเจ้าทั้งสิ้น ธรรมเนียมราชตระกูลสยามในพระราชพงศาวดารกรุงเก่า ตั้งแต่จุลศักราช ๑๒ ปี จนถึงรัชกาลที่ ธรรมเนียมที่เรียกชื่อเสียงยศศักดิ ก็ได้เปลี่ยนแปลงไปหลายครั้งต�าแหน่งยศเจ้านายในพระราชก�าหนดกฎมณเฑียรบาล ซึ่งตั้งขึ้นในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ ในจุลศักราช ๒๐ ปี แบ่งเจ้าออกเป็น ชั้น๑ ชั้นที่ ๑ พระเจ้าลูกเธอเกิดด้วยพระอัครมเหสี เรียกว่า สมเด็จหน่อพุทธเจ้า มียศใหญ่กว่าเจ้านายทั้งปวง ต้องอยู่ในเมืองหลวง๒ ชั้นที่ ๒ เรียกว่า ลูกหลวงเอก เป็นพระราชโอรสของพระเจ้าแผ่นดิน แต่พระมารดาต้องเป็นพระธิดาของพระเจ้าแผ่นดินเหมือนกัน จึงเรียกว่าเป็นลูกหลวงเอก พระเจ้าลูกเธอชั้นนี้มียศได้กินเมืองเอก คือ เมืองพิษณุโลก เมืองสุโขทัย เมืองนครราชสีมา เป็นต้น เรียกว่า ลูกเธอกินเมืองเอกก็ได้ ชั้นที่ พระราชโอรสของพระเจ้าแผ่นดิน แต่พระมารดาเป็นหลานหลวง คือ หลานของพระเจ้าแผ่นดินตรงๆ เจ้าที่เกิดด้วยหลานหลวงนี้ เรียกว่า ลูกหลวงโท มียศกินเมืองโท เช่น เมืองสวรรคโลก เมืองสุพรรณ เป็นต้น ชั้นที่ พระราชโอรสที่เกิดด้วยพระสนม เรียกว่า พระเยาวราช คือ เจ้าผู้น้อย ไม่ได้กินเมืองเจ้าทั้ง ชั้นนี้ ว่าแต่ด้วยลูกหลวง พระเยาวราชต้องถวายบังคมพระเจ้าลูกเธอทั้งสามชั้นนั้นก็ถวายกันเป็นล�าดับถัดไปตามยศ ถึงจะแก่อ่อนกว่ากันอย่างไรไม่ได้ก�าหนดด้วยอายุ ก�าหนดเอายศเป็นส�าคัญ ผู้มียศน้อยถึงแก่กว่าก็ต้องไหว้ ต้องเดินตามหลัง 2 สรรพ์สาระ ÃÐÃÒª ´ ¹  ´ ÇÒ Ã Â Ò¾ÃÐÃÒª¾Ô¸ÕÊÔºÊͧà´×͹ ໚¹º·¾ÃÐÃÒª¹Ô¾¹ ã¹¾ÃкҷÊÁà´ç¨¾ÃШØŨÍÁà¡ÅŒÒ਌ÒÍÂÙ‹ËÑÇ ÁÕà¹×éÍËÒÇ‹Ò´ŒÇ ¾ÃÐÃÒª¾Ô¸Õµ‹Ò§æ ·Õè¨Ñ´¢Öé¹·Ñé§ã¹ÊÁÑÂâºÃÒ³ áÅÐã¹ÊÁÑ·Õè ¾ÃÐͧ¤¾ÃÐÃÒª¹Ô¾¹  ·Ã§Í ÔºÒ¶֧¾ÃÐÃÒª¾Ô Õµ‹Ò§æ ´ŒÇÂÊíҹǹÀÒ Ò·ÕèäÁ‹à¤Ã‹§¤ÃÑ´Í‹ҧµíÒÃÒ «Öè§ã¹ÊÁÑÂãËÁ‹ÍÒ¨àÃÕ¡䴌NjÒ໚¹Ë¹Ñ§Ê×Í»ÃÐàÀ·ÊÒä´Õ¾ÃÐÃÒª¾Ô ÕÊÔºÊͧà´×͹໚¹º·¾ÃÐÃÒª¹Ô¾¹ ·Õè¶×Í໚¹áººÍ‹ҧ¢Í§¡ÒÃà¢Õ¹¤ÇÒÁàÃÕ§áÅеíÒÃÒ͌ҧÍÔ§·ÕèÊíÒ¤Ñ à¡ÕèÂǡѺ¾ÃÐÃÒª¾Ô բͧä·Â ¨¹ä´ŒÃѺ¡Òá‹ͧ¨Ò¡ÇÃó¤´ÕÊâÁÊÃã¹ÊÁÑÂÃѪ¡ÒÅ·Õè Ç‹Ò໚¹ ÂÍ´¢Í§¤ÇÒÁàÃÕÂ§Í ÔºÒ ¹Í¡¨Ò¡¹Õéã¹» ¨¨ØºÑ¹Âѧ໚¹Ë¹Öè§ã¹Ë¹Ñ§Ê×Í´Õ àÅ‹Á ·Õ褹ä·Â¤ÇÃÍ‹Ò¹ÍÕ¡´ŒÇ ๔) การเขียนอ บายประเภทค าน าถวัลย์ สนธิอนุเคราะห์ ได้เขียนค�าน�าอธิบายประโยชน์ของการจัดพิมพ์หนังสือระเบียบงานสารบรรณอย่างสั้นๆ และกินความครอบคลุมเนื้อหาในหนังสือ ดังนี้ เบี บ าน า บ เป็นหัวใจส�าคัญของการปฏิบัติงานส�านักงาน โดยเ พาะส่วนราชการ และหน่วยของทางราชการ สถานศึกษาต่างๆ ตลอดจนนักศึกษาที่ก�าลังศึกษาเล่าเรียนอยู่ในสาขาวิชาที่เกี่ยวกับการเลขานุการ บุคคลทั่วไปประสงค์จะสอบบรรจุเข้ารับราชการ เพราะตามหลักสูตรการสอบได้ก�าหนดให้สอบระเบียบงานสารบรรณด้วยขณะนี้ทางราชการได้ประกาศใช้ระเบียบงานสารบรรณใหม่ เรียกว่า เบี บ านักนา ก ั น ี า าน า บ ก�าหนดให้ใช้ตั้งแต่วันที่๑ มิถุนายน ๒ ๒ เป็นต้นไป ส�านักพิมพ์พั นาศึกษาได้พิจารณาแล้วเห็นว่า ส่วนราชการก็ดี สถานศึกษา ตลอดจนนิสิตนักศึกษาและประชาชนทั่วไป มีความจ�าเป็นที่จะต้องมีระเบียบงานสารบรรณนี้ไว้เป็นคู่มือในการปฏิบัติงาน ศึกษาเล่าเรียน และเตรียมสอบเข้ารับราชการ จึงได้จัดพิมพ์ระเบียบส�านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยงานสารบรรณ พ ศ ๒ ๒ ขึ้น ท้ายเล่มมีสรุปสาระส�าคัญของระเบียบ เพื่อให้อ่านและเข้าใจในตัวระเบียบได้ง่ายขึ้นอีกด้วยหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือระเบียบงานสารบรรณเล่มนี้จะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง(ถวัลย์ สนธิอนุเคราะห์) 3 . ห กการเ นอ ิ า การเขียนอธิบายแต่ละประเภท แม้รูปแบบจะต่างกัน แต่ก็มีหลักส�าคัญในการเขียนที่มีความคล้ายคลึงกัน ดังนี้๓.๑ การวาง ครงเรื่องการวางโครงเรื่องนับว่าส�าคัญมาก เพราะเป็นสิ่งปองกันความสับสน และจะเป็นจุดหมายในการขยายความหรืออธิบายเรื่อง เป็นสิ่งที่ท�าให้ข้อความต่อเนื่องกัน เช่น ถ้าเขียนอธิบายเรื่อง พรรค ารเมือง นประเ ไ ย ก็อาจจัดล�าดับหัวข้อเรื่องได้ ดังนี้๑. ความน�า๒. ความหมายของพรรคการเมือง๓. ประวัติพรรคการเมืองในประเทศไทย๔. หลักการของพรรคการเมืองในระบอบประชาธิปไตย๕. ส่วนดี ส่วนเสียของการปกครองที่มีพรรคการเมือง๖. สรุปความคิดเห็นของผู้เขียนที่มีต่อพรรคการเมืองเมื่อตั้งหัวข้อเรื่องแล้ว ผู้เขียนจะสามารถอธิบายขยายความต่อไปได้ตามล�าดับ๓.๒ การเริ่มเรื่องการเริ่มเรื่องในการเขียนอธิบายนั้นท�าได้หลายวิธี เช่น๑) ให้ค า ากั ความเป็นการให้ความหมายของเรื่องที่จะเขียน อาจจะยกความหมายตรงกับชื่อเรื่องนั้นขึ้นมากล่าว เช่น เรื่อง ความร ก็อาจขึ้นต้นว่า“ความรัก คือ ความชอบอย่างผูกพัน พร้อมด้วยความชื่นชมยินดี”๒) น าวาทะคนส าคั หร อค าคม ข นมากล่าวน า เช่น ขึ้นต้นด้วยบทพระราชนิพนธ์รัชกาลที่ ๖ ว่า“ความรักเหมือนโรคา บันดาลตาให้มืดมนไม่ยินและไม่ยล อุปะสัคคะใดๆความรักเหมือนโคถึก ก�าลังคึกผิขังไว้ก็โลดจากคอกไป บ่ยอมอยู่ ณ ที่ขัง”(มัทนะพาธา : พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว) 4