โครงงานเทียนหอมไล่ยุง บทที่4

Description: โครงงานisเทียนหอมจากสมุนไพร

Read the Text Version

No Text Content!

    Pages:

  • 1 - 43

เทียนหอมจากสมุนไพร (Herbal scented candles) จัดท าโดย นางสาวสโรชา มอโท ชั้น ม.5/4 เลขที่ 25 นางสาวญาณิศา แก้วภา ชั้น ม.5/4 เลขที่27 นางสาวปิยธิดา กังสกุล ชั้น ม.5/4 เลขที่ 28 นางสาวศิรินทรา อุตทะคะวาปี ชั้น ม.5/4 เลขที่ 29 นางสาวกมลพรรณ บัวอินทร์ ชั้น ม.5/4 เลขที่ 30 เสนอ นางวนิดา บุญพิเชฐวงศ์ คุณครูที่ปรึกษาการศึกษาค้นคว้า การศึกษานี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา การสื่อสารและการน าเสนอ (IS2) รหัสวิชา I30202 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุดรธานี ก สารบัญ หน้า บทคัดย่อ.....................................................................................................................................................ก กิตติกรรมประกาศ......................................................................................................................................ข บทที่1 บทน า ความเป็นมาของปัญหา.................................................................................................................1 จุดมุ่งหมายของการศึกษา ............................................................................................................2 สมมติฐาน......................................................................................................................................2 ขอบเขตของโครงงาน....................................................................................................................2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ............................................................................................................3 นิยามศัพท์เฉพาะ..........................................................................................................................3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ................................................................................................................................................4-12 บทที่ 3 วิธีการด าเนินงาน วิธีการด าเนินการ..................................................................................................................13-15 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการด าเนินงาน..................................................................................................................16-17 บทที่ 5 สรุปและอภิปรายผลการศึกษา สรุปและอภิปรายผลการศึกษา..............................................................................................18-19 ข้อเสนอแนะในการศึกษาค้นคว้าครั้งต่อไป.................................................................................20 บรรณานุกรม............................................................................................................................................21 ประวัติผู้ศึกษา.....................................................................................................................................22-26 ภาคผนวก............................................................................................................................................27-37 ก หัวข้อโครงงาน เทียนหอมจากสมุนไพร ผู้จัดท า นางสาวสโรชา มอโท ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เลขที่ 25 นางสาวญาณิศา แก้วภา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เลขที่ 27 นางสาวปิยธิดา กังสกุล ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เลขที่ 28 นางสาวศิรินทรา อุตทะคะวาปี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เลขที่ 29 นางสาวกมลพรรณ บัวอินทร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 เลขที่ 30 ระดับชั้น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 ชื่อครูที่ปรึกษา คุณครูวนิดา บุญพิเชฐวงศ์ โรงเรียน สตรีราชินูทิศ ปี พ.ศ. 2564 บทคัดย่อ โครงงานเทียนหอมจากสมุนไพร จัดท าโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขั้นตอนการท าเทียนหอมจาก สมุนไพรและสรรพคุณเทียนหอมจากสมุนไพรแต่ละชนิด เพื่อให้เยาวชนรุ่นใหม่ได้ศึกษา ท าความเข้าใจ และเล็งเห็นถึงความส าคัญของเทียนหอม การใช้เทียนหอมจากสมุนไพร ส่วนใหญ่จะใช้เพื่อตกแต่งห้อง ผ่อนคลายอารมณ์ เก็บรักษาง่าย ประหยัด มีคุณค่าจากการเอาสมุนไพรพื้นบ้านมาท า ผลจากการทดลองพบว่า เทียนหอมจากสมุนไพร สามารถจุดได้นาน ประมาณ 3-4 ชั่วโมง ช่วย ผ่อนคลาย ท าให้หลับง่ายขึ้น มีกลิ่นหอมอ่อนๆจากตัวสมุนไพร ก กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้ส าเร็จลุลวงได้ด้วยความกรุณาจากคุรครูวนิดา บุญพิเชฐวงศ์ คุณครูที่ปรึกษาโครงงาน ที่ได้ให้ค าแนะน า แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆมาโดยตลอด จนโครงงานเล่มนี้เสร็จสมบูรณ์ ผู้ ศึกษาจึงกราบขอบพระคุณอย่างสูง ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครอง ที่ให้ค าศึกษาในเรื่องต่างๆรวมทั้งคอย สนับสนุนและเป็นก าลังใจที่ดีเสมอมา ท้ายนี้ขอขอบคุณเพื่อนๆที่ให้ค าแนะน าดีๆเกี่ยวกับการท าโครงงานชิ้นนี้ และสุดท้ายขอขอบคุณ ทุกท่านที่มีส่วนร่วมช่วยให้ค าแนะน า จนท าให้โครงงานชิ้นนี้ส าเร็จลุล่วงไปได้ดี คณะผู้จัดท า ข 1 บทที่ 1 บทน า ความเป็นมาของปัญหา ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์ยังไม่มีไฟที่ใช้ให้ความสว่างในยามค่ าคืน คนในสมัยนั้นจึงได้น า เทียนมาใช้สร้างแสงสว่างโดยการต้มรังผึ้งเพื่อให้ได้ขี้ผึ้งมาใช้ในการท าเทียนส าหรับให้ความสว่างสไว เทียนนอกจากใช้ให้แสงสว่างแล้วยังมีการน าเข้ามาประกอบกับพิธีกรรมทางศาสนาหรือ ตามแต่ความเชื่อในแต่ละพื้นที่ และยังมีการน าเทียนใช้ประดับสถานที่ซึ่งเป็นการแสดงถึงฐานะความมี รสนิยม ทั้งยังเป็นสร้างบรรยากาศได้ดีอีกด้วยโดยปัจจุบันนิยมใช้เทียนที่มีความสวยงามในรูปแบบเทียน เทียนคือ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการน าพาราฟินมาผ่านความร้อนให้หลอมละลายเป็นของเหลว อาจเติมสี แล้วตักใส่ภาชนะรูปทรงตามต้องการ เช่น แก้วใส เซรามิก ดินเผา ตกแต่งเพิ่มให้เกิดความ สวยงาม เช่น การไล่สีเป็นระดับ การตัดสีของเทียน ท าเป็นของประดับตกแต่งและของที่ระลึก นอกจากนี้ ยังสามารถช่วยคลายความเครียดโดยการบ าบัดด้วยการใช้กลิ่นหอม การใช้กลิ่นหอมโดยการน ากลิ่นจากพืชมาใช้ บ าบัดโดยสกัดเป็นน้ ามันหอมระเหย หรือที่เรา รู้จักในชื่อ อโรมาเธอราปี เพื่อการผ่อนคลาย และน ามาบ าบัดโรคตามแต่คุณสมบัติของกลิ่นแต่ละกลิ่น เช่น กลิ่นตะไคร้ ลดความรู้สึกเหนื่อยล้า เครียด เพิ่มความรู้สึกมีชีวิตชีวา มีสมาธิ บรรเทาอาการ ปัญหา ระบบหมุนเวียนเลือด และไล่แมลง ทางคณะผู้จัดท าโครงงาน จึงได้ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับขั้นตอนการท าเทียนหอมและสรรพคุณ ของเทียนหอมในแต่ละกลิ่น เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับน้ ามันหอมระเหยแต่ละกลิ่นว่ามีประโยชน์ในด้าน ใดบ้าง 2 จุดมุ่งหมายของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาค้นคว้าและให้ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการท าเทียนหอมจากสมุนไพร 2. เพื่อน าสมุนไพรที่มีอยู่มาแปรรูปใหม่ 3. เพื่อศึกษาสรรพคุณของเทียนหอมจากสมุนไพร 4. เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในกลุ่ม สมมุตติฐานของการศึกษา ผู้จุดเทียนหอมสามารถผ่อนคลายเมื่อได้กลิ่น ขอบเขตของโครงงาน 1. ขอบเขตด้านเนื้อหา - ประโยชน์ของเทียนหอมจากสมุนไพร - สรรพคุณของสมุนไพร 2. ขอบเขตด้านประชากร ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนสตรี ราชนูทิศ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เป็นนักเรียนทั้งสิ้น 5 คน 3. ขอบเขตด้านเวลา วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2564 – วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2564 3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ผู้ที่ใช้สามารถผ่อนคลาย หลับง่าย 2. ส่งเสริมสมุนไพรพื้นบ้าน 3. ผ่อยคลายและสามารถไล่ยุงไปพร้อมๆกัน นิยามศัพท์เฉพาะ - เทียนหอม คือ เทียนที่คณะผู้จัดท าได้น ามาตกแต่งกลิ่น ใส่น้ ามันหอมกลิ่นใบเตย ตะไคร้และ มะกรูด - พืชสมุนไพร หมายถึง ผลิตผลจากธรรมชาติที่คณะผู้จัดท าเลือกมาใช้เพื่อบ าบัดบ ารุงร่างกาย บรรเทาอาการต่างๆ 4 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการศึกษาโครงงานเรื่อง เทียนหอมจากสมุนไพร คณะผู้จัดท าได้ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลจาก เอกสารต่างๆที่เกี่ยวข้องกับ ดังต่อไปนี้ 1. ที่มาและความส าคัญของเทียนหอม 2. วัตถุประสงค์ของเทียนหอมสมุนไพร 3. ขั้นตอนการท าเทียนหอมจากสมุนไพร 4. สรรพคุณจากสมุนไพรต่างๆที่ช่วยผ่อนคลาย 5. สรรพคุณของเทียนหอม 6. เทียนหอมในรูปแบบต่างๆ 7. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. ที่มาและความส าคัญของเทียนหอม ในสมัยก่อนประวัติศาสตร์ มนุษย์ยังไม่มีไฟที่ใช้ให้ความสว่างในยามค่ าคืน คนในสมัยนั้นจึงได้น า เทียนมาใช้สร้างแสงสว่างโดยการต้มรังผึ้งเพื่อให้ได้ขี้ผึ้งมาใช้ในการท าเทียนส าหรับให้ความสว่างสไว เทียนนอกจากใช้ให้แสงสว่างแล้วยังมีการน าเข้ามาประกอบกับพิธีกรรมทางศาสนาหรือ ตามแต่ความเชื่อในแต่ละพื้นที่ และยังมีการน าเทียนใช้ประดับสถานที่ซึ่งเป็นการแสดงถึงฐานะความมี รสนิยม ทั้งยังเป็นสร้างบรรยากาศได้ดีอีกด้วยโดยปัจจุบันนิยมใช้เทียนที่มีความสวยงามในรูปแบบเทียน เทียนคือ ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการน าพาราฟินมาผ่านความร้อนให้หลอมละลายเป็นของเหลว อาจเติมสี แล้วตักใส่ภาชนะรูปทรงตามต้องการ เช่น แก้วใส เซรามิก ดินเผา ตกแต่งเพิ่มให้เกิดความ 5 สวยงาม เช่น การไล่สีเป็นระดับ การตัดสีของเทียน ท าเป็นของประดับตกแต่งและของที่ระลึก นอกจากนี้ ยังสามารถช่วยคลายความเครียดโดยการบ าบัดด้วยการใช้กลิ่นหอม เทียนหอม หมายถึง ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการน าพาราฟินและไขผึ้งมาหลอมละลายรวมกัน อาจเติม สีและเติมน้ ามันหอมระเหย น าปั้นหรือหล่อแบบขึ้นรูป หรือกดจากพิมพ์ให้มีรูปทรงตามต้องการ อาจะ ประกอบด้วยวัสดุอื่นเพื่อให้เกิดความสวยงาม เช่น ดอกไม้แห้ง มีใส้เทียนส าหรับจุดไฟ และมีกลิ่นหอม ของน้ ามันหอมระเหย ท าจากส่วนผสมไม่กี่อย่าง ท าง่าย และตกแต่งง่าย โดยใช้ต้นทุนเพียงไม่กี่บาท ก็ สามารถประดิษฐ์ขึ้นมาได้ เทียนที่ถูกแต่งกลิ่นให้มีกลิ่นหอม เวลาจุดจะส่งผลให้กลิ่นหอมอยู่ทั่วบริเวณ ห้อง นอกจากจะให้แสงสว่างแล้วตัวกลิ่นยังมีความสามารถในการสร้างความผ่อนคลายให้กับผู้สูดดม ตาม ชนิดของกลิ่นที่ใช้ ช่วยสร้างบรรยากาศให้กับห้องได้อย่างมีเสน่ห์ เทียนหอมสมุนไพร หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ที่ออกแบบโดยการประยุกต์จากของเดิมที่มีตาม ท้องตลาดที่มีสรรพคุณช่วยในการผ่อนคลาย การใช้กลิ่นหอมโดยการน ากลิ่นจากพืชมาใช้ บ าบัดโดยสกัดเป็นน้ ามันหอมระเหย หรือที่เรารู้จัก ในชื่อ อโรมาเธอราปี เพื่อการผ่อนคลาย และน ามาบ าบัดโรคตามแต่คุณสมบัติของกลิ่นแต่ละกลิ่น เช่น กลิ่นตะไคร้ ลดความรู้สึกเหนื่อยล้า เครียด เพิ่มความรู้สึกมีชีวิตชีวา มีสมาธิ บรรเทาอาการ ปัญหาระบบ หมุนเวียนเลือด และไล่แมลง 2. วัตถุประสงค์ของเทียนหอมสมุนไพร 1. เพื่อศึกษาค้นคว้าและให้ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการท าเทียนหอมจากสมุนไพร 2. เพื่อศึกษาสรรพคุณของเทียนหอมจากสมุนไพรแต่ละชนิด 3. เพื่อสร้างปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างคนในกลุ่ม 6 3. ขั้นตอนการท าเทียนหอมจากสมุนไพร - วัสดุอุปกรณ์ในการท าเทียนหอมสมุนไพร 1. พาราฟิน 2. ไมโครแวกซ์ (MV ; Micro Wax) 3. กรดสเตรียริก (SA ; Stearic Acid) 4. โพลีเอทิลีน (PE ; Polythylene) 5. ไส้เทียน (เชือก) 6. น้ าสมุนไพรแต่ละชนิด 7. หม้อ 8. แก้วบรรจุหอมสมุนไพร 9. ผ้ากรอง 10. ครก สาก - ขั้นตอนการปฏิบัติ 1. หั่นและต าสมุนไพรที่เตรียมไว้ ให้เป็นชิ้นเล็กๆ (ใบเตย ตะไคร้ มะกรูด) 2. น าพาราฟินไปละลายในหม้อ จากนั้นเติมสาร PE , MV,SA ลงไปผสม 3. แบ่งน้ าผสมสารให้ได้อันตราส่วนเท่าๆกัน 4. น า ใบเตย ตะไคร้ และมะกรูด ไปต้มรวมกับน้ าผสมสารที่แบ่งไว้แล้ว 5. เมื่อสมุนไพรเปลี่ยนสีเป็นสีน้ าตาลอ่อนๆและเริ่มส่งกลิ่น ให้ใช้ผ้ากรอง กรองเศษออก ให้ เหลือแต่น้ าเทียนสมุนไพร 7 6. จับไส้เทียนให้อยู่ตรงกึ่งกลางแก้ว 7. น าน้ าเทียนสมุนไพรแต่ละชนิด เทใส่แก้วภาชนะที่เตรียมไว้ (เทใส่เกือบเต็ม) แล้วพักไว้ให้เย็น 8. เมื่อเย็นแล้ว เทียนจะบุบ ให้เราเอาน้ าเทียนที่เหลือไปต้มให้เดือดแล้วน ามาเทใส่จนเต็ม แล้ว พักไว้ให้เย็น 9. เมื่อเย็นจนสมารถใช้งานได้แล้ว ตกแต่งให้สวยงาม และเสร็จเรียบร้อย 4. สรรพคุณจากสมุนไพรต่างๆที่ช่วยผ่อนคลาย 1. ตะไคร้ ตะไคร้หอม เป็นไม้ล้มลุกทรงพุ่มขนาดเล็ก สามารถแตกหน่อและเหง้าเพื่อการขยายพันธุ์ได้ง่าย มาก ตะไคร้หอมนอกจากจะน ามาท ายาแผนโบราณได้สารพัดแล้ว ยังสามารถน ามาเป็นสมุนไพรไล่ยุง คุณภาพดีได้อีกด้วย โดยสามารถใช้ได้ทั้งน้ ามันสกัดและล าต้น กล่าวคือ สามารถน าน้ ามันหอมระเหยที่ได้ จากการสกัด ตะไคร้หอมมาทาผิว หรือฉีดรอบๆบริเวณที่ต้องการก็สามารถไล่ยุงและแมลงอื่นไดด้ผลดี มาก 2. มะกรูด มะกรูดจัดเป็นพืชตระกูลเดียวกับ มะนาวและเลมอน ดังนั้นกลิ่นน้ ามันหอมระเหยจากผิวเปลือก มะกรูดก็มีส่วนช่วยกล่อมประสาทและสมองให้เกิดความผ่อนคลาย ส่งผลให้เรานอนหลับได้ง่ายขึ้น 3. ใบเตย เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยวลักษณะแตกกอเป็นพุ่มขนาดเล็ก ล าต้นเป็นข้อ ใบออกเป็นพุ่มบริเวณปลาย ยอดใช้ใบต้มเป็นน้ าใบเตย ช่วยบ ารุงหัวใจ ช่วยลดความดันโลหิต ประโยชน์สารพัด และยังน ามาสกัดเป็น น้ ามันหอมระเหย ช่วยท าให้ผ่อนคลาย 8 4. กลิ่นมะลิ มะลิ หรือ Jasminum น้ ามันหอมระเหย กลิ่นมะลิ จะขึ้นจมูกเมื่อสูดดม สรรพคุณ ช่วยบรรเทา อาการซึมเศร้า ผ่อนคลายความตึงเครียด วิตกกังวล และอาการทางจิตใจต่างๆ ได้เป็นอย่างดี 5. กลิ่นสะระแหน่ สะระแหน่ หรือ Melissa officinalis กลิ่นที่หอมเย็น สรรพคุณช่วยกระตุ้นร่างกายช่วยให้มี ความรู้สึกตื่นตัวและเย็นสดชื่น ระงับความรู้สึกปวดหัว ไมเกรน ด้วยการสูดดมหรือนวดน้ ามันเจือจาง บริเวณขมับและหลังคอ ช่วยคลายความอ่อนล้ากระตุ้นการไหลเวียนของโลหิตป้องกันการอาการไซนัส ไข้หวัดครั่นเนื้อครั่นตัวบรรเทาอาการคลื่นไส้และวิงเวียนเมารถเมาเรือ เสียดท้อง และท้องเสีย 6. กลิ่นกระดังงา กระดังงา หรือ Cananga odorara กลิ่นดอกไม้หอมในเขตร้อน สรรพคุณช่วยให้ใจเย็น ผ่อน คลาย ลดความกระวนกระวาย นอนไม่หลับ กลิ่นหอมเข้มข้นของกระดังงา ยังช่วยสร้างบรรยากาศแห่ง ความรัก รัญจวนใจ กลิ่นช่วยให้ใจสงบ ช่วยบ ารุงประสาทและช่วยให้จิตใจสงบ แก้อาการซึมเศร้า กระวน กระวายใจ ลดความดันโลหิต แก้หอบหืดได้ ขับลม ใช้เป็นยาฆ่าเชื้อโรค 9 5. สรรพคุณของเทียนหอมสมุนไพร 1. เทียนหอมนั้นท าให้มีความสวยงามภายในบรรยากาศต่างๆและสามารถสร้างแสงสว่างให้แก่ เราด้วยการจุดไฟ 2. สามารถใช้และประดับตกแต่งในสถานที่ต่างๆซึ่งใช้ในโอกาสต่างๆที่สวยงามเป็นพิธีมงคลและ สถานที่ปกติเพื่อต้องความสวยงาม 3. ท าเป็นเทียนวันเกิดได้โดยเทียนเหล่านี้เป็นเทียนสวยงามรู้สึกดีกว่าการใช้เทียนแบบเดิมๆที่ เป็นเทียนปกติ 4. สามารถดับกลิ่นที่ไม่พึงประสงค์ได้นั่นเป็นเพราะว่าเทียนหอมนั้นมีกลิ่นที่หอม 5. สามารถใช้เป็นของช าร่วยในงานเช่น งานแต่งงาน และงานบวชต่างๆ 6. สามารถจุดไล่ยุงได้ซึ่งการจุดไล่ยุงนั้นจะเป็นเทียนหอมกลิ่นตะไคร้หอม 7. การน าเทียนหอมสมุนไพรท าให้ผุ้อื่นสามารถน าไปใช้เพื่อยุงได้ 8. เทียนหอมสมุนไพรสามารถใช้ยุงแลไม่ท าให้ผู้ใช้เกิดอาการแพ้ได้ง่าย 6. เทียนหอมในรูปแบบต่างๆ 1. เทียนแบบแท่ง ( Taper Candle ) เทียนชนิดแท่ง เป็นเทียนหอมที่มีรูปทรงเรียบง่าย และคุ้นหน้าคุ้นตากันเป็นอย่างดี ลักษณะของ เทียนประเภทนี้ จะเป็นทรงสูงเรียวยาว ประมาณ 6 – 18 นิ้ว นั่นจึงท าให้การใช้เทียนประเภทนี้ ต้องมีเชิง เทียนเป็นตัวช่วยเสริม เพื่อให้สามารถตั้งบนได้ โดยส่วนมากก็จะเห็นเทียนสไตล์นี้บนโต๊ะอาหารมากเป็น พิเศษ เพราะฉะนั้นถ้าหากต้องการจัดโต๊ะส าหรับดินเนอร์มื้อพิเศษวันไหน ก็สามารถเลือกใช้เทียนแท่ง สไตล์นี้เพื่อเพิ่มบรรยากาศสุดหรูได้เลย 10 2. เทียนก้อนกลม ( Pillar Candle ) แม้จะได้ชื่อว่าเทียนก้อนกลม แต่เทียนประเภทนี้ก็ ไม่ได้มีแค่ทรงกลมเสมอไป แม้โดยส่วนมาก Pillar candle จะเป็นเทียนทรงกระบอก ที่สูงไม่เกิน 8 นิ้ว และจะมีความกว้างอยู่ที่ประมาณ 3 นิ้ว แต่ บางครั้งก็อาจมีรูปทรงอื่น ๆ ด้วยเหมือนกัน โดยภาพรวมของเทียนสไตล์นี้ จะเป็นเทียนขนาดกะทัดรัด ที่ สามารถวางตั้งได้โดยไม่จ าเป็นต้องใช้เชิงเทียนหรือภาชนะอื่น ๆ มาเป็นตัวช่วยเสริม แต่ก็อาจจะมีเรื่อง ของน้ าตาเทียนที่ต้องคอยจัดการ Pillar candle จึงอาจเหมาะกับการวางประจ าที่ในมุมห้อง มากกว่าการ เคลื่อนย้ายบ่อย ๆ และสามารถจุดใช้งานได้นานหลายชั่วโมง 3. เทียนในถ้วย ( Glass Candle , Container Candle , Jar Candle ) เทียนหอมในถ้วยแก้วนั้น เป็นเทียนยอดนิยมอีกรูปแบบเลยค่ะ เพราะด้วยขนาดที่สามารถใช้งาน ให้หมดได้ในเวลาที่ไม่นานจนเกินไป มีภาชนะรองรับน้ าตาเทียนในตัว แถมยังเคลื่อนย้ายง่าย จุดได้สะดวก ในทุกมุม สามารถใช้งานได้อย่างปลอดภัยและไม่ต้องห่วงเรื่องน้ าตาเทียนหยดเลอะเทอะด้วยค่ะ ซึ่งส่วน ใหญ่ เทียนชนิดนี้ก็จะอยู่ในกระปุกที่ท าจากแก้ว เซรามิค หรือ อลูมิเนียม ซึ่งเป็นวัสดุที่ทนความร้อนได้ บางชิ้นก็มาพร้อมฝาปิด ที่ช่วยให้เก็บเข้าที่ได้โดยไม่ต้องเจอฝุ่น และ แสง ที่เป็นต้นเหตุให้เทียนหอม มี ประสิทธิภาพที่ลดลง 4. เทียนเจล ( Gel Candle ) เทียนเจลนั้นจะเป็นเทียนที่มีส่วนผสมที่ต่างออกไปจากเทียนหอมแบบปกติ ที่มักจะใช้ไขผึ้ง หรือ ถั่วเหลือง เป็นส่วนประกอบหลัก แต่เทียนเจลนั้นท ามาจากน้ ามันสังเคราะห์ หรือ สารที่ได้จาก ไฮโดรคาร์บอน จึงท าให้เนื้อเทียนประเภทนี้ มีลักษณะที่โปร่ง ใส เหมาะกับการน าของตกแต่ง หรือ ไอ เทมต่าง ๆ ลงไปวางตกแต่งเพื่อเพิ่มความสวยงาม ที่เห็นกันได้มากที่สุดเลย ก็จะเป็นวัสดุประเภทเปลือก หอย ดอกไม้แห้ง หรือ โมเดลอันจิ๋ว ๆ นั่นเองค่ะ ในเมื่อมีรายละเอียดด้านในเยอะขนาดนี้ การใช้ภาชนะที่ เป็นแก้วใสจึงเหมาะกับเทียนเจลมากที่สุด เพราะทนความร้อนได้ดีและสามารถอวดความสวยที่อยู่ในเนื้อ เทียนได้อย่างเต็มที่ด้วย 11 5. เทียนทีไลท์ ( Tealight Candle ) เทียนทีไลท์เป็นเทียนที่มีขนาดเล็กที่สุด มักจะอยู่ในถ้วยอลูมิเนียมกลม ๆ ที่มีความสูงเพียงครึ่งนิ้ว เท่านั้น แต่ถึงแม้จะมีขนาดเล็กแต่ก็สามารถน าไปใช้ได้ค่อนข้างหลากหลาย ตั้งแต่การน าไปจัดลงในโหล แก้วหรือตะเกียงสวย ๆ วางบนพืชและสมุนไพรต่าง ๆ อย่างมะนาวหรือกากกาแฟเพื่อกระจายกลิ่นหอม ฟุ้งให้ทั่วห้อง หรือถ้าจะน าไปจัดในบริเวณกว้าง ๆ ที่ต้องใช้เทียนจ านวนมากก็ต้องยกให้เทียนทีไลท์เลยค่ะ ที่ส าคัญยังใช้งานในช่วงสั้น ๆ ได้ดี เพราะหน้าเทียนจะสามารถละลายได้ทั่วเสมอกัน โดยไม่ต้องรอเป็น ชั่วโมงเหมือนเทียนรูปแบบอื่นที่มีขนาดใหญ่ด้วย 6. เทียนลอยน้ า ( Floating Candle) เทียนลอยน้ านั้นจะมีขนาดและรูปร่างแบน ๆ คล้ายกับเทียนทีไลท์เลยค่ะ เพียงแต่เทียนส าหรับ ลอยน้ าจะมีดีไซน์ที่หลากหลายและสีสันสวยกว่า ไม่ได้เป็นเพียงก้อนกลม ๆ เท่านั้น ส่วนใหญ่มักจะเป็น รูปดอกไม้ ใบไม้ เพื่อให้เหมาะต่อการน าไปลอยน้ า ซึ่งก็สามาถน าไปใช้ได้ตั้งแต่การจัดโหลแก้วในห้องไป จนถึงตกแต่งบ่อน้ าในสวนหย่อมเลย 12 7. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง งานวิจัยในประเทศ ในสมัยก่อนเทียนไขส่วนใหญ่ท ามาจากวัตถุดิบตามธรรมชาติ เช่น ขี้ผึง ซึ่งปลอดภัยต่อสุขภาพ ของคนเรา แต่ในปัจจุบันนี้เราจะเห็นเทียนที่ขายมีรูปร่างและสีต่างๆกัน เช่น เขียว เหลือง แดง ม่วง น้ า เงิน และสีอื่น ๆ อีก พร้อมกับรูปร่างของเทียนก็มีหลากหลายรูปแบบ และมีกลิ่นที่หลากหลาย บางครั้ง เรียกเทียนเหล่านี้ว่า เทียนแฟนซี หรือ เทียนพิษ ที่ส าคัญคือการผลิตเทียนในปัจจุบันนี้เปลี่ยนแปลงไป จากเดิมมาก เทียนสีสวยมีกลิ่นต่างๆนั้น ซึ่งปัจจุบันมีขายทั่วประเทศรวมทั้งมีขายในต่างประเทศ เช่นเดียวกัน อาจกลายเป็นตัวปล่อยสารพิษสู่อากาศท าให้อากาศเป็นพิษได้ งานวิจัยต่างประเทศ ทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยเซาท์แคโรไลน่า สหรัฐอเมริกา (South Carolina State University) ได้ท าการศึกษาเทียนที่ผลิตจาก พาราฟิน (Pataffin wax candle) มีส่วนผสมของ ปิโตรเลียม และ เทียน ที่มีส่วนผสมของ พืชและถั่วเหลือง เพื่อเปรียบเทียบการปล่อยสารพิษ โดยผลิตมาจากต่างโรงงาน เป็น เวลา 8 ชั่วโมง ในกล่องทดลอง นักวิจัยได้เก็บตัวอย่างเทียนพร้อมสารเคมีในอากาศไปวิเคราะห์ ผล ปรากฏว่า เทียนมีส่วนผสมของ พาราฟิน ซึ่งเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ปล่อยสาร โทลูอีน (Toluene) และสาร เบนซีน (Benzene) ออกมาซึ่งเป็นสารพิษ เป็นสารก่อมะเร็ง ส่วนเทียนที่มีส่วนผสมของพืชหรือ ถั่วเหลืองกลับไม่พบสารพิษดังกล่าวเลย นักวิจัยจึงได้กล่าวว่า การจุดเทียนที่มีส่วนผสมของพาราฟิน บ่อยครั้งภายในห้องที่อากาศไม่ถ่ายเท อาจท าให้เกิดอาการหอบหืด ก่อให้เกิดภูมิแพ้ตามมา และท าให้เกิด อาการระคายเคืองต่อระบบทางเดินหายใจได้ 13 บทที่ 3 วิธีด าเนินการ ในการศึกษาครั้งนี้ผู้ศึกษาได้ท าการศึกษา โครงงาน เรื่อง เทียนหอมจากสมุนไพร ซึ่งมีวิธีการ ดังนี้ ระเบียบวิธีที่ใช้ในการศึกษา ในการศึกษาใช้รูปแบบการสืบค้นข้อมูล จาก อินเตอร์เน็ต และจากการสอบถามผู้รู้ 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนสตรีราชนูทิศ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เป็นนักเรียนทั้งสิ้น 5 คน 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2564 เป็นนักเรียนทั้งสิ้น 43 คน ได้มาโดยเลือก เพื่อ ตอบแบบสอบถามที่สร้างขึ้น ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา ระยะเวลาที่ใช้ในการศึกษา วันที่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2564 – วันที่ 15 ธันวาคม พ.ศ. 2564 วิธีการศึกษา 1. ก าหนดเรื่องที่จะศึกษา โดยสมาชิกทั้ง 5 คน ประชุมร่วมกัน และร่วมกันคิดและวางแผน ว่า จะศึกษาเรื่องใด 2. เลือกเรื่องที่จะศึกษา โดยเลือกเรื่องที่สมาชิกมีความสนใจมากที่สุด เพื่อเป็นแรงจูงใจในการ ค้นหาค าตอบ 3. ศึกษาแนวคิดในการแก้ปัญหา 4. ตั้งชื่อเรื่อง 14 5. เขียนความส าคัญความเป็นมาของปัญหา วัตถุประสงค์ สมมุติฐาน ขอบเขตการศึกษา โครงงาน และประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ โดยศึกษาข้อมูลจากหนังสือ วิทยานิพนธ์และสืบค้นข้อมูลจาก อินเตอร์เน็ต และจดบันทึกในโครงร่างรายงานเชิงวิชาการ ( ตามใบงาน) 6. รวบรวมข้อมูล 7. ผู้ศึกษาลงมือปฏิบัติงานตามขั้นตอนและขอบเขตที่ก าหนดในการท าโครงงาน 8. ผู้ศึกษาลงมือท าเทียนหอมจากสมุนไพร 9. สมาชิกทั้ง 5 คนของกลุ่ม พบครูผู้สอนเพื่อปรึกษา วางแผนและรับฟังความคิดเห็น ปรับปรุง แก้ไข 10. น าเครื่องมือที่ปรับปรุงแล้วไปใช้กับกลุ่มตัวอย่าง 11. วิเคราะห์ข้อมูล 12. สรุปผลการศึกษา 13. ผู้ศึกษาเขียนโครงงาน จัดท า E-book วิดีโอและน าเสนอโครงงาน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม ( หรือแบบประเมินความพึงพอใจ) 1 ฉบับ ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. ออกแบบสอบถาม เรื่อง ความพึงพอใจในการใช้เทียนหอมจาสมุนไพรโดยขอ ค าแนะน าจากคุณครูวนิดา บุญพิเชฐวงศ์ โดยเตรียมร่างข้อค าถาม มีลักษณะเป็นข้อค าถามจ านวน 5 ข้อ เป็นแบบมาตราส่วนประมาณ 5 ระดับ คือ 5 หมายถึง เห็นด้วยมากที่สุด 4 หมายถึง เห็นด้วยมาก 3 หมายถึง เห็นด้วยปานกลาง 2 หมายถึง เห็นด้วยน้อย 1 หมายถึง เห็นด้วยน้อยที่สุด 15 การพิจารณาค่าเฉลี่ย จะใช้เกณฑ์ดังนี้ ค่าเฉลี่ย 4.51 – 5.00 หมายถึง เห็นด้วยมากที่สุด ค่าเฉลี่ย 3.51 – 4.50 หมายถึง เห็นด้วยมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 – 3.50 หมายถึง เห็นด้วยปานกลาง ค่าเฉลี่ย 1.51 – 2.50 หมายถึง เห็นด้วยน้อย ค่าเฉลี่ย 1.00– 1.50 หมายถึง เห็นด้วยน้อยที่สุด 2. สร้างแบบสอบถาม เรื่อง ความพึงพอใจในการใช้เทียนหอมจาสมุนไพรโดยขอ ค าแนะน าจากคุณครูวนิดา บุญพิเชฐวงศ์จากนั้นน ามาปรับปรุงแก้ไข แล้วน าไปตรวจสอบความเหมาะสม 3. น าแบบสอบถามเรื่อง ความพึงพอใจในการใช้เทียนหอมจาสมุนไพร ที่แก้ไข ปรับปรุงแล้ว ให้กลุ่มตัวอย่างประเมิน หลังจากนั้นน าผลที่ได้มาหาค่าเฉลี่ย การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาครั้งนี้ได้ด าเนินการโดยน าแบบสอบถามที่สร้างขึ้นให้นักเรียนกลุ่มตัวอย่างตอบ จ านวน 20 คน และเก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียน ที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยผู้ศึกษาทั้ง 5 คน ด าเนินการเก็บ รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูลดังนี้ 1. น าแบบสอบถามทั้งหมดที่ตอบโดยนักเรียนกลุ่มตัวอย่าง มาหาค่าคะแนนรวม 2. น าผลรวมมาคิดค่าร้อยละ สถิติที่ใช้ในการศึกษา สถิติที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ การหาค่าเฉลี่ยคิดเป็น 16 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล โครงงาน เทียนหอมจากสมุนไพร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ได้ผลดังนี้ ตารางที่ 1 แสดงผลระดับคะแนนการประเมิน โครงงานเทียนหอมจากสมุนไพร ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ จ านวน 20 คน รายการประเมิน ระดับความพอใจ มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด 1. กลิ่นของเทียนหอมจากสมุนไพร 40% 45% 15% - - 2. ราคาของเทียนหอมจากสมุนไพร (20 บาท) 65% 30% 5% - - 3. สีสันของเทียนหอมจากสมุนไพร 45% 35% 20% - - 4. ภาชนะที่ใส่เทียนหอม 70% 30% - - - 5. ความพึงพอใจในการใช้ผลิตภัณฑ์ 70% 20% 5% 5% - จากตารางที่ 1 พบว่า นักเรียนที่ชื่นชอบภาชนะที่ใช้ใส่เทียนหอมและพึงพอใจในผลิตภัณฑ์ อยู่ ในระดับที่ 5 คิดเป็นร้อยละ 70% 17 ตารางที่ 2 แสดงผลการประเมิน โครงงานเทียนหอมจากสมุนไพร รายการประเมิน ค่าเฉลี่ย ระดับคุณภาพ 1. กลิ่นของเทียนหอมจากสมุนไพร 40% 5 2. ราคาของเทียนหอมจากสมุนไพร (20 บาท) 65% 5 3. สีสันของเทียนหอมจากสมุนไพร 45% 5 4. ภาชนะที่ใส่เทียนหอม 70% 5 5. ความพึงพอใจในการใช้ผลิตภัณฑ์ 70% 5 รวม 25 รวมทั้งฉบับ 5% จากตารางที่ 2 พบว่า นักเรียนระดับชั้น ม.5 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ มีความพึงพอใจในการใช้ เทียนหอมจาสมุนไพร อยู่ในระดับคุณภาพ มากที่สุด ค่าเฉลี่ย 5 % 18 บทที่ 5 สรุปผลอภิปรายผล และข้อเสนอแนะ จากการศึกษาโครงงาน เรื่อง เทียนหอมจากสมุนไพร เพื่อจัดท าโครงงานและหลังจากการศึกษา แล้ว ซึ่งสามรถสรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะได้ ดังนี้ 1. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2. สมมุตติฐานของการศึกษา 3. ขอบเขตของการศึกษา 4. เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา 5. วิเคราะห์ข้อมูล 6. สรุปผลการศึกษา 7. ข้อเสนอแนะ วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อศึกษาค้นคว้าและให้ความรู้เกี่ยวกับขั้นตอนการท าเทียนหอมจากสมุนไพร 2. เพื่อศึกษาสรรพคุณของเทียนหอมจากสมุนไพร สมมุตติฐานของการศึกษา ผู้จุดเทียนหอมสามารถผ่อนคลายเมื่อได้กลิ่น ขอบเขตของการศึกษา 1. ประชากรที่ใช้ในการศึกษา ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ เป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนสตรีราชนูทิศ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เป็นนักเรียนทั้งสิ้น 5 คน 19 2. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ได้แก่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ภาคเรียนที่2 ปีการศึกษา 2564 เป็นนักเรียนทั้งสิ้น 43 คน ได้มาโดยเลือก เพื่อ ตอบแบบสอบถามที่สร้างขึ้น เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วยแบบสอบถาม จ านวน 1ฉบับ เรื่องความพึงพอใจ ในการใช้เทียนหอมจาสมุนไพรโรงเรียนสตรีราชินูทิศ จ านวน 5ข้อ การวิเคราะห์ข้อมูล ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาได้วิเคราะห์ข้อมูลของนักเรียนที่มีต่อ โครงงานเทียนหอมจาก สมุนไพร โดยการคิดคะแนนเฉลี่ย เป็นค่าร้อยละ 5 สรุปผลการศึกษา ผลการศึกษาที่มีต่อการศึกษาเรื่อง เทียนหอมจากสมุนไพร อยู่ในระดับคุณภาพ มากที่สุด การอภิปรายผล จากการศึกษาโครงงานเทียนหอมจากสมุนไพร ของนักเรียนระดับชั้น 5/4 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ พบว่า นักเรียนทุกคนมี ความช่วยเหลือต่อกกันดีมาก มีความคิดในทางที่บวก อยู่ในระดับ 4 คิดเป็นร้อย ละ 80 20 ข้อเสนอแนะ ข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ 1. สามารถน าไปศึกษาปัญหาต่างๆที่พบในโรงเรียนได้ แต่ควรมีตัวแปรร่วมด้วย เพื่อให้ การศึกษามีคุณภาพ 2. สามารถน าไปศึกษากับกลุ่มตัวอย่างอื่น 3. ควรสกัดน้ าสมุนไพรให้มากกว่านี้ เพื่อให้ได้รับกลิ่นที่ดี 4. ควรมีเวลาศึกษามากขึ้น 21 บรรณานุกรม พัชรา รอดนุช. 2556 . เทียนหอมเพื่อสุขภาพ.สืบค้นเมื่อ 11 ตุลาคม 2564. จากhttps://tianhompeuasukapap.wordpress.com/ ณัฐวัตร บุญญาพงศ์. 2559 . โครงการเทียนหอมสมุนไพร.สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2564. จากhttps://sites.google.com/ โรงพยาบาลวิชัยยุทธ. 2019 . บ าบัดเครียดด้วยเทียนหอมรอบบ้านคุณ.สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2564. จาก https://www.vichaiyut.com/ ศุภกร ลีวัฒนาถาวรชัย. 2557 . เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง.สืบค้นเมื่อ 25 พฤศจิกายน 2564. จาก https://sites.google.com/ บ้านและสวน. 2021 . ท าความรู้จักประเภทของเทียนหอมที่นิยมใช้แต่งบ้าน. สืบค้นเมื่อ 27 ธันวาคม 2564.จาก https://www.baanlaesuan.com/ 22 ประวัติผู้ศึกษา ชื่อ - นามสกุล นางสาวสโรชา มอโท วัน เดือน ปี สถานที่เกิด 15 พฤศจิกายน 2547 เกิดที่ ต าบลเชียงพิณ อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ก าลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 23 ประวัติผู้ศึกษา ชื่อ - นามสกุล นางสาวญาณิศา แก้วภา วัน เดือน ปี สถานที่เกิด 1 มิถุนายน 2547 เกิดที่ ต าบลวังสามหมอ อ าเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนวรรณรสนุสรณ์ ต าบลวังสามหมอ อ าเภอวังสามหมอ จังหวัดอุดรธานี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ก าลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 24 ประวัติผู้ศึกษา ชื่อ - นามสกุล นางสาวปิยธิดา กังสกุล วัน เดือน ปี สถานที่เกิด 20 กรกฎาคม 2547 เกิดที่ ต าบลบ้านธาตุ อ าเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนบ้านถิ่นสุขาวิทา ต าบลบ้านธาตุ อ าเภอเพ็ญ จังหวัดอุดรธานี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ก าลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 25 ประวัติผู้ศึกษา ชื่อ - นามสกุล นางสาวศิรินทรา อุตทะคะวาปี วัน เดือน ปี สถานที่เกิด 12 กุมภาพันธ์ 2548 เกิดที่ ต าบลบ้านขาว อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนอุดรคริสเตียน (ป.1-4) โรงเรียนเทศบาลมุขมนตรี (ป.5-6) ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ก าลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 26 ประวัติผู้ศึกษา ชื่อ - นามสกุล นางสาวกมลพรรณ บัวอินทร์ วัน เดือน ปี สถานที่เกิด 5 กรกฎาคม 2547 เกิดที่ ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ประวัติการศึกษา ระดับประถมศึกษา โรงเรียนอนุบาลอุดรธานี ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรียนสตรีราชินูทิศ ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ก าลังศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4 โรงเรียน สตรีราชินูทิศ ต าบลหมากแข้ง อ าเภอเมือง จังหวัดอุดรธานี 27 ภาคผนวก 28 นางสาวสโรชา มอโท ม.5/4 เลขที่ 25 นางสาวญาณิศา แก้วภา ม.5/4 เลขที่ 27 29 นางสาวปิยธิดา กังสกุล ม.5/4 เลขที่ 28 นางสาวศิรินทรา อุตทะคะวาปี ม.5/4 เลขที่ 29 30 นางสาวกมลพรรณ บัวอินทร์ ม.5/4 เลขที่ 30 31 32 33 34 35 36 37 38


Author

โครงงานเทียนหอมไล่ยุง บทที่4

Top Search