หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ ประกันสังคม

หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ หรือหนังสืออนุญาตให้ใช้สถานที่ คือ หนังสือที่ผู้ให้ความยินยอม (เช่น เจ้าของอาคาร เจ้าบ้าน ผู้ให้เช่า ผู้ครอบครองอาคาร สถานที่ หรือสิ่งปลูกสร้าง) จัดทำขึ้นโดยฝ่ายเดียวเพื่อแสดงเจตนาที่จะยินยอม หรืออนุญาตให้ผู้ได้รับความยินยอม (เช่น ผู้ใช้สถานที่ ผู้ได้รับอนุญาต) สามารถใช้ หรือสามารถนำสถานที่/สิ่งปลูกสร้างที่กำหนด (เช่น อาคารพาณิชย์ ที่ดิน บ้าน อาคาร พื้นที่ สำนักงาน ห้องชุด) ไปใช้ประโยชน์ในการดำเนินการตามวัตถุประสงค์ต่างๆ เช่น

  • การประกอบกิจการ เช่น ใช้สถานที่/สิ่งปลูกสร้างเป็นร้านค้า สำนักงาน
  • การก่อสร้างอาคาร/สิ่งปลูกสร้าง เช่น ก่อสร้างอาคาร/สิ่งปลูกสร้างขึ้นใหม่ภายในที่ดิน หรืออาคาร/สิ่งปลูกสร้างเดิม
  • การต่อเติมดัดแปลงอาคาร/สิ่งปลูกสร้าง เช่น ต่อเติมดัดแปลงตกแต่งซึ่งอาคาร/สิ่งปลูกสร้างเดิม
  • การดำเนินการอื่นๆ เช่น ใช้ตั้งซุ้มจำหน่ายสินค้าชั่วคราวหน้าอาคาร ใช้บ้านถ่ายละคร

หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่อาจนำมาใช้ในกรณีต่างๆ ดังต่อไปนี้

  • ผู้ประกอบการใช้ประกอบคำขอจดทะเบียนต่างๆ กับหน่วยงานราชการ เช่น การจดทะเบียนพาณิชย์กับหน่วยงานท้องถิ่น การขึ้นทะเบียนนายจ้างกับสำนักประกันสังคม การขออนุญาตประกอบกิจการ/ธุรกิจควบคุมต่างๆ เพื่อแสดงว่าผู้ประกอบการมีสิทธิใช้สถานที่/สิ่งปลูกสร้างดังกล่าวประกอบกิจการ/ธุรกิจโดยถูกต้องและได้รับความยินยอมจากเจ้าของ เจ้าบ้าน หรือผู้ให้เช่าแล้ว
  • ผู้รับเหมา หรือผู้ก่อสร้างนำไปใช้ประกอบการขออนุญาตก่อสร้าง หรือต่อเติมดัดแปลงอาคาร/สิ่งปลูกสร้างกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (เช่น สำนักการโยธา หรือสำนักงานเขต)
  • ผู้ให้เช่าออกให้ผู้เช่า ในกรณีที่ผู้ให้เช่าต้องการอนุญาตให้ผู้เช่าใช้สถานที่/สิ่งปลูกสร้างที่เช่าในวัตถุประสงค์เพิ่มเติมภายหลังที่นอกเหนือไปจากวัตถุประสงค์การใช้สถานที่/สิ่งปลูกสร้างที่เช่าที่กำหนดไว้ในสัญญาเช่า

แม้หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่จะมีการอนุญาตให้ผู้ได้รับความยินยอมมีสิทธิใช้ประโยชน์ในสถานที่/สิ่งปลูกสร้างเหมือนกับสัญญาเช่าสิ่งปลูกสร้าง แต่เนื่องจากหนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่เป็นการแสดงเจตนาและลงนามเพียงฝ่ายเดียวของผู้ให้ความยินยอม และภายในหนังสือดังกล่าวก็ไม่ได้มีข้อตกลงสำคัญต่างๆ เกี่ยวกับการเช่าตามกฎหมายว่าด้วยการเช่า (เช่น อัตราค่าเช่า การวางเงินประกัน ระยะเวลาการเช่า การต่อสัญญาเช่า หน้าที่ และความรับผิดของผู้เช่า) และที่สำคัญผู้เช่าไม่ได้ลงนามผูกพันในหนังสือดังกล่าวเช่นเดียวกับสัญญาเช่า หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ จึงไม่ใช่สัญญาเช่าสิ่งปลูกสร้าง และไม่สามารถใช้แทนสัญญาเช่าสิ่งปลูกสร้างได้ ในกรณีที่คู่สัญญาต้องการจัดทำสัญญาเช่าสิ่งปลูกสร้าง คู่สัญญาอาจพิจารณาเลือกใช้ สัญญาเช่าอาคาร/พื้นที่พาณิชย์ สัญญาเช่าสิ่งปลูกสร้างเพื่ออยู่อาศัย หรือสัญญาเช่าช่วง แล้วแต่กรณี

การนำไปใช้

ในการจัดทำหนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ ผู้จัดทำ ควรมีข้อพิจารณา ดังต่อไปนี้

ผู้จัดทำควรระบุรายละเอียดและข้อความสำคัญในหนังสือฉบับดังกล่าว โดยละเอียดและครบถ้วน เช่น

  • ผู้ให้ความยินยอม เช่น ชื่อ ที่อยู่ของเจ้าของอาคาร เจ้าบ้าน ผู้ให้เช่า ผู้ครอบครองอาคาร สถานที่ หรือสิ่งปลูกสร้าง
  • ผู้ได้รับความยินยอม เช่น ชื่อ ที่อยู่ของผู้ใช้สถานที่ ผู้ได้รับอนุญาตให้ใช้สถานที่ หรือสิ่งปลูกสร้าง
  • สิ่งปลูกสร้างที่ต้องการให้ความยินยอม/อนุญาต เช่น ประเภทของสิ่งปลูกสร้าง สถานที่ตั้ง
  • ขอบเขตการให้ความยินยอม/อนุญาต เช่น กำหนดระยะเวลา และเงื่อนไขการยินยอม/อนุญาต (ถ้ามี)
  • รายละเอียดอ้างอิงความเป็นเจ้าของ เจ้าบ้าน ผู้ให้เช่า หรือผู้เช่า แล้วแต่กรณีว่าผู้ให้ความยินยอมได้ให้ความยินยอม/อนุญาตในฐานะใด เช่น โฉนดที่ดิน ทะเบียนบ้าน สัญญาเช่า

ผู้จัดทำควรจัดทำหนังสือดังกล่าวเป็นลายลักษณ์อักษรและลงนามโดยผู้ให้ความยินยอมหรือตัวแทนของผู้ให้ความยินยอม โดยอาจจัดทำสำเนาไว้เพื่อการอ้างอิงในอนาคต

ผู้จัดทำควรจัดส่งหนังสือดังกล่าวให้แก่ผู้ได้รับความยินยอมตามวิธีและที่อยู่ที่ตกลงกัน เพื่อผู้ได้รับความยินยอมสามารถนำไปใช้อ้างอิงต่อไป (เช่น นำไปใช้ประกอบคำขอยื่นจดทะเบียนกิจการ/ธุรกิจกับหน่วยงานราชการ)

กฎหมายที่เกี่ยวข้อง

ความช่วยเหลือจากทนายความ

คุณสามารถเลือกที่จะปรึกษาทนายความได้ในกรณีที่คุณต้องการความช่วยเหลือ

ทนายความสามารถช่วยคุณได้โดยทำการตอบคำถามของคุณหรือให้ความช่วยเหลือในกระบวนการต่าง ๆ จะมีการเสนอตัวเลือกดังกล่าวไว้ให้คุณในตอนท้ายของเอกสาร

แก้ไขแบบฟอร์มได้อย่างไร

คุณกรอกแบบสอบถามสำหรับป้อนข้อมูลแล้วจะเห็นได้ว่าระบบของเราจะค่อย ๆ สร้างเอกสารขึ้นเองโดยอัตโนมัติตามคำตอบที่คุณกรอกเข้าไป

การจัดทำหนังสือ บริคณห์สนธิ ผู้จัดตั้งบริษัทจะต้องร่วมกันจัดทำขึ้นโดยการตกลงรายละเอียดและลงลายมือชื่อ เพื่อให้นายทะเบียนตรวจสอบความถูกต้องและยินยอมให้เปิดเผยข้อมูลตามที่ระบุไว้ในหนังสือ บริคณห์สนธิ โดยจะเปิดเผยข้อมูลเฉพาะรายการจดทะเบียนบริษัท เพื่อทางราชการสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ ซึ่งบุคคลภายนอกไม่สามารถเข้ามาดูข้อมูลหรือนำไปใช้โดยพลการได้

หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ ประกันสังคม

 

สําเนา หนังสือ บริคณห์สนธิ

หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ ประกันสังคม

หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ ประกันสังคม

หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ ประกันสังคม

ดาวน์โหลด หนังสือ บริคณห์สนธิ

 

ดาวน์โหลด แบบ ฟอร์ม หนังสือ บริคณห์สนธิ  

หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ ประกันสังคม

 

ข้อมูลที่ใช้ในการจดทะเบียน หนังสือ บริคณห์สนธิ ประกอบด้วย อะไร บ้าง

การจดทะเบียนหนังสือ บริคณห์สนธิ ผู้ขอจดทะเบียนจะต้องเตรียมข้อมูลดังต่อไปนี้ เพื่อกรอกในคำขอจดทะเบียนและเอกสารประกอบการจดทะเบียน คือ

  1. ชื่อของบริษัท (ตามที่ได้จองชื่อไว้) *ดูหลักเกณฑ์การจองชื่อนิติบุคคล*
  2. ที่ตั้งสำนักงานแห่งใหญ่ (ตั้งอยู่ ณ จังหวัดใด)
  3. วัตถุที่ประสงค์ของบริษัทที่จะประกอบกิจการค้า*ดูหลักเกณฑ์การกำหนดวัตถุที่ประสงค์*
  4. ทุนจดทะเบียน จะต้องแบ่งเป็นหุ้นๆ มีมูลค่าหุ้นเท่าๆ กัน (มูลค่าหุ้นจะต้องไม่ต่ำกว่า 5 บาท)
  5. ชื่อ ที่อยู่ อาชีพ และจำนวนหุ้นที่ผู้เริ่มก่อการจองซื้อไว้
  6. ชื่อ ที่อยู่ อายุ สัญชาติ ของพยาน 2 คน
  7.  อากรแสตมป์ 200 บาท

เอกสารหลักฐานที่ต้องใช้ในการจดทะเบียนหนังสือ บริคณห์สนธิ

  1. คำขอจดทะเบียนบริษัทจำกัด (แบบ บอจ.1)
  2. หนังสือ บริคณห์สนธิ (แบบ บอจ.2) ผนึกอากรแสตมป์ 200 บาท
  3. แบบวัตถุที่ประสงค์ (แบบ ว.)
  4. แบบจองชื่อนิติบุคคล
  5. หลักฐานให้ความเห็นชอบในการจัดตั้งบริษัทเพื่อประกอบธุรกิจจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (ใช้เฉพาะในการประกอบธุรกิจที่มีกฎหมายพิเศษควบคุม)
  6. สำเนาบัตรประจำตัวของผู้เริ่มก่อการทุกคน *ดูหลักเกณฑ์เรื่องบัตรประจำตัว*
  7. สำเนาหลักฐานการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อ (ถ้ามี) *ดูหลักเกณฑ์การลงลายมือชื่อผู้ขอจดทะเบียน*
  8. หนังสือมอบอำนาจ (กรณีที่ผู้ขอจดทะเบียนไม่สามารถยื่นขอจดทะเบียนได้ด้วยตนเองก็มอบอำนาจให้บุคคลอื่นดำเนินการแทนโดยทำหนังสือมอบอำนาจและผนึกอากรแสตมป์ 10 บาทด้วย)

    สำเนาเอกสารประกอบคำขอจดทะเบียนทุกฉบับ ต้องให้ผู้ขอจดทะเบียนอย่างน้อยหนึ่งคนรับรองความถูกต้อง ยกเว้นสำเนาบัตรประจำตัวหรือหลักฐานการเป็นผู้รับรองลายมือชื่อผู้ขอจดทะเบียน ให้ผู้เป็นเจ้าของบัตรหรือผู้ขอจดทะเบียนอย่างน้อยหนึ่งคนเป็นผู้ลงลายมือชื่อรับรองความถูกต้อง
    แบบพิมพ์จดทะเบียนสามารถขอและซื้อได้จากหน่วยงานของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า
    หรือ Download จาก www.dbd.go.th

ค่าธรรมเนียม ในการจดบริคณห์สนธิ

ค่าธรรมเนียมเกี่ยวกับการจดทะเบียนหนังสือ บริคณห์สนธิ ผู้ขอจดทะเบียนจะต้องชำระค่าธรรมเนียมตามอัตราที่กฎกระทรวงกำหนด ดังนี้

  1. การจดทะเบียนหนังสือ บริคณห์สนธิทุกจำนวนเงินไม่เกิน 100,000 บาท แห่งจำนวนทุนที่กำหนดไว้ 50 บาท เศษของ 100,000 บาท ให้คิดเป็น 100,000 บาททั้งนี้ รวมกันไม่ให้ต่ำกว่า 500 บาท และไม่ให้เกิน 25,000 บาท
  2. กรณีขอให้นายทะเบียนรับรองเอกสารคำขอจดทะเบียน หน้าละ 50 บาท

สถานที่จดบริคณห์สนธิ

  1.  สำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่ในเขตกรุงเทพมหานคร ยื่นจดทะเบียนได้ที่ ส่วนจดทะเบียนธุรกิจกลางกรมพัฒนาธุรกิจการค้า ชั้น 4 ถนนนนทบุรี 1 จังหวัดนนทบุรี หรือสำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าทั้ง 6 เขต *ดูรายละเอียด*
  2. สำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่จังหวัดอื่น ยื่นจดทะเบียนได้ที่สำนักงานพัฒนาธุรกิจการค้าจังหวัดที่บริษัทมีสำนักงานแห่งใหญ่ตั้งอยู่
  3. ยื่นจดทะเบียนทางอินเทอร์เน็ตที่ www.dbd.go.th

หนังสือ บริคณห์สนธิ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม

หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ ประกันสังคม

ดาวน์โหลด หนังสือ บริคณห์สนธิ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม pdf

ดาวน์โหลด หนังสือ บริคณห์สนธิ ฉบับแก้ไขเพิ่มเติม

หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่ ประกันสังคม

หนังสือ บริคณห์สนธิ ห้างหุ้นส่วนจํากัด

การจดทะเบียนห้างหุ้นส่วน ไม่จำเป็นต้อง จดหนังสือ บริคณห์สนธิ ห้างหุ้นส่วนจํากัด เพราะ ห้างหุ้นส่วนจำกัดไม่มีหนังสือ บริคณห์สนธิ