ข้อสอบ ประวัติศาสตร์ ม.4 พร้อม เฉลย บท ที่ 3

ข้อสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3

***ข้อสอบประวัติศาสตร์ ม.3***

  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การสร้างสรรค์ภูมิปัญญา และบุคคลสำคัญสมัยรัตนโกสินทร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน


***แบบทดสอบก่อนเรียน - หลังเรียน ม.3 (วิชาประวัติศาสตร์)***
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยปรับปรุงและปฏิรูปประเทศ
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยประชาธิปไตย
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 ภูมิภาคของโลก กับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
  • หน่วยการเรียนรู้ที่ 7 ความขัดแย้งและความร่วมมือของโลกในคริสต์ศตวรรษที่ 20 ถึงปัจจุบัน

ข้อสอบ ประวัติศาสตร์ ม.4 พร้อม เฉลย บท ที่ 3

ส่งอีเมลข้อมูลนี้BlogThis!แชร์ไปที่ Twitterแชร์ไปที่ Facebookแชร์ใน Pinterest

ข้อสอบ ประวัติศาสตร์ ม.4 พร้อม เฉลย บท ที่ 3

สรุปเนื้อหาที่สำคัญ แบบทดสอบท้ายบทของแต่ละเรื่อง พร้อมเฉลย

    นำเสนอเนื้อหาสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 วิชาประวัติศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ด้วยเนื้อหาครบถ้วน ทำความเข้าใจง่าย บรรจุแน่นไปด้วยองค์ความรู้ต่างๆ พร้อมแบบทดสอบที่หลากหลายในแต่ละบท โดยมีแบบเฉลยให้ได้ตรวจสอบความถูกต้องด้วยตนเอง เพื่อทบทวนและทำความเข้าใจในเนื้อหาให้มีความแม่นยำมากยิ่งขึ้น เหมาะสำหรับใช้สอบในระดับต่างๆ ได้เป็นอย่างดี

ประวัติศาสตร์ ม.2
บทที่ 1 หลักฐานและวิธีการทางประวัติศาสตร์
บทที่ 2 พัฒนาการทางด้านต่างๆ ของทวีปเอเชีย
บทที่ 3 แหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย
บทที่ 4 พัฒนาการทางด้านการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจในสมัยธนบุรี
ฯลฯ

เฉลยประวัติศาสตร์ ม.2
บทที่ 1 หลักฐานและวิธีการทางประวัติศาสตร์
บทที่ 2 พัฒนาการทางด้านต่างๆ ของทวีปเอเชีย
บทที่ 3 แหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย
บทที่ 4 พัฒนาการทางด้านการเมืองการปกครองและเศรษฐกิจในสมัยธนบุรี
ฯลฯ

ISBN: 9789744327994 (ปกอ่อน) 80 หน้าขนาด: 188 x 260 x 8 มม.น้ำหนัก: 305 กรัมเนื้อในพิมพ์: ขาวดำชนิดกระดาษ: กระดาษปอนด์สำนักพิมพ์: ภูมิบัณฑิต, หจก.สนพ.

สินค้าที่ลูกค้ามักซื้อด้วยกัน

SelectionFile type iconFile nameDescriptionSizeRevisionUserĉส่วนหน้า ม.4-6.1.doc
ดู ดาวน์โหลด310 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉส่วนหน้า ม.4-6.doc
ดู ดาวน์โหลด96 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉหน่วย 1 .doc
ดู ดาวน์โหลด417 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉหน่วย 2 .doc
ดู ดาวน์โหลด1151 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉหน่วย 3 .doc
ดู ดาวน์โหลด671 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉหน่วย 4 .doc
ดู ดาวน์โหลด488 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaewĉหน่วย 5 .doc
ดู ดาวน์โหลด408 กิโลไบต์เวอร์ชัน 2Sophonnawit Inkaew

ฉบับเฉลย แบบทดสอบปลายภาคเรียน โรงเรยี นราชประชานุเคราะห์ 31 อาเภอแม่แจ่ม จงั หวดั เชียงใหม่ แบบทดสอบรายวิชาประวตั ิศาสตร์ รหสั วชิ า ส 31102 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 จานวน 0.5 นก./นน. จานวน 20 คะแนน เวลาใช้สอบ 60 นาที ภาคเรียนท่ี 1 ปีการศึกษา 2561 *************************************คาชแ้ี จง : 1. แบบทดสอบน้ีมีวัตถุประสงค์เพ่ือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนปลายภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ระดับชั้น มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 ตามตวั ชี้วดั ในรายวชิ าประวตั ิศาสตร์ รหสั วิชา ส 31102 ดงั นี้ มาตรฐาน ส ๔.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของ เหตกุ ารณอ์ ย่างตอ่ เนอื่ ง ตระหนักถงึ ความสาคัญและสามารถวิเคราะห์ผลกระทบท่ีเกดิ ขน้ึ ส 4.2 ม.4-6/1 วิเคราะห์อิทธิพลของอารยธรรมโบราณ และการติดต่อระหว่างโลกตะวันตกท่ีมีผลต่อการพัฒนาและการ เปล่ยี นแปลงของโลก 2. ลกั ษณะแบบทดสอบ แบบทดสอบฉบับนีม้ ี 7 หนา้ แบง่ เปน็ 2 ตอน ตอนที่ 1 ส่วนท่ี 1 แบบปรนยั (เลอื ก 1 คาตอบ) จานวน 20 ข้อ สว่ นท่ี 2 แบบปรนยั (เลือกตอบเชิงซอ้ น) จานวน 3 ข้อ ส่วนท่ี 3 แบบปรนัย (เลือกตอบกลุ่มสัมพันธ์) จานวน 2 ข้อ ตอนที่ 2 แบบอัตนยั (เขียนตอบคาตอบ) จานวน 1 ข้อ รวมทง้ั สิ้น 26 ขอ้ 3. เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) ตอนท่ี 1 สว่ นท่ี 1 แบบปรนยั เลอื กตอบ 1 คาตอบ ขอ้ ละ 0.5 คะแนน รวม 10 คะแนน สว่ นท่ี 2 แบบปรนัยเลือกตอบเชิงซอ้ น ขอ้ ละ 1 คะแนน รวม 3 คะแนน สว่ นที่ 3 แบบปรนยั เลอื กตอบแบบกลมุ่ สมั พันธ์ ข้อละ 1 คะแนน รวม 2 คะแนน ตอนท่ี 2 แบบอตั นยั (เขียนเติมคาตอบ) ข้อละ 5 คะแนน รวม 5 คะแนน รวมทงั้ สิ้น 20 คะแนน 4. ข้อปฏบิ ัติในการสอบ 4.1 แต่งกายดว้ ยชดุ นกั เรียนให้สภุ าพเรยี บรอ้ ย ตามข้อบังคบั ของโรงเรยี นราชประชานเุ คราะห์ 31 4.2 หา้ มนาหนงั สอื /เอกสารเขา้ ไปในท่ีนง่ั สอบ และหา้ มทาเครือ่ งหมายใด ๆ ลงแบบทดสอบทีแ่ จกให้ 4.3 ห้ามนาเครือ่ งคิดเลขเข้าห้องสอบ อนญุ าตใหน้ กั เรียนคิดเลขไดใ้ นดา้ นหลงั ของกระดาษคาตอบ 4.4 ห้ามนักเรยี นนาข้อสอบและกระดาษคาตอบออกหอ้ งสอบ จะต้องสง่ คืนกรรมการควบคมุ ห้องสอบเม่ือสอบเสร็จ 4.5 ห้ามนักเรียนส่งเสียงดังรบกวนผู้อ่ืน เม่ือมีข้อสงสัยหรือต้องการส่ิงใดให้ยกมือสอบถาม หรือขอความช่วยเหลือจาก กรรมการควบคุมห้องสอบ หากพบการทจุ รติ ในการสอบในคร้งั นจ้ี ะปรับตกรายวชิ านที้ ันที 4.6 ให้นักเรยี นดงึ กระดาษคาตอบ แยกออกจากข้อสอบกอ่ นลงมอื ทา เพอ่ื การจัดเกบ็ ข้อสอบและกระดาษคาตอบแยกจาก กนั ของกรรมการคมุ สอบ

แบบทดสอบรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4 หนา้ ที่ : 2ตอนที่ 1 ส่วนท่ี 1 แบบปรนัยเลือกตอบ ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูกต้องเพียงคาตอบเดียว โดยทาเคร่ืองหมายกากบาท (X) ในกระดาษคาตอบหลงั แบบทดสอบ (จานวน 20 ข้อ ขอ้ ละ 0.5 คะแนน ตอบถกู ได้ 0.5 คะแนน ตอบผดิ ได้ 0 คะแนน รวม 10 คะแนน)1. อารยธรรมเมโสโปเตเมยี เป็นช่ือเรียกแหลง่ อารยธรรมโลกยุคโบราณแหง่ หนึ่ง ซง่ึ อยู่ในดินแดนระหว่างแมน่ ้าใด (ส 4.2 ม.4-6/1 : เขา้ ใจ) ก. แม่นา้ ไทกริส – แมน่ า้ ยเู ฟรติส ข. แมน่ า้ ไนล์ – แม่น้าไวทไ์ นล์ ค. แมน่ า้ ฮวงเหอ – แม่นา้ แยงซี ง. แมน่ ้าสินธุ – แม่นา้ คงคา จ. แม่น้าสติส – แม่น้าดานบู2. ข้อใดกลา่ วถงึ สมยั ก่อนประวตั ิศาสตรอ์ ารยธรรมจีนถกู ตอ้ ง (ส 4.2 ม.4-6/1 : เขา้ ใจ) ก. วฒั นธรรมหยางเชา มีลกั ษณะสาคญั คือ เคร่ืองป่นั ดนิ เผามเี นื้อละเอียด สีดาขัดเงา เน้ือบาง แตแ่ กร่ง ข. วฒั นธรรมหยางเชา พบหลกั ฐานทางวันธรรม คือ ภาชนะ 3 ขา ซง่ึ สรา้ งขึน้ มาในยุคสารดิ ค. วฒั นธรรมหลงซาน มลี กั ษณะสาคญั คือการเลยี นลายเรขาคณิต พชื สัตว์ และใบหน้ามนษุ ยล์ งในสง่ิ ของเครื่องใช้ ง. วฒั นธรรมหลงซาน พบหลกั ฐานทางวัฒนธรรม คือ เครื่องปน้ั ดนิ เผาเขยี นลายสเี ป็นสีดาหรอื สีมว่ งเข้ม จ. ไมม่ ขี ้อใดถกู ตอ้ ง3. ขอ้ ใดกล่าวถงึ แฝดผพู้ ีข่ องเทพอะพอลโลไ่ ด้ถูกตอ้ ง (ส 4.2 ม.4-6/1 : เขา้ ใจ) ก. โพไซดอน เทพเจา้ แหง่ ท้องทะเลและความอุดมสมบรู ณ์ ข. อโฟรไดต์ เทพแี ห่งความรักและความงาม ค. อาร์ธีมิส เทพแี หง่ ดวงจนั ทร์และการลา่ สัตว์ ง. อาเธน่า เทพแี หง่ ปัญญาและสงคราม จ. เฮอร์มสี เทพแห่งการขนสง่ และการสื่อสาร4. อารยธรรมใดทเ่ี กิดจากการผสมผสานของอารยธรรมอยี ิปต์ อารยธรรมเมโสโปเตเมีย และอารยธรรมเปอรเ์ ซย๊ (ส 4.2 ม.4-6/1 : เข้าใจ) ก. อารยธรรมกรีก ข. อารยธรรมโรมนั ค. อารยธรรมจีน ง. อารยธรรมอินเดีย จ. อารยธรรมอียปิ ต์5. อารยธรรมใดที่เป็นอารยธรรมที่เกิดจากการสร้างสรรค์พัฒนาความเจริญขึ้นภายในดินแดนของตนเอง โดยไม่มีอารยธรรมอ่ืนเข้ามาผสม(ส 4.2 ม.4-6/1 : เขา้ ใจ) ก. อารยธรรมกรีก ข. อารยธรรมโรมนั ค. อารยธรรมจีน ง. อารยธรรมอนิ เดีย จ. อารยธรรมอียิปต์6. เมอื งและอารยธรรมในขอ้ ใดไดม้ อบมรดกทางอารยธรรมดา้ นการปกครองระบบประชาธปิ ไตยให้แก่ชาวโลก (ส 4.2 ม.4-6/1 : เข้าใจ) ก. กรุงเอเธนส์ - อารยธรรมกรกี ข. กรงุ โรม - อารยธรรมโรมนั ค. กรุงปกั กง่ิ - อารยธรรมจีน ง. กรุงไคโร - อารยธรรมอยี ิปต์ จ. กรุงอสิ ตันบลู – อารยธรรมเปอร์เซยี7. “ถนนทุกสายมงุ่ สูก่ รงุ โรม” เปน็ การสะท้อนใหเ้ หน็ ถงึ ความเจริญของอารยธรรมทางด้านใดของจกั รวรรดโิ รมันมากท่ีสุด (ส 4.2 ม.4-6/1 :เขา้ ใจ) ก. ดา้ นเศรษฐกิจ ข. ด้านอตุ สาหกรรม ค. ดา้ นวัฒนธรรม ง. ดา้ นการปกครอง จ. ดา้ นครอบครวั8. สาเหตสุ าคัญท่สี ุดที่ทาให้อารยธรรมอยี ิปต์พัฒนาอยา่ งมีเอกภาพคอื ขอ้ ใด (ส 4.2 ม.4-6/1 : วเิ คราะห์) ก. การนับถือพระเจา้ องค์เดยี ว ข. มีราชวงศ์เดยี วในการปกครอง ค. การยึดถอื อารยธรรมดงั้ เดิมตามบรรพบรุ ษุ ง. ไม่มีชนชาตอิ ่ืนมาปะปนอาศัยรว่ มกนั ในอาณาจักร จ. มสี ภาพภูมศิ าสตร์ทปี่ อู งกนั การรุกรานจากภายนอก9. สง่ิ ก่อสรา้ งส่วนใหญ่ของอารยธรรมโรมนั ใหค้ วามสาคญั ต่อเรอ่ื งใดมากที่สดุ (ส 4.2 ม.4-6/1 : วเิ คราะห)์ ก. ความเช่อื ทางศาสนา ข. ประหยดั และความค้มุ ค่า ค. ศิลปะ และความสวยงาม ง. ความสมจริงของเหตุการณ์และสถานที่ จ. ประโยชนใ์ นการใชส้ อย10. กลุ่มชนทีม่ สี ่วนในการสร้างสรรค์อารยธรรมเมโสโปเตเมยี มีหลากหลายกลมุ่ กลุ่มชนในข้อใดท่ีมีส่วนในการสร้างอารยธรรมเมโสโปเตเมียท้ังหมด (ส 4.2 ม.4-6/1 : เข้าใจ) ก. ชาวอัสซเี รียน ชาวแคลเดยี น ชาวฮติ ไทต์ ชาวฟินีเซยี น ชาวมายา และชาวฮบิ รู ข. ชาวสเุ มเรยี น ชาวบาบโิ ลเนยี น ชาวอสั ซีเรยี น ชาวแคลเดียน และชาวฮติ ไทต์ ค. ชาวสุเมเรียน ชาวอสั ซีเรยี น ชาวแคลเดยี น และชาวอา่ ข่า ง. ชาวอัสซเี รยี น ชาวบาบิโลเนียน และชาวแคลเดียน จ. ชาวสเุ มเรยี น ชาวบาบิโลเนียน และชาวอริ ัก

แบบทดสอบรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ 4 หน้าท่ี : 311. ขอ้ ใดกล่าวถงึ ยุคสมัยอาณาจกั รสุเมเรียผดิ (ส 4.2 ม.4-6/1 : เข้าใจ) ก. สภาพภมู ปิ ระเทศมฝี นตกน้อย อากาศร้อนจัด ข. มคี วามอุดมสมบรู ณข์ องผลอินทผลัม ค. บ่อยคร้ังเกิดอุทกภัยจากการละลายของหิมะในบริเวณเทือกเขาซากรอสและเทือกเขาเทารัส ง. คดิ ค้นการชลประทานและการระบายไปยังพื้นท่ีเพราะปลกู จ. จดั รัฐสวัสดกิ ารใหแ้ กป่ ระชาชนทุกคน12. ข้อใดคอื ไม่ใช่วัตถปุ ระสงคใ์ นการสร้างซกิ กแู รต (Ziggurat) (ส 4.2 ม.4-6 : วิเคราะห์) ก. เพื่อการชลประทานในพนื้ ทเี่ กษตรกรรม ข. เพอ่ื เปน็ ทส่ี อนเดก็ ๆใหอ้ า่ นออกเขียนได้ ค. เพือ่ สืบทอดความร้คู วามสามารถใหแ้ กผ่ สู้ นใจ ง. เพื่อเป็นทีส่ อนหนงั สอื ศาสนาใหแ้ ก่นักบวชรุ่นเยาว์ จ. เพอ่ื ปูองกนั ความพิโรธของเหล่าเทพเจ้าผ้เู ป็นเจา้ ของท่ดี ินและผู้ปกครองสงู สดุ13. ข้อใดจับคู่เคร่อื งกลชนิดแรกของโลกกบั ชนกลมุ่ ท่ีประดษิ ฐไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง (ส 4.2 ม.4-6/1 : เขา้ ใจ) ก. ปฏทิ นิ – ฮิตไทต์ ข. จานหมุน – สุเมเรยี น ค. เรือเดินสมุทร – ฟินเี ซยี น ง. กังหนั น้า – อสั ซีเรียน จ. ลกู รอก – บาบิโลเนียน14. ขอ้ ใดคือจุดมงุ่ หมายท่สี าคญั ทสี่ ุดของมหากาพยก์ ิลกาเมซ (ส 4.2 ม.4-6/1 : เข้าใจ) ก. ได้รบั ความบันเทิง ข. ความตายและมนษุ ยเ์ ปน็ ของคู่กัน ค. ปลุกใจใหร้ ักการผจญภยั ง. เชือ่ ในพันธสัญญาเกา่ ของชาวฮิบรู จ. ฝกึ ให้คนมีจินตนาการ15. ข้อใดไม่ใชจ่ ุดมงุ่ หมายของประมวลกฎหมายฮมั มรู าบี (The Code of Hammurabi) (ส 4.2 ม.4-6/1 : เข้าใจ) ก. เพอ่ื ปูองกันไม่ให้ผู้ทเี่ ขม้ แข็งกว่ากดข่ีผทู้ ี่ออ่ นแอกวา่ ตนเอง ข. เพ่ือให้ทดแทนความผดิ ดว้ ยการกระทาอย่างเดยี วกัน ค. เพื่อทาลายความช่ัวร้ายและเลวทรามของมนษุ ย์ ง. เพ่อื ให้ผทู้ ีอ่ อ่ นแอกว่ามหี นทางในการเรยี กรอ้ ง จ. เพือ่ สร้างความยตุ ธิ รรมใหแ้ ก่สงั คม16. เหตกุ ารณใ์ นข้อใดถือเป็นจุดสิ้นสดุ ของอารยธรรมเมโสโปเตเมยี ในยุคโบราณ (ส 4.2 ม.4-6/1 : เขา้ ใจ) ก. อาณาจกั รบาบโิ ลนใหมถ่ กู กองทัพของพระเจ้าไซรัสมหาราชแห่งเปอร์เซียบุกเข้ายึดครอง และถูกรวมเป็นส่วนหนึ่งของจักรวรรดิเปอรเ์ ซยี ข. อาณาจักรบาบิโลนเก่าถูกพวกฮิตไทต์เขา้ ปลน้ สะดม และท้ิงร้างให้เผา่ คสั ไซตเ์ ข้ายดึ ครอง เรียกว่า ยคุ มืดของอารยธรรมเมโสโปเตเมยี ทย่ี าวนานกวา่ 3 ศตวรรษ ค. อาณาจกั รสเุ มเรยี ถูกพระเจา้ ซารก์ อนท่ี 1 เผ่าซไี มต์ แหง่ อาณาจักรอคั คาเดียนเข้ารกุ รานและยึดครอง ตอ่ มาถกู ชนเผา่ อลี าไมตบ์ ุกเข้าทาลายเมอื ง ง. อาณาจกั รคารเ์ ทจถูกกองทพั โรมันเข้าทาลายในสงครามพวิ นคิ เมือ่ 146 ปกี อ่ นศริสต์ศกั ราช จ. ชาวฮบิ รู หรอื ยิว ชนเผ่าเซมิติก ถกู กวาดตอ้ นไปเปน็ ทาสในสมัยอาณาจกั รบาบิโลนใหม่ และต่อมากลายเปน็ ชนเผ่าเร่ร่อนจากการถกู กองทัพโรมันปราบปราม17. ระบบการปกครองสมัยอียิปต์โบราณเป็นการปกครองในรปู แบบใด (ส 4.2 ม.4-6/1 : เข้าใจ) ก. แบบพ่อปกครองลูก ข. แบบฟวิ ดัล ค. แบบจกั รพรรดิ ง. แบบอเทวธปิ ไตย จ. แบบเทวธปิ ไตย18. ส่ิงประดษิ ฐ์หรือนวตั กรรมใหม่ในขอ้ ใดไม่สมั พนั ธ์กบั ยุคราชวงศ์ของจนี (ส 4.2 ม.4-6/1 : วิเคราะห์) ก. ตวั อักษรจีน เครอ่ื งสารดิ เครอื่ งหยก – ราชวงศ์ชาง ข. ระบอบศกั ดนิ า ขงจอ๊ื – ราชวงศโ์ จว ค. กาแพงเมืองจนี และระบบภาษาเขยี นเหมือนกันทง้ั อาณาจกั ร – ราชวงศฉ์ ิน (หรือจนิ๋ ) ง. การสอบจอหงวน เส้นทางสายไหมจากจีนไปยโุ รป – ราชวงศ์ฮ่นั จ. เขม็ ทิศในการเดินเรือ ไซอ๋วิ – ราชวงศ์ถัง19. ตามหลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์อนิ เดยี ข้อใดไมถ่ ูกตอ้ ง (ส 4.2 ม.4-6/1 : เขา้ ใจ) ก. สถาปัตยกรรม ประตมิ ากรรม และจิตรกรรมอินเดียส่วนใหญเ่ ปน็ ศิลปะท่ีเกยี่ วขอ้ งกับศาสนาพทุ ธ ฮินดู และเซน ข. พวกอารยนั เอาชนะพวกดราวิเดยี นผูส้ รา้ งอารยธรรมสินธไุ ด้เพราะมคี วามเจริญทางศลิ ปวัฒนธรรมมากกว่า ค. รพินทรนาถ ฐากรู กวชี าวอนิ เดยี เปน็ ชาวเอเชียคนแรกทีไ่ ด้รับรางวลั โนเบล สาขาวรรณคดี จากเร่อื ง คีตาญชลี ง. หลังจากพระพุทธเจ้าปรินิพพานแล้วหลายร้อยปีจึงมีการสร้างพระพุทธรูปเป็นคร้ังแรกซึ่งเป็นพระพุทธรูปแบบคันธาระท่ีได้รับอทิ ธพิ ลจากรูปแบบประตมิ ากรรมกรกี ในสมัยพระเจา้ อะเล็กซานเดอร์มหาราช จ. หลังส้นิ สดุ ราชวงศค์ ุปตะ อินเดียแตกแยกและออ่ นแอ ถูกรกุ รานโดยต่างชาติ และศาสนาอิสลามเรม่ิ เผยแผเ่ ข้ามาสอู่ นิ เดีย

แบบทดสอบรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 4 หนา้ ท่ี : 420. อินเดียจัดได้ว่าเปน็ ประเทศทีม่ รี ะบบการเมืองการปกครองแบบประชาธิปไตยทีม่ ีเสถียรภาพมากทส่ี ดุ แหง่ หน่ึง เพราะเหตใุ ด (ส 4.2 ม.4-6/1 : เขา้ ใจ) ก. องั กฤษเคยปกครองอินเดยี และวางรากฐานไว้ ข. ชาวอินเดยี เครง่ ครัดในศาสนา วถิ ีชีวิต มีแบบแผน ค. มหาตมะ คานธี สร้างความเป็นเอกภาพและวางรากฐานไว้ ง. ชาวอนิ เดียไดร้ บั อทิ ธิพลจากการศึกษาแบบตะวนั ตกและระบบวรรณะเสื่อมลง จ. มีอทิ ธิพลของศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดทู ี่ฝังรากลกึ ไว้ คอยเตือนใจถงึ ความปรารถนาในอสิ รภาพตอนที่ 1 ส่วนที่ 2 แบบปรนัยเลือกตอบเชิงซ้อน โดยคาถามชุดนี้มีคาถามย่อยรวมอยู่ในข้อเดียวกัน ซึ่งเกี่ยวกับเร่ือง/ สถานการณท์ ่อี า่ น (จานวน 3 ขอ้ ข้อละ 1 คะแนน * ตอ้ งถูกทัง้ 4 ขอ้ ย่อย จงึ จะได้ 1 คะแนน)ให้นักเรยี นอา่ นบทความทีใ่ ห้แล้วตอบคาถามขอ้ 21 หากพดู ถึงกาแพงเมอื งจีน หรอื The Great Wall of China รบั รองได้วา่ ไมม่ ีใครไม่รู้จัก เพราะน่ีคือหนึ่งในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลกท่ีหลายคนต่างใฝุฝันท่ีจะไปเยือนสักครั้งในชีวิต และไม่ว่าใครที่ไปมาต่างก็ต้องพูดถึงความยิ่งใหญ่อลังการ และความสวยงามท่ีเต็มไปด้วยประวตั ศิ าสตร์อนั ลา้ คา่ จนทาให้กาแพงเมอื งจนี กลายเปน็ หนึ่งในแลนด์มาร์คของประเทศทีห่ ากใครไปจนี ก็ตอ้ งไปดใู ห้เห็นกับตา ก่อนท่ีจะตามเอ็กซ์พีเดียไปเที่ยวกาแพงเมืองจีนก็ต้องขอเกริ่นถึงประวัติศาสตร์ความเป็นมาของโบราณสถานช้ินสาคัญที่ได้รับการข้ึนทะเบียนเป็นมรดกโลกที่ช่ือว่ากาแพงเมืองจีนกันก่อน กาแพงเมืองจีนน้ันสร้างข้ึนทางตอนเหนือของประเทศจีนมานานกว่า 2,500 ปีต้ังแต่กอ่ นสมัยของจิน๋ ซีฮอ่ งเต้ แตก่ ไ็ ด้มีการกอ่ สร้างเพิม่ เติมมาเรอื่ ยๆ ในสมยั ฮอ่ งเตห้ ลายพระองค์ เปูาหมายเพอื่ ท่ีจะปูองกันกลมุ่ ข้าศึกท่หี มายจะมารุกรานประเทศ กาแพงเมืองจีนน้ันมีลักษณะเป็นกาแพงขนาดยักษ์ ครอบคลุมกว่า 15 มณฑลในประเทศจีน เช่น มณฑลเหลียวหนิง(Liaoning) มณฑลเทียนจิน (Tianjin) มณฑลเหอเปุย์ (Hebei) ปักกิ่ง (Beijing) เขตปกครองตนเองมองโกเลียใน (Inner Mongolia) มณฑลซานซี (Shanxi) มณฑลสา่ นซี (Shaanxi) เขตปกครองตนเองหนิงเซยี่ หยุ (Ningxia) มณฑลกานซู (Gansu) และมณฑลชงิ ไห่ (Qinghai) ฯลฯ ตลอดความยาวหมื่นกิโลเมตรน้ันมีปูอมปราการหรือด่านต่างๆ ต้ังอยู่ตลอดเส้นทาง แต่มีเพียงไม่กี่ด่านเท่านั้นท่ีเป็นสถานที่ท่องเที่ยวให้เพ่ือนๆ ไปสมั ผัสได้ เพราะบางดา่ นกอ็ ยู่ในพ้ืนทท่ี ุรกนั ดารท่ีไมส่ ามารถเขา้ ถึงได้ บางด่านก็ยังบรู ณะไม่เสรจ็ สนิ้ บางดา่ นก็อันตรายมากหากจะไปสว่ นบางด่านกส็ กึ กรอ่ นไปตามกาลเวลา ทมี่ า : “กาแพงเมืองจีน” ตานานแห่งเสน้ ทางหลายหมนื่ กิโลเมตร โดยเว็บนาเที่ยว เอก็ ซ์พเี ดีย21. จากขอ้ ความท่ีอ่านเกยี่ วกับหลกั ฐานทางประวัตศิ าสตร์ ใหน้ กั เรยี นระบวุ า่ ขอ้ ความทอี่ า่ นกลา่ วถูกต้องหรอื ไมถ่ ูกตอ้ ง (ต้องตอบถูกทั้ง 4 ขอ้ย่อยจงึ จะได้ 1 คะแนน) (ส 4.2 ม.4-6/1 : วเิ คราะห์) ข้อ ขอ้ ความ ใช่ ไม่ใช่21.1 กาแพงเมืองจนี เริ่มสรา้ งกาแพงเชอ่ื มกาแพงเมอื งแตล่ ะ่ แห่งเขา้ ด้วยกนั ขึ้นในสมยั ราชวงศ์ฉนิ /21.2 เราสามารถมองเหน็ กาแพงเมอื งจีนจากดวงจันทร์ได้21.3 กาแพงเมอื งจนี ส้ินสุดการก่อสรา้ งในสมัยราชวงศ์หมงิ ปี ค.ศ. 1644 / /21.4 ชาวตะวันตกคนแรกท่ีเหยียบลงบนกาแพงเมืองจีนคือนักสารวจชาวโปรตุเกสที่ชื่อ Bento de Gois ในปี ค.ศ. / 1605ใหน้ ักเรยี นอ่านขอ้ ความทีใ่ ห้แล้วตอบคาถามข้อ 22 พรี ะมดิ ในประเทศอยี ปิ ต์ เปน็ หน่ึงในพรี ะมดิ ทเ่ี ปน็ ท่รี ้จู ักโดยมีหลายแหง่ ในประเทศอียิปต์ เป็นสง่ิ กอ่ สร้างของชาวอยี ิปตโ์ บราณสมยั ก่อนยคุ เหล็ก โดยเฉพาะ พีระมิดคูฟู ใน หมู่พีระมิดแห่งกิซ่า นับเป็นสิ่งก่อสร้าง ขนาดใหญ่ที่สุด ท่ีมนุษย์เคยสร้างขึ้นมา ซ่ึงแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าทางวิทยาการ ที่น่าอัศจรรยข์ องอยี ปิ ตโ์ บราณ22. จากขอ้ ความทอี่ ่านเกย่ี วกบั หลักฐานทางประวตั ศิ าสตร์ ให้นกั เรยี นระบวุ า่ ข้อความท่ีอ่านกลา่ วถกู ต้องหรือไมถ่ กู ต้อง (ตอ้ งตอบถกู ท้ัง 4 ขอ้ย่อยจึงจะได้ 1 คะแนน) (ส 4.2 ม.4-6/1 : วิเคราะห์)

แบบทดสอบรายวิชาประวตั ศิ าสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 4 หน้าที่ : 5 ขอ้ ขอ้ ความ ใช่ ไม่ใช่22.1 พีระมดิ ในสมัยโบราณ มีอีกชื่อเรยี กหนงึ่ ว่า “ซกิ กแู รต” /22.2 พรี ะมิด คอื สถานที่เพ่ือใชเ้ ป็นทีเ่ ก็บรักษาพระศพของเหลา่ ฟาโรห์ ไว้รอการกลบั คืนชีพ /22.3 นักโบราณคดี สรุปใหว้ า่ พีระมิด สร้างขึน้ จากมนษุ ยต์ ่างดาวผ้เู ข้ามาเผยแพรว่ ฒั นธรรมให้แก่อารยธรรมโบราณ /22.4 มหาพีระมิดแห่งกีซา ได้รับการยกย่องให้เป็นหน่ึงในเจ็ดสิ่งมหัศจรรย์ของโลก และเป็นหนึ่งเดียว ในเจ็ดสิ่ง / มหัศจรรย์ยคุ โบราณ ท่ียงั คงอยูม่ าจนถึงปัจจุบนัตอนที่ 1 ส่วนที่ 3 แบบปรนัยเลือกตอบกลุ่มคาตอบสัมพันธ์ โดยคาถามชุดน้ีมีคาถามมากกว่า 1 ข้อ ท่ีมีเงื่อนไขให้คิด และสมั พนั ธต์ อ่ เนอื่ งกนั (ตอบถกู ไดข้ ้อละ 1 คะแนน)ใหน้ ักเรยี นอ่านข้อความดังต่อไปน้แี ลว้ ตอบคาถามข้อ 23 พระเวท ( ภาษาสันสกฤต : वेद ) โดยท่ัวไปถอื ว่าเป็นคมั ภีรใ์ นศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดู หากกล่าวโดยเฉพาะลงไป หมายถึง บทสวดต่างๆ ที่เกีย่ วกับความเช่อื ของชาวอินโดอารยัน หรืออาจเรียกได้ว่าศาสนาพราหมณ์ฮินดู โดยมีการรวบรวมเป็นหมวดหมู่ในชั้นหลัง คาว่า “เวท” น้ันหมายถึง ความรู้ มาจากธาตุ “วิทฺ” (กริยา รู้) คัมภีร์พระเวท ประกอบด้วยคัมภีร์ 4 เล่ม ได้แก่ ฤคเวทใช้สวดสรรเสริญเทพเจ้า สามเวทใช้สาหรับสวดในพิธีกรรมถวายน้าโสมแกพ่ ระอินทร์และขบั กลอ่ มเทพเจ้า ยชุรเวทวา่ ดว้ ยระเบียบวธิ ีในการประกอบพิธบี ชู ายญั และบวงสรวงตา่ งๆและ อถรรพเวท ใชเ้ ปน็ ทร่ี วบรวมคาถาอาคมหรือเวทมนตร์ ทม่ี า : สารานกุ รมเสรี และ ปรชั ญาอนิ เดียในยคุ พระเวท จากข้อความดงั กล่าวข้างตน้ ใครเปน็ ผู้มีหนา้ ทีถ่ า่ ยทอดสืบต่อกันมา (A) วิธกี ารที่ใชใ้ นการถา่ ยทอดคมั ภีร์พระเวท (B) แนวคิดและความเชอ่ื เรอ่ื งคัมภรี ์พระเวทน้ีมีลกั ษณะเป็นอยา่ งไร (C) (ส 4.2 ม.4-6/1 : วิเคราะห์)A คาตอบ B คาตอบ C คาตอบ1 ศทู ร 1 การเล่าเรื่องราวและจดจา 1 มนุษยนยิ ม2 แพศย์ 2 การจดบันทกึ ลงบนศลิ าจารึก 2 วตั ถุนยิ ม3 พราหมณ์ 3 การเรียนจากภาพวาดบนผนังหินในถ้า 3 วิญญาณนิยม23. จากตารางสามารถจดั กลมุ่ ความสัมพนั ธท์ ถี่ กู ต้องตามกลมุ่ A, B และ C ได้ตามขอ้ ใด ก. 1, 2, 3 ข. 2, 3, 2 ค. 3, 1, 3 ง. 1, 1, 2 จ. 3, 2, 1ใหน้ ักเรยี นอ่านขอ้ ความดังต่อไปน้แี ล้วตอบคาถามขอ้ 24 ชาวอียิปต์มีความเชือ่ เร่อื งฟาโรหว์ ่าเป็นเทพเจา้ เช่ือในชีวติ อมตะหรือฟ้ืนคืนชีพกลับมาอีกคร้ังเหมือนการสารวจธรรมชาติ เดิมทีก่อนการรวมแผน่ ดิน หัวเมอื งต่างๆทั้งในอยี ิปต์บน และ ล่าง ตา่ งนับถอื เทพตา่ งๆกันตอ่ มาเม่อื รวมแผน่ ดินแลว้ ก็ยังคงความเชื่อแบบพหเุ ทวนยิ มอยู่ ทีม่ า : อารยธรรมแหง่ อียิปต์ ครคู เชนท์ กองพลิ า จากข้อความข้างต้น ทาไมชาวอียปิ ต์จึงเชือ่ ในเรอ่ื งชีวิตอมตะ (A) การฟ้ืนคืนชีพกลับมาอีกครั้งเปรียบเสมือนการสารวจธรรมชาติอย่างไร(B) และเทพแห่งความตายท่ีชาวอยี ปิ ต์โบราณนบั ถือคือขอ้ ใด (C) (ส 4.2 ม.4-6/1 : วเิ คราะห์)A คาตอบ B คาตอบ C คาตอบ1 เพราะ “คา” (ka) หรือวิญญาณมีวันสูญสลายไป การ 1 เพราะเม่ือฟาโรห์เสียชีวิตและทามัมมี่ จะถูกปลุก 1 Anubis ตายจึงเป็นอีกหนึ่งการพิสูจน์ตัวตนเพ่ือกลับมาเกิดใหม่ วญิ ญาณขน้ึ เพอ่ื เดินทางผ่านประตูนรก และปีศาจร้าย อีกครัง้ เป็นการพิสูจน์ตนเองก่อนจะได้รับโอกาสกลับมาบน โลกอกี ครัง้2 เพราะฟาโรห์คือเทพท่ีแบ่งภาคลงมาเกิดเพ่ือปกครอง 2 เพราะสง่ิ แวดล้อม อียิปต์ในฤดูแล้งพืชพันธ์ุธัญญาหาร 2 Re และช้ีนามนุษย์ให้เดินไปในทางท่ีถูกต้อง เมื่อถึงเวลาก็ ต่างล้มตาย แตเ่ มอื่ ถึงฤดนู า้ หลากกจ็ ะงอกเงยขึ้นมาอกี ต้องกลับไป แต่หากมีเหตุร้ายใดก็จะทรงกลับมาอีกคร้ัง หรือพระอาทติ ยล์ บั ขอบฟูาในตอนเย็น ความมืดมิดมา ในรา่ งกายเดมิ ฟนื้ คืนชพี เพ่อื จัดการปัญหาต่างๆ เยอื นแต่กลบั สวา่ งไสวใหม่ยามดวงอาทิตย์ขึ้นในรุ่งเช้า ของวันต่อไป3 เพราะ วิญญาณ หรือ “คา” (ka) เป็นส่ิงที่ไม่สูญหายไป 3 เพราะการฟื้นคืนชีพจาเป็นต้องมีบทเวทที่มีพลังจาก 3 Osiris ไหน จะกลบั เข้าร่างฟืน้ คืนชีพขึน้ มาอกี ครั้ง เม่อื ถงึ เวลาที่ ธรรมชาติมาประกอบพิธีกรรมการปลุกวิญญาณและ ถูกปลุกขึ้นมาอย่างถูกที่ ถูกเวลา การคืนชพี

แบบทดสอบรายวชิ าประวตั ศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 หนา้ ท่ี : 11ซึ่งจะไดร้ บั ที่ดินชน้ิ หน่ึงจากเจ้าของที่ดนิ เพ่ือทาการเพาะปลกู โดยเสรี แต่จะตอ้ งชดใช้เจา้ ของท่ีดินด้วยแรงงานของตน เม่อืนานวันเขา้ กเ็ ปล่ียนสภาพเป็นก่ึงทาส (serdom)4. สงครามกลางเมือง ทาให้กระทบกระเทือนระบบการค้าจักรพรรดิท่สี าคญั ของโรมัน( จูเลยี ส ซีซาร์ ) รัฐบรุ ุษสถาปนาตนเองปกครองโรมัน เป็นผนู้ าทางทหารทีส่ าคัญท่ีสดุ สมยั ที่เปน็ สาธารณรัฐ เปน็ ต้นกาเนิดคาวา่ ไกเซอร์-เยอรมนั ซาร์-รสั เซีย ซซี าร์-โรมนั 1. ซซี าร์ ออกุสตสุ (Augustus) 30 ปีกอ่ น ค.ศ.–ค.ศ. 14 นบั เปน็ “ยคุ ทองของโรม” 2. ทเิ บริอุส (Tiberius) ค.ศ. 14-37 เพ่ิมอานาจจักรพรรดแิ ละลดอานาจของสภาราษฎร 3. เนโร (Nero) ค.ศ. 54-68 เปน็ จักรพรรดทิ โี่ หดเหี้ยม เพราะฆ่าพระมารดา พระอนชุ า ชายา 2 องค์ รวมท้งั พระอาจารย์ของพระองคเ์ องคือ เซเนคา (Seneca) รวมท้ังเป็นผทู้ ี่ทาการจุดไฟเผากรงุ โรม เพียงเพ่ือความบนั เทิงของตวั เอง ปาู ยความผดิให้พวกครสิ เตียน และประหารชีวติ เปน็ จานวนมาก จกั รพรรดเิ นโรปลงพระชนม์พระองค์เอง ใน ค.ศ. 68 4. มารค์ สุ ออเรลอี สุ (Marcus Aurelius) ค.ศ. 161-180 นับวา่ เปน็ กษตั ริย์พระองคส์ ุดท้ายที่ได้รับการยกยอ่ งว่าเป็นจักรพรรดิทม่ี ี 5 พระองค์ (ค.ศ. 96-180) รัชสมยั ของพระองคน์ ้ีถือวา่ เป็นสมยั สุดท้ายของ สันติภาพโรมนั (PaxRomana) ซ่ึงคงอยรู่ ะหวา่ ง 27B.C.–180A.D. นับเป็นปีแหง่ สนั ติสุขโรมัน และเปน็ ช่วงระยะที่อารยธรรมเฮลเลนสิ ตคิ แผข่ ยายออกไปในจักรวรรดมิ ากทส่ี ดุ 5. คอนสแตนติน (Constantine) ค.ศ. 312-337 รวมจกั รวรรดโิ รมนั เป็นจักรวรรดเิ ดยี วกนั ได้ชว่ั ระยะเวลาหน่ึง และย้ายเมอื งหลวงจากโรมไป ไบแซนติอมุ (Byzantium) เปล่ียนเรยี กชือ่ ใหมว่ ่า “คอนสแตนติโนเปลิ ”(Constantinople) ตามพระนามของพระองค์ (ปจั จุบันคอื เมอื งอสิ ตนั บุล) โดยเจตนาจะใหเ้ ป็นศนู ยก์ ลางของการปกครองดินแดนทั้งภาคตะวนั ตกและตะวนั ออก แต่การทง้ั น้ีกลับทาใหป้ ระชาชนเรม่ิ รสู้ ึกแบ่งแยกทางจติ ใจ ทางตะวนั ตกซึ่งมีอิตาลี สเปน โลกยงั ยึดอารยธรรมโรมนั อยู่ (Romanization) แต่ทางตะวันออกซง่ึ มีคอนสแตนตโิ นเปิล และเอเชยี โมเนอร์ตา่ งรับอารยธรรมกรีก (Hellenization) และเมื่อคอนสแตนตินประกาศ “กฤษฎกี าแห่งมิลาน” (Edict of Milan) แลว้ คริสตศาสนาก็สามารถเผยแพร่ในอาณาจักรโรมได้เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ข้อสอบอัตนัย คะแนน 543210ขอ้ เกณฑ์การใหค้ ะแนน29 บอกยคุ สมยั ของกรกี -โรมัน 1 ยุคสมยั อธิบายยคุ สมยั ของกรีก-โรมัน พรอ้ มเหตผุ ล การนามาประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั รวมคะแนน (หารด้วย 3)