กิจกรรม 1.2 แบบจําลองการขยายตัวของเอกภพ เฉลย

การที่แทบทุกกาแล็กซีเคลื่อนหนีห่างออกไปบ่งชี้ว่าเอกภพกำลังขยายตัว ดังนั้น หากเราอาศัยอยู่ในกาแล็กซีอื่น จะพบว่ากาแล็กซีทางช้างเผือกก็เคลื่อนหนีออกไปเช่นเดียวกัน

คุณสามารถทำความเข้าใจการขยายตัวของเอกภพได้ โดยจินตนาการว่าเอกภพเป็นลูกโป่งขนาดยักษ์ที่มีกาแล็กวีต่างๆติดอยู่บนพื้นผิวลูกโป่ง (ตามการทดลองนี้) ไม่ว่าคุณจะอยู่ในกาแล็กซีใดก็ตาม ทุกกาแล็กซีอื่นๆจะเคลื่อนหนีห่างออกจากกาแล็กซีที่คุณอยู่ในนั้น (สังเกตจากตอนลูกโป่งที่ใช้จำลองแทนเอกภพตอนขยายตัว)

เอ็ดวิน ฮับเบิล (Edwin Hubble) เป็นหนึ่งในดาราศาสตร์คนแรกๆที่ได้วัดการเคลื่อนที่ของกาแล็กซี ในปี ค.ศ.1929 จึงเรียกลักษณะการเคลื่อนหนีออกไปของกาแล็กซีต่างๆว่า “กฏของฮับเบิล” (Hubble’s law)

คมู่ อื ครรู ายวชิ าเพม่ิ เตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ๖ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม ๕ ตามผลการเรยี นรู้ กลมุ่ สาระการเรยี นรวู้ ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑

คู่มือครู แราลยะวเทิชคาเโพนโ่ิมลเตยมิี วทิ ยาศาสตร์ โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เล่ม ๕ ตามผลการเรยี นรู้ กลุม่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ จดั ทำ� โดย สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธกิ าร พ.ศ. 2562

ค�านา� สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้รับมอบหมายจากกระทรวง ศึกษาธิการในการพัฒนามาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และยังมีบทบาทหน้าที่ในการรับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดท�าหนังสือเรียน คมู่ อื ครู แบบฝกึ ทกั ษะ กจิ กรรม และสอื่ การเรยี นรตู้ ลอดจนวธิ กี ารจดั การเรยี นรแู้ ละการวดั และประเมนิ ผล เพ่อื ใหก้ ารจัดการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ป็นไปอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ คู่มือครูรายวิชาเพ่มิ เตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ช้นั มธั ยมศึกษา ปีท่ี ๖ เล่ม ๕ น้จี ดั ทา� ขึน้ เพอื่ ประกอบการใชห้ นงั สอื เรียนรายวชิ าเพ่มิ เติมวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ เลม่ ๕ โดยครอบคลมุ เนอื้ หาตามผลการเรยี นรแู้ ละ สาระการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ในสาระโลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ โดยมีตารางวิเคราะห์ผลการเรียนรู้และสาระการเรียนรู้ เพื่อการจัดท�าหน่วยการเรียนรู้ในรายวิชา เพ่ิมเติมวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มแี นวการจดั การเรยี นรู้ การให้ความร้เู พิ่มเตมิ ท่จี �าเป็นสา� หรับครู ผูส้ อน รวมท้งั การเฉลยถามและแบบฝกึ หดั ในหนงั สอื เรยี น สสวท. หวงั เป็นอยา่ งยิง่ วา่ คู่มอื ครเู ล่มนี้จะเป็นประโยชนต์ ่อการจัดการเรียนรู้ และเป็นสว่ นส�าคญั ในการพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขอขอบคุณผู้ทรงคุณวุฒิบุคลากรทางการศึกษาและหน่วยงานต่าง ๆ ที่มีส่วนเก่ียวข้องในการจัดท�าไว้ ณ โอกาสนี้ (ศาสตราจารย์ชกู ิจ ลมิ ปิจ�านงค์) ผู้อา� นวยการสถาบันส่งเสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธกิ าร

ค�ำชี้แจง สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (สสวท.) ไดจ้ ดั ทำ� ตวั ชว้ี ดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) ตามหลักสูตรแกนกลางการ ศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช ๒๕๕๑ โดยมจี ดุ เนน้ เพอื่ ตอ้ งการพฒั นาผเู้ รยี นใหม้ คี วามรคู้ วามสามารถทท่ี ดั เทยี ม กับนานาชาติ ได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ท่ีเชื่อมโยงความรู้กับกระบวนการ ใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาที่หลากหลายมีการท�ำกิจกรรมด้วยการลงมือปฏิบัติเพื่อให้ผู้เรียนได้ใช้ทักษะกระบวนการ ทางวทิ ยาศาสตร์ และทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี ๒๑ ซง่ึ ในปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๑ เปน็ ตน้ ไปโรงเรยี นจะตอ้ งใชห้ ลกั สตู ร กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๐) สสวท. ได้มีการจัดท�ำ หนงั สอื เรยี นทเี่ ปน็ ไปตามมาตรฐานหลกั สตู รเพอ่ื ใหโ้ รงเรยี นไดใ้ ชส้ ำ� หรบั จดั การเรยี นการสอนใน ชน้ั เรยี น และ เพอ่ื ใหค้ รผู ู้สอนสามารถสอนและจัดกิจกรรมตา่ ง ๆ ตามหนังสือเรยี นไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ จึงได้จัดทำ� คู่มอื ครูสำ� หรับใช้ประกอบหนังสอื เรียนดงั กล่าว คมู่ อื ครรู ายวิชาเพ่มิ เติมวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๖ เลม่ ๕ นี้ ไดบ้ อกแนวการจดั การเรยี นการสอนตามเนอ้ื หาในหนงั สอื เรยี นประกอบดว้ ยเรอ่ื งเอกภพและกาแลก็ ซี ดาวฤกษ์ ระบบสุริยะ และเทคโนโลยีอวกาศ ซ่ึงครูผู้สอนสามารถน�ำไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผน การจัดการเรียนรู้ให้บรรลุจุดประสงค์ท่ีต้ังไว้ โดยสามารถน�ำไปจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม และความพร้อมของโรงเรียน ในการจัดท�ำคู่มือครูเล่มน้ีได้รับความร่วมมือเป็นอย่างดียิ่งจากผู้ทรงคุณวุฒิ นกั วิชาการอิสระ คณาจารย์ รวมทัง้ ครูผ้สู อน นักวิชาการ จากทงั้ ภาครฐั และเอกชน จึงขอขอบคณุ มา ณ ท่ีนี้ สสวท. หวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่ คมู่ อื ครรู ายวชิ าเพมิ่ เตมิ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๖ เลม่ ๕ น้ี จะเปน็ ประโยชนแ์ กผ่ สู้ อน และผทู้ เ่ี กย่ี วขอ้ งทกุ ฝา่ ย ทจี่ ะชว่ ยใหก้ ารจดั การศกึ ษา ด้านวิทยาศาสตร์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ หากมีข้อเสนอแนะใดที่จะท�ำให้คู่มือครูเล่มนี้มีความสมบูรณ์ย่ิงขึ้น โปรดแจง้ สสวท. ทราบดว้ ย จะขอบคณุ ยงิ่ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ

ข้อแนะนำ� ทว่ั ไปในการใชค้ ู่มือครู วทิ ยาศาสตรม์ คี วามเกย่ี วขอ้ งกบั ทกุ คนทง้ั ในชวี ติ ประจำ� วนั และการงานอาชพี ตา่ ง ๆ รวมทง้ั มบี ทบาท สำ� คัญในการพัฒนาผลผลติ ต่าง ๆ ทใี่ ช้ในการอ�ำนวยความสะดวกท้ังในชวี ติ และการท�ำงาน นอกจาก น้ีวิทยาศาสตร์ยังช่วยพัฒนาวิธีคิดและท�ำให้มีทักษะท่ีจ�ำเป็นในการตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างเป็น ระบบ การจดั การเรยี นรเู้ พอ่ื ใหน้ กั เรยี นมคี วามรแู้ ละทกั ษะทสี่ ำ� คญั ตามเปา้ หมายของการจดั การเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์จึงมคี วามสำ� คัญยิง่ ซง่ึ เปา้ หมายของการจดั การเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ มดี ังนี้ 1. เพือ่ ให้เขา้ ใจหลักการและทฤษฎที ่เี ปน็ พน้ื ฐานของวิชาวิทยาศาสตร์ 2. เพื่อให้เกิดความเข้าใจในลกั ษณะ ขอบเขต และข้อจำ� กดั ของวิทยาศาสตร์ 3. เพ่ือใหเ้ กดิ ทกั ษะทสี่ �ำคัญในการศกึ ษาค้นคว้าและคิดค้นทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4. เพอื่ พฒั นากระบวนการคดิ และจนิ ตนาการ ความสามารถในการแกป้ ญั หาและการจดั การทกั ษะ ในการสอ่ื สารและความสามารถในการตัดสินใจ 5. เพอื่ ใหต้ ระหนกั ถงึ ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี มวลมนษุ ย์ และสภาพแวดลอ้ ม ในเชงิ ที่มอี ิทธพิ ลและผลกระทบซงึ่ กนั และกัน 6. เพ่ือน�ำความรู้ความเข้าใจเรื่องวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและ การดำ� รงชีวิตอย่างมคี ณุ คา่ 7. เพอ่ื ใหม้ จี ติ วทิ ยาศาสตร์ มคี ณุ ธรรม จรยิ ธรรม และคา่ นยิ มในการใชค้ วามรทู้ างวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ ง สรา้ งสรรค์ คู่มือครูเป็นเอกสารท่ีจัดท�ำข้ึนควบคู่กับหนังสือเรียน ส�ำหรับให้ครูได้ใช้เป็นแนวทางในการจัดการ เรียนรู้เพื่อให้นักเรียนได้รับความรู้และมีทักษะท่ีส�ำคัญตามจุดประสงค์การเรียนรู้ในหนังสือเรียน ซึ่ง สอดคล้องกบั ผลการเรยี นรู้ รวมท้งั มีส่อื การเรยี นรู้ในเวบ็ ไซตท์ สี่ ามารถเชือ่ มโยงไดจ้ าก QR code หรือ URL ท่ีอยู่ประจ�ำแต่ละบท ซ่ึงครูสามารถใช้ส่งเสริมให้นักเรียนบรรลุเป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ได้ อย่างไรก็ตามครูอาจพิจารณาดัดแปลงหรือเพิ่มเติมการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ บรบิ ทของแต่ละหอ้ งเรียนได้ โดยคู่มอื ครูมอี งคป์ ระกอบหลักดังตอ่ ไปน้ี ผลการเรยี นรู้ ผลการเรียนรู้เป็นผลลัพธ์ที่ควรเกิดกับนักเรียนท้ังด้านความรู้และทักษะซึ่งช่วยให้ครูได้ทราบเป้า หมายของการจดั การเรยี นรใู้ นแตล่ ะเนอ้ื หาและออกแบบกจิ กรรมการเรยี นรใู้ หส้ อดคลอ้ งกบั ผลการเรยี นรไู้ ด้ ทงั้ นคี้ รอู าจเพมิ่ เตมิ เนอื้ หาหรอื ทกั ษะตามศกั ยภาพของนกั เรยี น รวมทง้ั อาจสอดแทรกเนอ้ื หาทเี่ กย่ี วขอ้ ง กับท้องถิน่ เพ่ือใหน้ ักเรียนมีความรู้ความเข้าใจมากขน้ึ ได้ การวเิ คราะห์ผลการเรยี นรู้ การวเิ คราะหค์ วามรู้ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 และจติ วทิ ยาศาสตร์ ท่เี กีย่ วข้องในแตล่ ะผลการเรยี นรู้ เพ่ือใชเ้ ป็นแนวทางในการจดั การเรียนรู้

ผงั มโนทศั น์ แผนภาพทีแ่ สดงความสมั พันธ์ระหว่างความคดิ หลกั ความคดิ รอง และความคดิ ย่อย เพอ่ื ช่วยให้ครู เหน็ ความเช่ือมโยงของเนอื้ หาภายในบทเรียน สาระสำ� คัญ การสรุปเนอื้ หาส�ำคญั ของบทเรียน เพ่ือชว่ ยให้ครเู ห็นกรอบเน้ือหาทงั้ หมด รวมท้ังลำ� ดบั ของเนือ้ หา ในบทเรียนนนั้ เวลาที่ใช้ เวลาที่ใชใ้ นการจดั การเรยี นรู้ ซ่ึงครอู าจด�ำเนนิ การตามขอ้ เสนอแนะทกี่ ำ� หนดไว้ หรอื อาจปรบั เวลา ได้ตามความเหมาะสมกบั บรบิ ทของแตล่ ะห้องเรยี น ความรู้ก่อนเรยี น ค�ำสำ� คญั หรือขอ้ ความที่เป็นความรพู้ ืน้ ฐาน ซึ่งนักเรยี นควรมีกอ่ นทจ่ี ะเรียนร้เู นื้อหาในบทเรียนนั้น ตรวจสอบความรูก้ ่อนเรยี น ชุดค�ำถามและเฉลยที่ใช้ในการตรวจสอบความรู้ก่อนเรียนตามที่ระบุไว้ในหนังสือเรียน เพื่อให้ครูได้ ตรวจสอบและทบทวนความร้ใู ห้นักเรียนก่อนเร่ิมกิจกรรมการจดั การเรียนร้ใู นแต่ละบทเรยี น การจดั การเรยี นรู้ การจดั การเรยี นรใู้ นแตล่ ะหวั ขอ้ อาจมอี งคป์ ระกอบแตกตา่ งกนั โดยรายละเอยี ดของแตล่ ะองคป์ ระกอบ เป็นดงั น้ี • จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ เป้าหมายของการจัดการเรียนรู้ที่ต้องการให้นักเรียนเกิดความรู้หรือทักษะหลังจากผ่านกิจกรรม การจดั การเรยี นรใู้ นแตล่ ะหวั ขอ้ ซง่ึ สามารถวดั และประเมนิ ผลได้ ทง้ั นค้ี รอู าจตง้ั จดุ ประสงคเ์ พมิ่ เตมิ จาก ทใ่ี หไ้ ว้ ตามความเหมาะสมกบั บริบทของแตล่ ะหอ้ งเรียน • ความเข้าใจคลาดเคล่อื นที่อาจเกิดขึน้ เนื้อหาที่นักเรียนอาจเกิดความเข้าใจคลาดเคลื่อนท่ีพบบ่อย ซึ่งเป็นข้อมูลให้ครูได้พึงระวังหรืออาจ เนน้ ยำ�้ ในประเดน็ ดงั กล่าวเพ่ือปอ้ งกันการเกดิ ความเข้าใจทีค่ ลาดเคลื่อนได้ • สอื่ การเรียนรูแ้ ละแหลง่ การเรียนรู้ ส่ือการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรทู้ ีใ่ ชป้ ระกอบการจัดการเรยี นรู้ เช่น บตั รคำ� วดี ิทศั นเ์ วบ็ ไซต์ ซง่ึ ครคู วรเตรยี มลว่ งหนา้ ก่อนเริม่ การจดั การเรยี นรู้ • แนวการจัดการเรยี นรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ โดยมีการน�ำเสนอทั้งในส่วนของ เนื้อหาและกิจกรรมเป็นขั้นตอนอย่างละเอียด ทั้งน้ีครูอาจปรับหรือเพิ่มเติมกิจกรรมจากท่ีให้ไว้ ตาม ความเหมาะสมกับบรบิ ทของแตล่ ะห้องเรียน

• กจิ กรรม การปฏบิ ตั ทิ ช่ี ว่ ยในการเรยี นรเู้ นอื้ หาหรอื ฝกึ ฝนใหเ้ กดิ ทกั ษะตามจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรขู้ องบทเรยี น โดยอาจเปน็ การทดลอง การสาธิต การสบื คน้ ขอ้ มลู หรือกิจกรรมอื่น ๆ ซ่ึงควรใหน้ ักเรียนลงมอื ปฏิบัติ ด้วยตนเอง โดยองคป์ ระกอบของกิจกรรมมรี ายละเอียดดงั น้ี - จุดประสงค์ เปา้ หมายทีต่ ้องการใหน้ ักเรียนเกิดความร้หู รือทักษะหลงั จากผ่านกจิ กรรมนนั้ - วัสดุ และอุปกรณ์ รายการวสั ดุ อปุ กรณ์ หรอื สารเคมี ทตี่ อ้ งใชใ้ นการทำ� กจิ กรรม ซงึ่ ครคู วรเตรยี มใหเ้ พยี งพอสำ� หรบั การจัดกจิ กรรม - การเตรียมลว่ งหนา้ ข้อมูลเกี่ยวกับส่งิ ทีค่ รตู ้องเตรยี มลว่ งหน้าส�ำหรบั การจัดกจิ กรรม เชน่ การเตรียมสารละลายทม่ี ี ความเข้มข้นตา่ ง ๆ การเตรยี มตวั อยา่ งสิ่งมชี ีวติ - ข้อเสนอแนะสำ� หรับครู ขอ้ มลู ทใี่ หค้ รแู จง้ ตอ่ นกั เรยี นใหท้ ราบถงึ ขอ้ ควรระวงั ขอ้ ควรปฏบิ ตั ิ หรอื ขอ้ มลู เพมิ่ เตมิ ในการทำ� กิจกรรมนั้น ๆ - ตวั อยา่ งผลการท�ำกจิ กรรม ตัวอย่างผลการทดลอง การสาธิต การสืบค้นข้อมูล หรือกิจกรรมอื่น ๆ เพ่ือให้ครูใช้เป็นข้อมูล ส�ำหรบั ตรวจสอบผลการทำ� กิจกรรมของนกั เรียน - อภิปรายและสรุปผล ตัวอย่างข้อมูลท่ีควรได้จากการอภิปรายและสรุปผลการท�ำกิจกรรม ซ่ึงครูอาจใช้ค�ำถามท้าย กจิ กรรมหรอื คำ� ถามเพมิ่ เตมิ เพอื่ ชว่ ยใหน้ กั เรยี นอภปิ รายในประเดน็ ทต่ี อ้ งการ รวมทงั้ ชว่ ยกระตนุ้ ใหน้ กั เรียนช่วยกันคิดและอภปิ รายถึงปัจจัยต่าง ๆ ทที่ ำ� ให้ผลของกิจกรรมเป็นไปตามท่คี าดหวงั หรืออาจไมเ่ ป็นไปตามทคี่ าดหวงั นอกจากน้ีอาจมีความรู้เพ่ิมเติมส�ำหรับครู เพ่ือให้ครูมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองน้ัน ๆ เพ่ิมขึ้น ซง่ึ ไมค่ วรน�ำไปเพ่ิมเตมิ ให้นกั เรยี น เพราะเปน็ ส่วนทเี่ สริมจากเน้ือหาทม่ี ใี นหนงั สือเรียน

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 5 บทท่ี 13 | เอกภพและกาแลก็ ซี I • แนวทางการวัดและประเมนิ ผล แนวทางการวัดและประเมินผลท่ีสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้ ซึ่งประเมินท้ังด้านความรู้ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 และจิตวิทยาศาสตร์ของนักเรียนท่คี วร เกิดขึ้นหลังจากได้เรียนรู้ในแต่ละหัวข้อ ผลท่ีได้จากการประเมินจะช่วยให้ครูทราบถึงความส�ำเร็จของ การจัดการเรียนรู้ รวมท้ังใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับ นักเรยี น เคร่อื งมือวดั และประเมนิ ผลมอี ยู่หลายรปู แบบ เช่น แบบทดสอบรูปแบบตา่ ง ๆ แบบประเมิน ทักษะ แบบประเมินคุณลักษณะด้านจิตวิทยาศาสตร์ ซึ่งครูอาจเลือกใช้เครื่องมือส�ำหรับการวัดและ ประเมนิ ผลจากเครอ่ื งมอื มาตรฐานทม่ี ผี พู้ ฒั นาไวแ้ ลว้ ดดั แปลงจากเครอ่ื งมอื ทผี่ อู้ น่ื ทำ� ไวแ้ ลว้ หรอื สรา้ ง เคร่อื งมอื ใหม่ขน้ึ เอง ตวั อย่างของเครื่องมือวัดและประเมนิ ผล ดงั ภาคผนวก • เฉลยคำ� ถาม แนวคำ� ตอบ ของคำ� ถามระหวา่ งเรยี นและคำ� ถามทา้ ยบทเรยี นในหนงั สอื เรยี น เพอ่ื ใหค้ รใู ชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการตรวจสอบการตอบค�ำถามของนกั เรยี น - เฉลยค�ำถามระหวา่ งเรียน แนวคำำ�ตอบ ของคำำ�ถามระหว่่างเรีียนซึ่�งมีีทั้�งคำำ�ถามชวนคิิด ตรวจสอบความเข้้าใจ และ แบบฝึึกหััดทั้ �งนี้ �ครููควรใช้้คำำ�ถามระหว่่างเรีียนเพื่ �อตรวจสอบความรู้ �ความเข้้าใจของนัักเรีียนก่่อน เริ่�มเนื้�อหาใหม่่ เพื่�อให้้สามารถปรัับการจัดั การเรีียนรู้�ให้เ้ หมาะสมต่่อไป - เฉลยคำำ�ถามท้้ายบทเรียี น แนวคำ� ตอบ ของแบบฝึกหัดทา้ ยบท ซึง่ ครคู วรใชค้ �ำถามท้ายบทเรียนเพอ่ื ตรวจสอบว่าหลังจาก เรียนจบบทเรียนแล้ว นักเรียนยังขาดความรู้ความเข้าใจในเร่ืองใด เพื่อให้สามารถวางแผนการ ทบทวนหรือเนน้ ย้ำ� เนอ้ื หาใหก้ บั นักเรยี นกอ่ นการทดสอบได้ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

สารบัญ บทที่ เนือ้ หา หนา้ 13 บทท่ี 13 เอกภพและกาแลก็ ซี 1 การวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ 2 เอกภพและกาแลก็ ซี ผังมโนทัศน์ 3 ลำ� ดับแนวความคิดตอ่ เน่ือง 4 สาระส�ำคญั 5 เวลาทใ่ี ช้ 5 เฉลยตรวจสอบความรกู้ อ่ นเรยี น 6 13.1 กำ� เนดิ และวิวัฒนาการของเอกภพ 7 เฉลยกจิ กรรม 13.1 กำ� เนดิ และววิ ฒั นาการของเอกภพ 8 แนวทางการวดั และประเมนิ ผล 13 13.2 หลักฐานทส่ี นับสนุนทฤษฎบี ิกแบง 14 เฉลยกิจกรรม 13.2 แบบจ�ำลองการขยายตัวของเอกภพ 14 เฉลยกจิ กรรม 13.3 ความเรว็ ในการเคลอื่ นทข่ี องกาแลก็ ซ ี 20 แนวทางการวัดและประเมินผล 23 13.3 กาแลก็ ซแี ละกาแลก็ ซีทางชา้ งเผือก 25 เฉลยกิจกรรม 13.4 กาแล็กซีทางชา้ งเผอื ก 25 เฉลยกจิ กรรม 13.5 การปรากฏของทางช้างเผอื ก 28 แนวทางการวดั และประเมินผล 31 เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบท 32

สารบญั เนือ้ หา หนา้ บทท่ี บทท่ี 14 ดาวฤกษ์ 35 การวิเคราะห์ผลการเรยี นรู้ 36 14 ผังมโนทศั น์ 38 ล�ำดบั แนวความคดิ ตอ่ เน่อื ง 39 ดาวฤกษ์ สาระส�ำคญั 40 เวลาท่ใี ช้ 40 เฉลยตรวจสอบความรกู้ ่อนเรยี น 40 14.1 สมบัติของดาวฤกษ์ 41 14.1.1 ความสอ่ งสวา่ งและโชติมาตรของดาวฤกษ์ 41 เฉลยกิจกรรม 14.1 ปัจจัยทส่ี ่งผลต่อความสวา่ ง 43 ของหลอดไฟฟา้ 49 เฉลยกจิ กรรม 14.2 การหาระยะทางของวตั ถโุ ดย 57 ใชห้ ลกั การแพรัลแลกซ์ 58 แนวทางการวัดั และประเมินิ ผล 58 14.1.2 สี อณุ หภมู ิผวิ และชนดิ สเปกตรัมของดาวฤกษ์ 62 เฉลยกจิ กรรม 14.3 สี อณุ หภูมผิ วิ และชนิด 63 สเปกตรมั ของดาวฤกษ์ 63 แนวทางการวัดั และประเมิินผล 67 14.1.3 แผนภาพเฮิร์ตซปรงุ -รัสเซลล์ 70 เฉลยกิจกรรม 14.4 แผนภาพเฮริ ์ตซปรงุ -รสั เซลล์ 70 แนวทางการวััดและประเมิินผล 73 14.2 กำ� เนิดและวิวัฒนาการของดาวฤกษ์ 73 14.2.1 ก�ำเนิดดาวฤกษ์ 74 แนวทางการวัดั และประเมิินผล 79 14.2.2 ววิ ัฒนาการของดาวฤกษ์ 82 เฉลยกจิ กรรม 14.5 ววิ ัฒนาการของดาวฤกษ์ แนวทางการวััดและประเมิินผล เฉลยแบบฝึกหดั ทา้ ยบท

สารบญั เน้ือหา หน้า บทที่ บทที่ 15 ระบบสุรยิ ะ 88 การวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ 185 ผังมโนทัศน์ 89 ลำ� ดบั แนวความคดิ ตอ่ เน่อื ง 90 ระบบสุรยิ ะ สาระสำ� คัญ 91 เวลาทใ่ี ช้ 92 เฉลยตรวจสอบความรกู้ อ่ นเรยี น 92 15.1 ก�ำเนิดระบบสรุ ิยะและการแบ่งเขตบรวิ ารของดวงอาทติ ย์ 92 เฉลยกิจกรรม 15.1 ก�ำเนดิ ระบบสรุ ยิ ะ 94 เฉลยกิจกรรม 15.2 เขตเอ้อื ชวี ิต 95 แนวทางการวััดและประเมิินผล 101 15.2 การโคจรของดาวเคราะห์ 105 เฉลยกิจกรรม 15.3 กฎเคพเลอร์ 105 แนวทางการวััดและประเมินิ ผล 106 15.3 โครงสร้างและปรากฏการณ์บนดวงอาทติ ย์ 110 เฉลยกจิ กรรม 15.4 โครงสร้างดวงอาทิตย์ 110 เฉลยกจิ กรรม 15.5 ผลของลมสรุ ยิ ะและพายรุ สรุ ยิ ะทมี่ ตี อ่ โลก 112 แนวทางการวัดและประเมินผล 116 เฉลยแบบฝึกหดั ท้ายบท 118 120

สารบัญ บทท่ี เน้อื หา หนา้ 186 บทที่ 16 เทคโนโลยีอวกาศและการประยกุ ต์ใช้ 122 การวเิ คราะหผ์ ลการเรยี นร้ ู 123 เทคโนโลยอี วกาศและ ผังมโนทศั น ์ 124 การประยุกต์ใช้ ลำ� ดับแนวความคิดต่อเนอ่ื ง 125 สาระส�ำคญั 126 เวลาท่ีใช้ 126 เฉลยตรวจสอบความรู้ก่อนเรยี น 126 16.1 เทคโนโลยีอวกาศกับการส�ำรวจอวกาศ 127 เฉลยกิจกรรม 16.1 กล้องโทรทรรศนท์ ใ่ี ช้ศึกษาวตั ถทุ อ้ งฟ้า ในช่วงความยาวคลน่ื ตา่ ง ๆ 129 แนวทางการวััดและประเมินิ ผล 135 16.2 เทคโนโลยอี วกาศกับการประยุกต์ใช้ 136 เฉลยกิจกรรม 16.2 เทคโนโลยอี วกาศกบั การประยกุ ตใ์ ช้ใน ชวี ติ ประจำ� วัน 140 แนวทางการวดั และประเมินผล 142 เฉลยแบบฝึกหัดทา้ ยบท 143

โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 5 บทท่ี 13 | เอกภพและกาแลก็ ซี 1 13บทท่ี | เอกภพและกาแลก็ ซี (The Universe and Galaxies) ipst.me/10869 ผลการเรยี นรู้ 1. อธบิ ายกำ� เนดิ และการเปลย่ี นแปลงพลงั งาน สสาร ขนาด อณุ หภมู ขิ องเอกภพหลงั เกดิ บกิ แบงในชว่ ง เวลาต่าง ๆ ตามวิวฒั นาการของเอกภพ 2. อธิบายหลักฐานท่ีสนับสนุนทฤษฎีบิกแบงจากความสัมพันธ์ระหว่างความเร็วกับระยะทางของ กาแลก็ ซี รวมท้ังขอ้ มลู การค้นพบไมโครเวฟพืน้ หลังจากอวกาศ 3. อธิบายโครงสร้างและองค์ประกอบของกาแล็กซีทางช้างเผือก และระบุต�ำแหน่งของระบบสุริยะ พร้อมอธิบายเชอื่ มโยงกบั การสงั เกตเหน็ ทางช้างเผอื กของคนบนโลก สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

2 บทท่ี 13 | เอกภพและกาแล็กซี โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เลม่ 5 บทท่ี 14 | ดาวฤกษ์ 37 ทกั ษะกระบวนการทาง ทกั ษะแหง่ ศตวรรษท่ี 21 จติ วทิ ยาศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 1. การหาความสัมพันธ์ของ 1. การสื่อสารสารสนเทศและ 1. การใช้วิจารณญาณ สเปซกับเวลา การรู้เทา่ ทันสื่อ 2. ความใจกว้าง 2. การใชจ้ ำ� นวน 2. ความร่วมมือ การท�ำงาน 3. ความอยากรอู้ ยากเหน็ 3. การสังเกต เปน็ ทมี และภาวะผูน้ ำ� 4. การเหน็ คณุ คา่ ทางวทิ ยาศาสตร์ 3. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ 5. ความสนใจในวิทยาศาสตร์ และการแกป้ ัญหา สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี