อิทธิพลภาษาต่างประเทศในภาษาไทย PDF

        ตัวอย่างคำที่ยืมมาจากภาษาทมิฬได้แก่คำว่า  กะไหล่  กุลี  กานพลู  กำมะหยี่ จงกลนี ตรียัมปวาย ปะวะหล่ำอาจาด  กะละออม   กะหรี่ (แกงแขกชนิดหนึ่ง)   ตัวอย่างคำที่ยืมมาจากภาษามลายู  ได้แก่คำว่า กว้าน พลาย เพลาะ   ฝาละมี   กำมะลอ   สะบ้า   สมิง   กระแจะ   ตวัก  

อิทธิพล
ภาษาต่างประเทศใน

ภาษาไทย

อิทธิพล
ภาษาต่างประเทศในภาษาไทย

การยืมคำภาษาต่างประเทศมาใช้ในภาษาไทย
ทำให้ภาษาไทยมีคำใช้มากขึ้น เป็นการแสดงให้เห็นว่า
คนไทยมีความเปิดกว้าง เรียบง่าย และยืดหยุ่น
สามารถนำคำภาษาอื่นมาใช้ได้โดยไม่ต้องมาคิดสร้าง
คำใหม่

ซึ่งสาเหตุที่ทําให้ภาษาต่างประเทศเข้ามาปะปนใน
ภาษาไทย ได้แก่ สภาพทางภูมิศาสตร์ คือการมี
อาณาเขตใกล้เคียงกันทําให้มีการติดต่อสื่อสารสารกัน
โดยการเจริญสัมพันธไมตรีระหว่างประเทศ การติดต่อ
ค้าขายระหว่างกัน และการรับเอาวัฒนธรรมประเพณี
และความคิดความเชื่อทางศาสนาจึงมีการยืมคำใน
ภาษาต่างๆมาใช้มากมายเช่นภาษาเขมร จีน พม่า
ชวา บาลี สันสกฤต อังกฤษเป็นต้น

คำยืมจากภาษาบาลีและสันสกฤต

คำยืมจากภาษาบาลีและสันสกฤต

มีอิทธิพลต่อประเทศไทยอย่าง
มาก ซึ่งภาษาบาลีสันสกฤตที่นำมา
ใช้ในภาษาไทยอย่างแพร่หลาย ไม่
ว่าจะเป็น คำราชาศัพท์ ใช้กับพระ
สงฆ์ ใช้ในการเขียนวรรณคดี ร้อย
แก้วและร้อยกรองใช้เป็นชื่อเฉพาะ
ชื่อวัน เดือน หรือแม้กระทั่งคำ
ทั่วไปในชีวิตประจำวัน

ภาษาบาลีและสันสกฤตมีข้อแตกต่างหลายประการ
เช่น
- ภาษาบาลีมีสระ 8 เสียง ภาษาสันสกฤตมีสระ

14 เสียง

- ตัวอักษร “ศ และ ษ” ที่ไม่มีในบาลี
- ภาษาบาลีไม่นิยมควบกล้ำ / ภาษาสันสกฤตนิยมคำควบ
กล้ำ

คคำำยยืืมมจจาากกภภาาษษาาบบาาลลีีแแลละะ
สสัันนสสกกฤฤตต ((ตต่่ออ))

วิธีสังเกตคําภาษาไทยจากภา

าบาลี สันสกฤต

- ตัวสะกด คือ พยัญชนะที่ประกอบอยู่ข้างท้ายสระประสม
กับสระและพยัญชนะต้น เช่น ทุกข์ = ตัวสะกด
-ตัวตาม คือ ตัวที่ตามหลังตัวสะกด เช่น สัตย สัจจ ทุกข
เป็นต้น คำในภาษาบาลี จะต้องมีตัวสะกดและตัวตามเสมอ
-สังเกตจากพยัญชนะ “ฬ” จะมีใช้ในภาษาบาลีในไทย
เท่านั้น เช่น จุฬา ครุฬ อาสาฬห์ วิฬาร์ โอฬาร์ พาฬ
เป็นต้น

ตัวอย่างภาษาสันสกฤต ตัวอย่างคำภาษาบาลี

กษัตริย์ อัศวะ ขรรค์ กิจ ทัณฑ์ ยาน มัชฌิม
คฤหัสถ์ บริบูรณ์ อธิษฐาน พิมพ์ ขัณฑ์ ขันธ์ ขัตติยา
สวรรค์ ศึกษา วิทยุ นิตย์ บุญ นิพพาน วิชา วุฒิ
ทฤษฎี ปราโมทย์ ไอศวรรย์ สามัญ อัคคี สัญญาณ
จักร อาศัย ปราศรัย วิเศษ มัจฉา มเหสี อุตุ อักขร
มรรค มัธยม สถาปนา อัชฌาศัย ขณะ ปัจจุบัน
ปรัชญา อมฤต สถาน จักษุ อิตถี อัตถุ อัจฉรา ภริยา
รัศมี ภรรยา บุษบา กัลป์ อิทธิ ปกติ วิตถาร ปัญญา
ราษฎร บุญย ศรี กัญญา กัป

คำยืมจาก

ภาษาเขมร มีลักษณะ ดังต่อไปนี้

- มักใช้เป็นคำราชาศัพท์ เช่น เสวย
เขนย ถวาย ขนง โปรด ตรัส
- คำเขมรที่ใช้ในคำสามัญทั่วไป เช่น
กระบือ กระบาล (กบาล) โตนด โขมด
จมูก เสนียด ฯลฯ
- เป็นคำโดดคล้ายกับภาษาไทยวิธีที่
สังเกตได้ว่าเป็นคำเขมรต้องแปลความหมาย
ก่อนจึงจะเข้าใจ เช่น แข (ดวงจันทร์)
บาย (ข้าว) เมิล (มอง) ศก (ผม) ฯลฯ

ข้อสังเกตคำที่มาจากภาษาเขมร

1.มักสะกดด้วยพยัญชนะ จ ญ ร ล ส เช่น
เสร็จ บังเอิญ จร สรวล จรัส
2. มักเป็นศัพท์พยางค์เดียวที่ต้องแปลความ
หมาย
3. มักเป็นศัพท์ที่ใช้พยัญชนะควบกล้ำ หรือ
มีอักษรนำ
4. มักแผลงคำได้
การใช้คำเติมหน้าและคำเติมตรงกลางใน

ภาษาเขมร

คำเขมรนิยมใช้คำเติมหน้าเพื่อให้เกิดคำใหม่
เช่น คำว่า กำ กับ บัง เป็น กำบัง บัง กับ
อาจ เป็น บังอาจ เป็นต้น

คำเขมรนิยมใช้คำเติมตรงกลางเพื่อให้
เกิดคำใหม่ด้วย เช่น เติม อำ ในคำว่า
กราบ จะกลายเป็น กำราบ เติม อำในคำ
ว่าเฉพาะ จะกลายเป็น จำเพาะ เป็นต้น

ภาษาจีน เข้ามาตั้งแต่สมัยกรุง คำยืมจาก
สุโขทัยเหตุเพราะชาวจีนเข้า
มาค้าขายแลกเปลี่ยนศิลปะ ภาษาจีน
รวมถึงย้ายมาตั้งถิ่นฐานใน
สยาม ภาษาจีนจึงเข้ามา
ปะปนกับภาษาไทย จนมีคำ
ศัพท์จากภาษาจีนที่คนไทยใช้
จนเป็นปกติและยากที่จะหาคำ
อื่นมาแปลได้

หลักการสังเกตคำภาษาไทยที่มาจากภาษาจีน

- เป็นชื่ออาหารการกิน เช่น ก๋วยเตี๋ยว เต้าทึง
แป๊ะซะ เฉาก๊วย จับฉ่าย เป็นต้น
- เป็นคำที่เกี่ยวกับสิ่งของเครื่องใช้ที่มาจากชาว
จีน เช่น ตะหลิว ตึก เก้าอี้ เก๋ง ฮวงซุ้ย
- เป็นคำที่เกี่ยวกับการค้า เช่น เจ๊ง หุ้น ห้าง
โสหุ้ย เป็นต้น
- เป็นคำที่ใช้วรรณยุกต์ตรี จัตวา เป็นส่วนมาก
เช่น ก๋วยจั๊บ กุ๊ย เก๊ เก๊ก ก๋ง ตุ๋น เป็นต้น

ตัวอย่างคำยืมที่มาจากภาษาจีน

กงสี กงฉิน กงไฉ่ กงเต็ก ก๋วยเตี๋ยว ก๋วย
จั๊บ เกี๊ยว เกี๊ยะ ขาก๊วย เข่ง จับกัง
จับฉ่าย จับยี่กี จันอับ เจ๊ง เจี๋ยน เจ
เฉาก๊วย เซ้ง เซียน แซ่ แซยิด เซ็งลี้
ตะหลิว เต๋า ตุน ตุ๋น แต๊ะเอีย เต้าเจี้ยว
โต๊ะ ไต้ก๋ง ตังเก บ๊วย บะฉ่อ บะหมี่ บู๊
ปุ้งกี๋ ปอเปี๊ยะ แป๊ะเจี๊ยะ พะโล้ เย็นตาโฟ
หวย ยี่ห้อ ลิ้นจี่ ห้าง หุ้น เอี๊ยม ฯลฯ

ภาษาอังกฤษ

เข้ามามีอิทธิพลต่อชีวิตของคนไทย คคำยืม
ทั้งในด้านการพูด และการเขียนสื่อสารใน
ชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะในปัจจุบันคน จาก
ไทยศึกษาความรู้ และวิทยาการต่างๆ ภภาษา
จากตำราภาษาอังกฤษ และสนใจเรียนรู้ ออัังงกฤษ
ภาษาอังกฤษกันมากขึ้น คำยืมจากภาษา
อังกฤษจึงหลั่งไหลเข้ามาในภาษาไทยมาก
ขึ้นทั้งในวงการศึกษา ธุรกิจ การเมือง
การบันเทิง เป็นต้น

อย่างไรก็ตามภาษาไทยรับภาษา
อังกฤษมาใช้ในรูปแบบของการทับศัพท์
เท่านั้น

การทับศัพท์ หมายถึง การถ่ายเสียง
และถอดตัวอักษรเป็นภาษาไทย

ตัวอย่างคำทับศัภพาท์ษภา

าไษทายอังกฤษที่มีใช้ใน

กราฟ กลูโคส กัปตัน แก๊ส คริสต์มาส
ไดโนเสาร์ คลินิก คอนเสิร์ต

คอมพิวเตอร์ เคเบิล เครดิต แคปซูล
โควตา ชอล์ก ช็อกโกเลต เช็ค
ดอลลาร์ ดีเปรสชัน เต็นท์ ฯลฯ

คำชยวืมา-จมาลกาภยาูษา เข้ามามีอิทธิพลตั้งแต่สมัยสุโขทัย
เนื่องจากขยายอาณาเขตออกไปสุด
แหลมมลายู และจังหวัดในเขต
ชายแดนภาคใต้ของไทยก็มีคนเชื้อสาย
มลายูอยู่จำนวนมากซึ่งถือเป็นเหตุอัน
สำคัญที่ทำให้ไทยรับภาษาของมลายูเข้า
มาใช้ ส่วนหนึ่งใช้เฉพาะจังหวัด
ชายแดนภาคใต้ แต่อีกส่วนหนึ่งเป็นคำ
ที่ใช้โดยทั่วไปในภาษาไทย

หลักการสังเกตคำภาษาไทยที่มาจากภาษา
ชวา-มลายู

- มักใช้ในการแต่งคำประพันธ์ เช่น
บุหรง บุหลัน ระตู ปาหนัน ตุนาหงัน
เป็นต้น

- ใช้สื่อสารในชีวิตประจำวัน เช่น
กัลปังหา กุญแจ กระดังงา ซ่าหริ่ม ประทัด
เป็นต้น

- นำมาใช้ในความหมายคงเดิม เช่น
ทุเรียนน้อยหน่า บุหลัน เป็นต้น

ตัวอย่
างคำภาษาชวา-มลายูในภาษาไทย

กะพง กระจูด กะลาสี กระยาหงัน (สวรรค์)
กะละปังหา จับปิ้ง จำปาดะ ตลับ ทุเรียน บูดู ปาเต๊ะ มังคุด
หนัง ยะลา เบตง น้อยหน่า กริช กิดาหยัน (มหาดเล็ก)
กุหนุง (เขาสูง) กุญแจ การะบุหนิง (ดอกแก้ว) กระดังงา
อิเหนา อังกะลุง อสัญแดหวา (เทวดา) ตุนาหงัน (คู่หมั้น)

คำยืมที่มาจากภาษา
อื่นๆ ในภาษาไทย

ภาษาทมิฬ เช่น กุลี กานพลู กำมะหยี่
จงกลนี ตรียัมปวาย เป็นต้น

ภาษาเปอร์เซีย เช่น กากี กาหลิบ กุหลาบ

คาราวาน เป็นต้น

กั้นห

ยั่น

ภาษาอาหรับ เช่น
กะลาสี การบูร
ฝิ่น โก้หร่าน เป็นต้น

กฟอูิจช


ภาซษา

ามูญไี่รปุ่นเทเมช่ปนุระเ
า กิโมโน คาราเต้
สุกี้ยากี้ เป็นต้น

ภาษาโปรตุเกส เช่น สบู่ กัมปะโด เหปิ่รนียโญต

กะละแม กะละมัง บาทหลวง ปัง
เป็นต้น

ภา
ษาฝรั่งเศส เช่น กง
สุล กาสิโน กิโยติน
ภาษาพม่า เช่น ห
แชม่

มอเงปญกะปอิอเส่ดิวร์ยฟเป็คนูป

ต้อนง เปตอง ปาร์เกต์
ภาษามอญ เช่น มะ เม้
ย เปิงมาง ประเคน

จัดทำโดย

1.นางสาวสิรี โคตรดำรงค์ ม.6/1 เลขที่ 3
2.นายปัณวรรธน์ จันทร์เพ็ญ ม.6/1 เลขที่ 7
3.นายธนานนท์ มากเทพวงศ์ ม.6/1 เลขที่ 10
4.นายภัทรดนัย ยารังษี ม.6/1 เลขที่ 14
5.นางสาว ศศิวิมล เชิงหอม ม.6/1 เลขที่ 19
6.นายทิวัตถ์ เสวะนา ม.6/1 เลขที่ 20
7.นางสาวนันทิพร สมัยวิจิตรกร ม.6/1 เลขที่ 25
8.นางสาวสตพร ฟักน้อย ม.6/1 เลขที่ 28
9.นางสาวพัสมนตร์ รัศมีอมรธัญ ม.6/1 เลขที่ 36
10.นายปรมินทร์ สัมฤทธิ์ ม.6/1 เลขที่ 40
11.นางสาวปภาวรินทร์ เทียกสีบุญ ม.6/1 เลขที่ 44