ตัวอย่าง กิจการที่ไม่มีส่วน ได้เสีย สาธารณะ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความรู้ความเข้าใจมาตรฐานรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs) ของผู้ทำบัญชีในธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีความสัมพันธ์กับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs) ของผู้ทำบัญชีในธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมเก็บข้อมูลด้วยเครื่องมือแบบสอบถาม จำนวนกลุ่มตัวอย่าง 220 คน ผลการศึกษาพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับมาตรฐานรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะในระดับปานกลาง และปัจจัยส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ อายุ วุฒิการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และชั่วโมงการพัฒนาความรู้ต่อเนื่องทางวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับความรู้ความเข้าใจมาตรฐานรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาทำให้พบว่า ผู้ทำบัญชีควรพัฒนาความรู้ความเข้าใจของตนเองอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะมาตรฐานบัญชีที่ยังมีระดับความรู้น้อย ทั้งการศึกษาต่อในระดับสูงขึ้นโดยเฉพาะกลุ่มผู้ทำบัญชีที่จบการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) เจ้าของกิจการหรือหัวหน้าของผู้ทำบัญชีควรส่งเสริมและสนับสนุนให้ผู้ทำบัญชีเข้ารับการอบรมสัมนา รวมทั้งสภาวิชาชีพบัญชีฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรจัดหลักสูตรอบรมโดยเฉพาะทั้งภาคทฤษฎีและการปฏิบัติมีการจัดทำคู่มือเพิ่มเติมหรือตัวอย่างประกอบในมาตรฐานการรายงานทางการเงิน และการจัดอบรมหลักสูตรออนไลน์

username/password ไม่ถูกต้อง กรุณาทำการกรอกใหม่

session ของการเข้าสู่ระบบได้สิ้นสุดแล้ว กรุณา reload หน้าเว็บอีกครั้งและเข้าสู่ระบบใหม่อีกครั้ง

ท่านได้เข้าสู่ระบบอยู่แล้ว กรุณาออกจากระบบก่อนหากท่านต้องการเปลี่ยน user

มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการ NPAEs

ตัวอย่าง กิจการที่ไม่มีส่วน ได้เสีย สาธารณะ

มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ
(์TFRS for NPAEs)


...กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs) คือใคร ?...

(อ้างอิงย่อหน้าที่ 6)
กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entities - NPAEs) หมายถึง กิจการที่ไม่ใช่ กิจการดังต่อไปนี้ 

  1. กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหนี้ของกิจการ ซึ่งมีการซื้อขายต่อประชาชน ไม่ว่าจะเป็นตลาดหลักทรัพย์ในประเทศหรือต่างประเทศ หรือการซื้อขายนอกตลาดหลักทรัพย์ (Over the Counter) รวมทั้งตลาดในท้องถิ่นและในภูมิภาค หรือกิจการที่นําส่งหรืออยู่ในกระบวนการของการนําส่งงบการเงินของกิจการให้แก่สํานักงานคณะกรรมการกํากับหลักทรัพย์และตลาดหลกทรัพย์หรือหน่วยงานกํากับดูแลอื่น เพื่อวัตถุประสงค์ในการออกขายหลักทรัพย์ใดๆ ต่อประชาชน
  2. กิจการที่ดําเนินธุรกิจหลักในการดูแลสินทรัพย์ของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง เช่น สถาบันการเงิน บริษัทประกันชีวิต บริษัทประกันวินาศภัย บริษัทหลักทรัพย์ กองทุนรวม ตลาดสินค้าเกษตรล่วงหน้าแห่งประเทศไทย ตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น เป็นต้น
  3. บริษัทมหาชน ตามกฎหมายว่าด้วยบริษัทมหาชน
  4. กิจการอื่นที่จะกําหนดเพิ่มเติม
ลำดับเรื่องวันที่มีผลบังคับใช้ดาวน์โหลดมาตรฐานการรายงานทางการเงิน/ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี/คำชี้แจงที่เกี่ยวข้อง1มาตรฐานการรายงานทางการเงิน สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs)1 ม.ค. 2554ดาวน์โหลด2ประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 13/2555 เรื่อง ข้อกำหนดเพิ่มเติมสำหรับการปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ1 ม.ค. 2554ดาวน์โหลด3ประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 14/2555 เรื่อง การปฏิบัติในช่วงเปลี่ยนแปลงของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ1 ม.ค. 2554ดาวน์โหลด4ประกาศสภาวิชาชีพบัญชีที่ 29/2554 เรื่อง คำอธิบายเกี่ยวกับการปฏิบัติตามข้อกาหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ1 ม.ค. 2554ดาวน์โหลด5ประกาศสภาวิชาชีพบัญชี ที่ 42/2563 เรื่อง ข้อกำหนดเพิ่มเติมสำหรับมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะเรื่องที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน1 ม.ค. 2563ดาวน์โหลด6คำชี้แจง เรื่องวิธีปฏิบัติทางบัญชี เกี่ยวกับธุรกรรมการโอนทรัพย์เพื่อชำระหนี้ให้กับสถาบันการเงินตามมาตรการสนับสนุนการรับโอนทรัพย์สินหลักประกันเพื่อชำระหนี้ตามพระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564  กรณีที่ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ -ดาวน์โหลด7มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (ปรับปรุง 2565)
หมายเหตุ: ประกาศลงราชกิจจานุเบกษาแล้ววันที่ 30 พฤศจิกายน 25651 ม.ค. 2566ดาวน์โหลดคำถาม-คำตอบ1คำถาม-คำตอบ: สถานการณ์ COVID-19 สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ และตัวอย่างประกอบทำความเข้าใจการรับรู้รายการทางด้านผู้เช่าและผู้ให้เช่า กรณีการยินยอมลดค่าเช่าเนื่องจากสถานการณ์ COVID-19 สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ-ดาวน์โหลด2คำถาม - คำตอบ “การถือปฏิบัติตามมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (TFRS for NPAEs)”-ดาวน์โหลด3คำถาม - คำตอบเกี่ยวกับการถือครองคริปโทเคอร์เรนซี (Cryptocurrencies) สำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (NPAEs)12 เม.ย. 2565ดาวน์โหลดตัวอย่างประกอบความเข้าใจ1ตัวอย่างประกอบความเข้าใจสำหรับประกาศสภาวิชาชีพบัญชีเรื่องข้อกำหนดเพิ่มเติมสำหรับมาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะเรื่องที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และอสังหาริมทรัพย์เพื่อการลงทุน-ดาวน์โหลด2ตัวอย่างสำหรับที่กิจการผู้โอนทรัพย์ชำระหนี้หลักประกันเพื่อชำระหนี้ตามพระราชกำหนดการให้ความช่วยเหลือและฟื้นฟูผู้ประกอบธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 พ.ศ. 2564 กรณีที่ใช้มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ-ดาวน์โหลดข่าวสาร1การจัดสัมมนาหลักสูตร “การสัมมนาเรื่อง TFRS For NPAEs ในปัจจุบันและรับฟังความคิดเห็นเพื่อการปรับปรุง TFRS For NPAEs ในอนาคต : Present And Future” ในต่างจังหวัด-รายละเอียดเพิ่มเติม2การจัดสัมมนาหลักสูตร “การสัมมนาเรื่อง TFRS For NPAEs ในปัจจุบันและรับฟังความคิดเห็นเพื่อการปรับปรุง TFRS For NPAEs ในอนาคต : Present And Future” (วันที่ 8 พฤศจิกายน 2562)-รายละเอียดเพิ่มเติม3การรับฟังสัมมนาพิจารณ์ (ร่าง) TFRS for NPAEs ปรับปรุงเพื่อให้ครอบคลุมธุรกรรมมากขึ้น (วันที่ 27 เมษายน 2565 เวลา 09.00-12.30 น.) ผ่านทาง Facebook Live-รายละเอียดเพิ่มเติม4การเสวนาการเตรียมความพร้อมกับ TFRS for NPAEs ปรับปรุง 2565 (วันที่ 22 พฤศจิกายน พ.ศ. 2565 เวลา 08.30 - 12.00 น.) ผ่านทาง Facebook Live-รายละเอียดเพิ่มเติม

กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ มีอะไรบ้าง

คำนิยาม กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Non-Publicly Accountable Entities) หมายถึงกิจการที่ไม่ใช่กิจการดังต่อไปนี้ (1) กิจการที่มีตราสารทุนหรือตราสารหนี้ของกิจการซึ่งมีการซื้อขายในตลาดสาธารณะ ไม่ว่าจะเป็นตลาดหลักทรัพย์ในประเทศหรือต่างประเทศหรือการซื้อขายนอกตลาด

ข้อใดคือกิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ

1) กิจการที่มีส่วนได้เสียสาธารณะ (Publicly Accountable Entities: PAEs) เช่น บริษัทมหาชน บริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ กิจการที่ดำเนินธุรกิจหลักในการดูแลทรัพย์สินของกลุ่มบุคคลภายนอกในวงกว้าง เช่น สถาบันการเงิน บริษัทหลักทรัพย์ เป็นต้น ซึ่งกิจการเหล่านี้ต้องปฏิบัติตามข้อกำหนดของมาตรฐานการรายงานทางการเงินที่จัดขึ้น ...

กิจการที่ไม่มีส่งนได้เสียเป็นกิจการขนาดใด

มาตรฐานการรายงานทางการเงินสำหรับกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสียสาธารณะจึงมีวัตถุประสงค์ในการผ่อนผันให้กิจการดังกล่าวสามารถใช้วิธีการบัญชีที่ไม่ก่อให้เกิดต้นทุนในการจัดทำงบการเงินสูงจนเกินไป เนื่องบจากลักษณะที่สำคัญของกิจการเหล่านี้คือขนาดของการดำเนินงานที่เล็ก กว่า 70% มีรายได้ต่ำกว่า 10 ล้านบาทต่อปี ทำให้การกำหนดมาตรฐานการ ...

ข้อใดคือชื่อย่อภาษาอังกฤษของกิจการที่ไม่มีส่วนได้เสีย สาธารณะ

NPAEs ย่อมาจาก Non-Publicly Accountable Entities หมายถึง กิจการที่ไม่มีส่วนได้เสีย สาธารณะ