คํา อธิบาย รายวิชา เศรษฐกิจ พอ เพียง ม.ต้น ก ศ. น

โครงสร้างรายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง

ทช31001 

สาระสำคัญ

          เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  ทรงพระราชดำรัสชี้แนะแนวทาง การดำรงอยู่ และการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับให้ดำเนินชีวิตไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการ พัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมี เหตุผล  รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อผลกระทบใดๆ อันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงทั้งภายนอก และภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความระมัดระวัง อย่างยิ่งในการนำวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผน และดำเนินการทุกขั้นตอน  และขณะเดียวกันจะต้อง เสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตและให้มีความรอบรู้ที่ เหมาะสมดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้สมดุล และพร้อมต่อ การรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อมและวัฒนธรรมจาก โลกภายนอกได้ พร้อมทั้งสามารถนำแนวคิดตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ประกอบอาชีพได้ อย่างเหมาะสม 

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

          1.อธิบายแนวคิด หลักการ ความหมาย ความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงได้ 

          2. บอกแนวทางในการนำปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิต 

          3. เห็นคุณค่าและปฏิบัติ ตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียง 

          4. ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างในการดำเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในชุมชน 

          5. เผยแพร่หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงให้ชุมชนเห็นคุณค่าแล้วนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต 

          6. มีส่วนร่วมในชุมชนในการปฏิบัติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 

          7. สามารถนำแนวคิดตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ประกอบอาชีพได้

นางสาว โพธิ์ประภา ดัชถุยาวัตร

เข้าสู่ระบบเมื่อ มากกว่า 2 ปี ที่แล้ว

คำอธิบายรายวิชา ทช21001 เศรษฐกิจพอเพียง จำนวน 1 หน่วยกิต
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น

มาตรฐานการเรียนรู้ระดับ รู้ เข้าใจ ยอมรับ เห็นคุณค่า ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพและมีภูมิคุ้มกันในการดำเนินชีวิตของตนเองครอบครัว และชุมชนอย่างมีความสุข

หัวเรื่องที่ 1 ความพอเพียง
ตัวชี้วัด
อธิบายความเป็นมา ความหมาย หลักการของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

เนื้อหา
1.ความเป็นมา ความหมายหลักการแนวคิดของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2.การแสวงหาความรู้

หัวเรื่องที่ 2 ประกอบอาชีพอย่างพอเพียง
ตัวชี้วัด
1.นำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ในการจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน
2.กำหนดแนวทางและปฏิบัติตนในการนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ
เนื้อหา
1.หลักปรัชญาเศรษฐกิจเพียงกับการจัดการทรัพยากรที่มีอยู่ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน
2.หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการประกอบอาชีพ

หัวเรื่องที่ 3 กางวางแผนประกอบอาชีพแบบพอเพียง
ตัวชี้วัด
1.วางแผนในการประกอบอาชีพให้เป็นไปตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตามข้อมูลที่มีอยู่
2.วางแผนในการเรียนรู้ ประกอบอาชีพ โดยการประยุกต์หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และจัดทำโครงงานตามแผนงานที่วางไว้ได้อย่างเหมาะสม
เนื้อหา
1.การวางแผนประกอบอาชีพที่เป็นไปตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. การวางแผนการเรียนรู้ และการทำโครงงานการประกอบอาชีพ โดยใช้กระบวนการ 3 ห่วง 2 เงื่อนไข

ClassStart ให้บริการฟรีโดย บริษัท ปิยะวัฒนา จำกัด
เราเป็นกิจการเพื่อสังคม (Social Enterprise)

สนับสนุนโดย
ผู้ไม่ประสงค์ออกนามท่านหนึ่ง (2563-2565)
มูลนิธิสดศรี-สฤษดิ์วงศ์ (2561-2563)
กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (2557-2558)
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (2557)
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (2554-2558)

โครงสร้าง รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ทช21001)

สาระสำคัญ

เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชดำรัสชี้แนะแนวทาง

การดำรงอยู่และการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับให้ดำเนินชีวิตไปในทางสายกลางโดยเฉพาะ

การพัฒนาเศรษฐกิจเพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ

ความมีเหตุผล รวมถึงความจำเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อผลกระทบใด ๆ

อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบและความ

ระมัดระวังอย่างยิ่งในการนำวิชาการต่าง ๆ มาใช้ในการวางแผนและดำเนินการทุกขั้นตอน และ

ขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนในชาติให้มีสำนึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริตและให้

มีความรอบรู้ที่เหมาะสมดำเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติปัญญาและความรอบคอบ เพื่อให้

สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม สิ่งแวดล้อม

และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง

1. อธิบายแนวคิด หลักการ ความหมาย ความสำคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงได้

2. บอกแนวทางในการนำปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ในการประกอบอาชีพ

3. เห็นคุณค่าและปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

4. แนะนำ ส่งเสริมให้สมาชิกในครอบครัวและชุมชนให้เห็นคุณค่าและนำไปปฏิบัติในการดำเนิน

ชีวิต

คํา อธิบาย รายวิชา เศรษฐกิจ พอ เพียง ม.ต้น ก ศ. น

ขอบข่ายเนื้อหา

บทที่ 1 ความพอเพียง

เรื่องที่ 1 ความเป็นมา ความหมาย หลักการแนวคิดของหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพียง

เรื่องที่ 2 การแสวงหาความรู้

บทที่ 2 การประกอบอาชีพอย่างพอเพียง

เรื่องที่ 1 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการทรัพยากรที่มีอยู่

ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน

เรื่องที่ 2 หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับการประกอบอาชีพ

บทที่ 3 การวางแผนประกอบอาชีพแบบพอเพียง

เรื่องที่ 1 การวางแผนการประกอบอาชีพ ตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง

เรื่องที่ 2 โครงการและแผนงานประกอบอาชีพ ตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียง

บทที่ 4 เครือข่ายดำเนินชีวิตแบบพอเพียง

เรื่องที่ 1 การส่งเสริม เผยแพร่ ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพียงของบุคคล ชุมชน ที่ประสบผลสำเร็จ

เรื่องที่ 2 การสร้างเครือข่ายการประกอบอาชีพและการดำเนินชีวิต

ของเศรษฐกิจพอเพียง

เรื่องที่ 3 กระบวนการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง__