ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง

คำนิยาม

         ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน คือ การกระทำหรือสภาพการทำงาน ซึ่งปลอดจากเหตุอันจะทำให้เกิดการประสบอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย จิตใจหรือสุขภาพอนามัยอันเนื่องจากการทำงานหรือเกี่ยวกับการทำงาน

         

อันตราย คือ สภาวการณ์ที่มีเหตุอันจะทำให้เกิดความสูญเสีย

         

อุบัติเหตุ คือ เหตุการณ์ที่ไม่มีผู้ใดตั้งใจให้เกิด เมื่อเกิดขึ้นแล้วมีผลทำให้เกิดการบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต หรือทรัพย์สินเสียหาย

         

เหตุการณ์เกือบเป็นอุบัติเหตุคือ เหตุการณ์ที่ไม่มีผู้ใดตั้งใจให้เกิด เมื่อเกิดแล้วไม่มีผลของการบาดเจ็บ หรือเสียชีวิต หรือทรัพย์สินเสียหาย

         

ประสบอันตราย คือ การที่ลูกจ้างได้รับอันตรายแก่กายหรือผลกระทบแก่จิตใจ หรือถึงแก่ความตายเนื่องจากการทำงาน หรือป้องกันรักษาประโยชน์ให้แก่นายจ้างหรือตามคำสั่งของนายจ้าง

อุบัติเหตุจากการทำงานสามารถแบ่งออกเป็น 2 สาเหตุ คือ

         1. สาเหตุจากการปฏิบัติงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Act) เป็นการกระทำที่ไม่ปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงานในขณะทำงาน ซึ่งอาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุได้ เช่น

- การใช้อุปกรณ์เครื่องมือที่เป็นเครื่องจักรกลต่าง ๆ โดยพลการหรือไม่ได้รับมอบหมาย

- การทำงานที่มีอัตราเร่งความเร็วของงานและเครื่องจักรเกินกำหนด

- การถอดอุปกรณ์ป้องกันออกจากเครื่องจักรโดยไม่มีเหตุอันสมควรสมควร

- การดูแลซ่อมบำรุงอุปกรณ์เครื่องจักรในขณะที่กำลังทำงาน

- การใช้เครื่องมืออุปกรณ์เครื่องจักรที่ชำรุดและไม่ถูกวิธี

- ไม่ใส่ใจในคำแนะนำหรือคำเตือนความปลอดภัย

- ทำการเคลื่อนย้ายหรือยกวัสดุที่มีขนาดใหญ่ มีน้ำหนักมาก ด้วยท่าทางหรือวิธีการที่ไม่ปลอดภัย

- ไม่สวมใสอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล

- การคึกคะนองหรือเล่นตลกขณะทำงาน

ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง


          2. สภาพการทำงานที่ไม่ปลอดภัย (Unsafe Condition) คือสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยโดยรอบตัวของผู้ปฏิบัติงานขณะทำงาน ซึ่งอาจเป็นสาเหตุของการเกิดอุบัติเหตุได้ เช่น

- เครื่องจักรไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย

- อุปกรณ์เครื่องมือเครื่องจักรที่ออกแบบไม่เหมาะสมกับการใช้งาน

- บริเวณพื้นที่ของการปฏิบัติงานไม่เหมาะสม

- การจัดเก็บวัสดุสิ่งของอย่างไม่ถูกวิธี

- การจัดเก็บสารเคมีหรือสารไวไฟที่เป็นอันตรายไม่ถูกวิธี

- ไม่มีการจัดระเบียบและดูแลความสะดวกของสถานที่ทำงานให้ถูกต้องตามสุขลักษณะ

- แสงสว่างไม่เพียงพอ

- ไม่มีระบบระบายและถ่ายเทอากาศที่เหมาะสม

- ไม่มีระบบเตือนภัยที่เหมาะสม

อ้างอิงจาก

  1. มาตฐานการจัดการความเสี่ยงด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน,
    สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน (องค์การมหาชน)
  2. คู่มือการฝึกอบรมหลักสูตรเจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำงาน ระดับบริหาร (ปรับปรุง),พ.ศ.๒๕๖๓
    กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน
  3. ความปลอดภัยในงานวิศวกรรม,พ.ศ.๒๕๖๓ (สืบค้นออนไลน์)

เข้าถึงได้จาก : http://chuonchoom.blogspot.com/2013/08/blog-post.html

การใช้เครื่องมือช่างให้ปลอดภัย
       ความปลอดภัยในการใช้เครื่องมือช่างการใช้เครื่องมือช่างไม่ว่าสาขาใดๆ ก็ตาม ล้วนแล้วแต่มีความเสี่ยงต่อการเกิดอุบัติเหตุได้ง่าย สิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่ผู้ปฏิบัติงานจะตัองทราบ และคำนึงถึงก็คือ"ความปลอดภัย" ซึ่งควรจะทำความเข้าใจและเรียนรู้ก่อนที่จะลงมือปฏิบัติงาน รวมทั้งการใช้เครื่องมือช่างอุปกรณ์และเครื่องจักรที่ถูกต้องความปลอดภัยในการปฏิบัติงานจึงเป็นหัวใจสำคัญในการปฏิบัติงาน ที่ผู้ปฏิบังานทุกคนต่องระมัดระวังไม่ให้เกิดแก่ตนเองและเพื่อนร่วมงาน เพราะการเกิดอุบัติเหตุจะทำให้เกิดความสูญเสียทางร่างกายและทรัพย์สิน รวมถึงเสียเวลาในการปฏิบัติงานด้วย

ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง


ความปลอดภัยทั่วๆของไป เครื่องมือช่างในการปฏิบัติงาน

1. ไม่ควรนำเครื่องมือช่าง ใส่ไว้ในกระเป๋าเสื้อหรือกระเป๋ากางเกงขณะปฏิบัติงานนั้นๆ เพราะปลายแหลมคมอาจทำอันตรายทั้งต่อตนเองและผู้อื่นได้

2. ไม่หยอกล้อกันในขณะปฏิบัติงาน เพราะอาจทำให้ได้รับอันตรายจากเครื่องมือช่าง

3. ไม่นำเครื่องมือช่าง ที่ชำรุดมาใช้งาน เพราะเครื่องมือช่าง ที่ช้ารุดจะทำให้เกิดอุบัติเหตุทั้งต่อตนเองและผู้อื่นได้

4. เครื่องมือช่าง จะตัองมีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย ให้ครบ ได้แก่ กระจกปัองกันประกายไฟ และน้ำหล่อเย็น ผู้ปฏิบัติงานจะตัองสามแว่นตา นิรภัยเพือป้องกันอันตราย

5. ควรทำการแต่งหน้าหินด้วยยอุปกรณ์การแต่งหน้าล้อหินเจียระไน หากเห็ ว่าด้านหน้าของล้อหินไม่เรียบ

6. ต้องแต่งกายให้เหมาะสม และรัดกุมในขณะปฏิบัติงาน อาจเกิดอันตรายจากเครื่องจักรหรือ เครื่องมือช่างหมุนดึงเข้า เครื่องได้เพราะการแต่งกายรุมร่าม

7. อย่าใช้มือจับชิ้นงานเจาะรูเพราะจะทำให้เกิดอันตรายจากแรงบิดของเครื่องเจาะต้องจับด้วยปากกาจับเจาะ

8. การใช้งานล้อหินเจียระไนที่แท่นรองรับงานและหน้าล้อหินเจียระไนต้องไม่ห่างมาก เพราะอาจทำให้เกิดอันตรายขึ้นได้ โดยระยะห่างระหว่างแท่นรองรับงานกับหน้าลัอเจียระไนตองไม่เกิน 3 มิลลิเมตร

9. ไม่สวมถุงมือหรือใช้ผ้าจับชินงานขณะปฏิบัติงาน เจียระไน เพราะล้อหินเจียรอาจดึงผ้าเข้าไปได้

10 ห้ามสวมรองเท้าแตะเข้ามาปฏิบัติงานในโรงงาน เพราะอาจทาให้เกิดอันตรายขึ้น

11. พื้นที่ปฏิบัติงานต้องสะอาด ไม่ปล่อยให้สกปรก รกรุงวัง ชงเป็นสาเหตุที่ ทำให้เกิด อันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน

12. พื้นที่ปฏิบัติงานต้องมีแสงสว่างเพียงพอ

13. ตรวจสอบความพร้อมของเครื่องจ้าริก่อนใช้งานทาครั้ง หากพบว่าเครื่องจักรชารุดห้ามใช้งานเด็ดขาด

14. อย่าจับเศษโลหะที่ถูกตัดเฉือนจากงานกลึงด้วยมือเปล่า เพราะจะทำให้เศษโลหะ

15. ไม่ควรใช้เครื่องมือผิดประเภท เพราะนอกจากจะทำให้เครื่องมือได้รับเสียหายแล้ว ยังอาจทำให้เกิดอันตรายกับผู้ปฏิบัติงานได้

16 การคลายนัตด้วยประแจ ควรด้เข้าหาตัวทุกครั้งเพอป้องกันการกระแทกที่รุนแรงขณะใช้ประแจ ถ้าเครื่องมือไม่สามารถดึงเข้าหาตัวได้เพราะพื้นที่จำกัด ให้ผลักด้ามประแจด้วยฝ่ามือ

17. ขณะปฏิบัติงานเจาะสายตาตองมองที่ชิ้นงานเพราะถ้าไม่มีสมาธิในขณะ ปฏิบัติงานจะทำให้ได้รับอันตรายในขณะปฏิบัติงานได้


อุปกรณ์ป้องกันอันตรายสำหรับเครื่องมือช่างในการปฏิบัติงาน

อุปกรณ์ปัองกันอันตรายเป็นอุปกรณ์ที่ผู้ปฏิบัติงานสวมใส่ขณะปฏิบัติงาน เพื่อปัองกันอันตรายทีอาจเกิดขึ้นจากสภาพ และสิ่งแวดล้อมการทำงาน การใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเป็นวิธีหนึ่งในหลายวิธีการป้องกันอันตรายจากการทำงาน ซึ่งมีหลายชนิด  

ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง

1. อุปกรณ์ป้องกันศีรษะหรือหมวกนิรภัย สวมไว้เพื่อปังกันศีรษะจากการถูกชนหรือกระแทก แต่หมวกนิรภัยนี้จะไม่สามารถรับแรงกระแทกอย่างรุนแรงจากวัตถุที่ตกจากที่สูงมากระทบต่อศีรษะได้อย่างสมบูรณ์เหมาะเฉพาะสำหรับป้องกันศีรษะจากการได้รับบาดเจ็บในกรณีที่มีวัสดุเล็กๆ ต่กใส่ เช่น นอต ท่อนไม้ และท่อนเหล็กเป็นตัน

 อุปกรณ์ป้องกันใบหน้าและดวงตา ช่วยป้องานอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากวัตถุ สารเคมีเคมีกระเด็นเข้าตาหรือใบหน้า หรือป้องกันรังสีที่ทำลายดวงตา แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ

ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง

1. แว่นตาป้องกันเศษโลหะ สำหรับป้องกันอันตรายที่เกิดขึ้นกับดวงตา เช่น งานสกัด งานเจียระไน และป้องกันเศษโลหะกระเด็นเข้าตาในขณะกลึงชินงาน

ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง

2. กระบังป้องกันใบหน้า เป็นวัสดุโค้งครอบใบหน้า เพื่อป้องกันใบหน้าและลำคอจากการกระเด็นหรือกระแทกของวัตถุหรือสารเคมี

ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง

3. หน้ากากเชื่อมโลหะเป็นหน้ากากที่ใช้ในการเชื่อมไฟฟ้า มีรูปร่างและแบบที่แตกต่างกัน หน้ากากเชื่อมมีหน้าที่ป้องกันใบหน้าและดวงตาเพื่อป้องกันเเสงจ้า รังสีจากการเชื่อม และจากการกระเด็นของโลหะทำจากวัสดุทนความร้อน ไม่ติดไฟ และมีน้ำหนักเบา

ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง

4. อุปกรณ์ป้องกันหู เป็นอุปกรถโที่สวมใส่เพื่อปังกันความดังของเสียงทีจะมากระทบต่อแกัวหูในสภาพแวดล้อมที่มีเสียงดังเกินกว่า 90 เดซิเบล การสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันหุจะสามารถลดเสียงได้ประมาณ 20-30 เดซิเบล

ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง

5. อุปกรณ์ป้องกันล้าตัว เป็นชุดที่สามใส่เพื่อป้องกันอันตรายจากการทำงานในที่ที่มีความรัอนสูงหรือมีลูกไฟกระเด็น เป็นตัน

ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง

6.อุปกรณ์ป้องกันมือ ในการปฏิบัติงานอุตสาหกรรมทุกลักษณะตัองใช้มือในการปฏิบัติงาน เพือป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้นบนมือจึงควรสวมถุงมือขณะปฏิบัติงาน ถุงมือทำจากวัสดุได้หลายชนิด และแต่ละชนิดมีคุณสมบัติเฉพาะตัว จึงควรเลือกถุงมือให้เหมาะสมกับลักษณะงาน

ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง

7.อุปกรณป้องกันเท้า ใช้สวมใส่ในโรงงานเพื่อปัองกันอวัยวะส่วนเท้าไม่ให้สัมผัสกับอันตรายจากการปฏิบัติงานที่มีความร้อนหรือของ มีคม ที่อาจเกิดขึ้นกับเท้า

ข้อใด กล่าว ถึง ความ ปลอดภัย ในการปฏิบัติงานช่างได้ ถูก ต้อง