ใบงาน ทักษะการขยายอาชีพ อช 31003 พร้อม เฉลย

27 ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ สาระการประกอบอาชพี รายวิชา ทกั ษะการขยายอาชีพ (อช31002) ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย โดย นางสาวปรารถนา ชีโพธ์ิ ครชู านาญการ ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอโนนสงู สานกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจงั หวัดนครราชสมี า สานักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ

2ก6 คาแนะนาการใชเ้ อกสารสรปุ เนือ้ หาทต่ี ้องรู้ หนังสือสรปุ เนื้อหาท่ีตอ้ งรหู้ นังสอื เรียนรายวชิ า ทกั ษะการขยายอาชพี เล่มนี้เปน็ การสรุปเน้อื หาจาก หนังสอื เรยี นรายวิชาบังคบั สาระการประกอบอาชีพ รายวิชา ทักษะการขยายอาชีพ อช31002 ระดับ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2554) เพื่อใหน้ ักศึกษาได้เรยี นรแู้ ละทาความเขา้ ใจในเนอ้ื หาสาระของรายวชิ า ทักษะการขยายอาชพี อช31002 ที่สาคัญ ๆ ไดส้ ะดวกและสามารถเขา้ ใจยงิ่ ข้ึน ในการศกึ ษาหนงั สือ สรุปเนอื้ หาท่ตี ้องรูห้ นงั สอื เรยี นรายวิชา ทักษะการขยายอาชีพ เล่มนี้ นกั ศกึ ษาควรปฏิบัติ ดังนี้ 1. ศึกษาหนังสือเรยี นรายวิชา ทกั ษะการขยายอาชีพ อช31002 สาระการประกอบอาชีพ หลกั สูตร การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย ให้เขา้ ใจก่อน 2. ศึกษาเน้ือหาสาระของหนังสือสรปุ เนอื้ หาที่ต้องร้หู นังสือเรียนรายวิชา ทกั ษะการขยายอาชีพ อช 31002 ให้เข้าใจอยา่ งถ่องแท้ พร้อมทัง้ ทาแบบฝกึ หดั ทา้ ยบททลี ะบท และตรวจคาตอบจากเฉลย 3. หากนกั ศึกษาต้องการศกึ ษารายละเอยี ดเน้ือหาสาระรายวิชา ทักษะการขยายอาชพี อช31002 เพิ่มเติมสามารถศกึ ษาคน้ คว้าไดจ้ ากสื่ออนื่ ๆ ในห้องสมดุ ประชาชนอินเทอรเ์ นต็ หรอื ครูผ้สู อน

สารบญั 25 สารบญั หนา้ คาแนะนาการใช้เอกสารสรุปเน้อื หาทต่ี ้องรู้ บทท่ี 1 ทักษะในการขยายอาชีพ ก บทท่ี 2 การทาแผนธุรกจิ เพื่อการขยายอาชพี 1 บทท่ี 3 การจัดการความเสยี่ ง 3 บทท่ี 4 การจัดการผลติ หรือการบริการ 5 บทที่ 5 การจัดการการตลาด 8 บทที่ 6 บญั ชีธุรกจิ 11 บทท่ี 7 การขับเคลื่อนธุรกิจเพอ่ื การขยายอาชีพ 14 บทท่ี 8 โครงการขยายอาชีพ 15 การทดสอบย่อยพร้อมเฉลย 17 19

1 บทที่ 1 ทกั ษะในการขยายอาชีพ ความหมายของการขยายอาชพี การขยายอาชพี หมายถงึ การเพมิ่ โอกาสทางอาชีพ โดยเพิ่มพนู ความรู้และทักษะเพื่อใหเ้ กดิ ความ ชานาญในงานท่ีตนปฏบิ ัติอยู่ แล้วนาไปเป็นชอ่ งทางในการขยายอาชีพ ความจาเป็นในการขยายอาชพี ผ้ปู ระกอบธุรกจิ ท่ปี ระสบความสาเรจ็ มีความมนั่ คงแล้ว มคี วามประสงค์จะขยายอาชีพตัวเอง จะต้อง ดาเนนิ การจัดทาแผนธรุ กิจ มีการจัดการความเสย่ี ง มีระบบการจดั การผลติ การตลาด บัญชธี ุรกิจและจัดทา โครงการขยายอาชพี ความสาคัญของการขยายอาชีพ 1. เป็นการพฒั นาตนเอง ใหเ้ ปน็ ผมู้ ภี มู ริ ู้ ทกั ษะ ประสบการณม์ ากขน้ึ 2. เป็นการสรา้ งมูลคา่ เพ่ิมกับงาน ผลผลิต หรือผลติ ภัณฑท์ ่มี ีอยู่ 3. เปน็ การเสริมสรา้ งรายได้ หรอื เพม่ิ ผลประกอบการใหส้ ูงยงิ่ ขน้ึ 4. เป็นการเพมิ่ ศักยภาพในการแขง่ ขันกบั บคุ คล หน่วยงานหรอื ธรุ กิจอ่ืน ๆ 5. เปน็ ที่ยอมรับจากภายนอกมากยิง่ ขึ้น แหล่งเรยี นรแู้ ละสถานที่ฝึกทักษะในการขยายอาชีพ การถ่ายทอดภมู ิปัญญาจากเจ้าขององค์ความรู้ไปสบู่ คุ คลทีร่ ับการถ่ายทอด ส่วนใหญ่จะให้ความสาคญั กับเทคนิค ข้นั ตอน วิธกี ารของการทางานหรือการแก้ปัญหา แต่ในความเปน็ จรงิ แล้ว ภูมปิ ญั ญายงั มี องค์ประกอบอน่ื ๆ อกี มากมาย เป็นองค์รวมทจี่ ะนาไปสู่ความสาเรจ็ มัน่ คง ย่งั ยนื ได้ แตผ่ ู้รบั การถ่ายทอดมกั จะ มุ่งไปรับเทคนคิ วธิ ีการมากกวา่ เช่น ภูมิปญั ญาแยกอินทรยี ์กจ็ ะให้ความสาคญั กับวธิ กี ารทาปยุ๋ หมกั ปุ๋ยน้า เทา่ นั้น ทั้ง ๆ ยังมีสว่ นประกอบอนื่ ๆ ทส่ี าคัญมากมาย ดงั น้ัน การตอ่ ยอดภมู ิปัญญาจึงเป็นเร่อื งที่จะต้องมี กระบวนการคดิ วิเคราะหอ์ ยา่ งเป็นระบบ เพื่อยกระดับความร้ใู หส้ ูงขึน้ สอดคล้องไปกับยุคสมัย ขนั้ ตอนการวิเคราะหภ์ มู ปิ ัญญา 1.1 วิเคราะห์ภมู ปิ ญั ญาระบุภารกิจ ระบุความรสู้ ารสนเทศ ต่อยอดภูมปิ ัญญา 1.2 วเิ คราะหภ์ ารกจิ ระบุกิจกรรม และขอ้ มูล ศกึ ษาทบทวน ปรบั แตง่ พัฒนาเข้าส่ยู ุคสมัย 1.3 วิเคราะห์กิจกรรมระบขุ ั้นตอนระบบ ทาความเข้าใจให้กระจ่าง 1.4 วเิ คราะหข์ ัน้ ตอนระบบ ระบเุ ทคนิควิธีการ การวางแผนโดยการฝกึ ทักษะอาชีพโดยพัฒนาต่อยอด ประยกุ ต์ใชภ้ มู ิปญั ญาและคานึงถึงความหลากหลาย ทางชวี ภาพ การต่อยอดภูมิปัญญายกระดับความร้ใู ห้สูงขนึ้ เป็นกระบวนการขั้นตอนการวิเคราะหภ์ มู ิปญั ญา ทอ้ งถนิ่ เพ่ือใหม้ ีความร้เู กิดความกระจ่างในองคค์ วามรู้ของภูมปิ ญั ญานาไปสู่การวิเคราะห์ ระบุ ทฤษฎแี นวคดิ ยุคใหม่ใช้ยกระดบั ความรู้ใหส้ ูงข้ึน การสร้างความหลากหลาย การสร้างความหลากหลายในอาชพี เปน็ ภูมปิ ญั ญาเพื่อใช้สรา้ งภูมคิ ุ้มกันให้กบั การดารงอาชพี ตามหลัก ทฤษฎใี หม่ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รชั กาลปัจจุบัน มพี ระราชประสงคท์ ี่จะให้อาชีพเกษตรกรส่คู วาม เขม้ แข็งมัน่ คงยง่ั ยนื ดว้ ยการให้ปลกู ขา้ ว ปลูกผกั ผลไม้ และเลีย้ งไก่ ไวก้ นิ ในครอบครัวเหลือขาย เล้ยี งหมูไว้ เป็นเงินเก็บ เงินออม ปลูกไม้ใชง้ าน ใช้เป็นเชื้อเพลงิ ให้ร่มเงา จัดการบ้านเรือนให้สะอาด ชวี ติ กจ็ ะร่ารวย

2 ความสุข (จากความจาของผเู้ ขยี น เม่ือครัง้ เขา้ เฝ้าถวายงานโครงการเกษตรธรรมชาตถิ าวรนิมติ อันเนื่องมาจาก พระราชดาริ จงั หวดั นครนายก พ.ศ. 2537 โดยมพี ระมหาถาวร จิตตภาวโรวงศม์ าลัย เป็นผู้อุปถมั ภ์) พระราช ดารัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หัวบง่ ชีถ้ งึ การสร้างความหลากหลายทางชวี ภาพการหมุนเวียนเปลย่ี นรูป บนความหลากหลายไดผ้ ลผลิตพอเพียงกบั การกินอยู่ และเหลือขายเป็นรายไดใ้ ช้ดารงชีวติ วธิ ีฝกึ ทักษะอาชีพ 1. การฝกึ อบรมในการทางานเปน็ วิธีทีผ่ ปู้ ระกอบการ เปน็ ผู้รบั ผดิ ชอบในการฝกึ ทักษะ หรืออบรม โดยตรง 2. การประชมุ หรอื ถกปญั หา เป็นวิธีการฝกึ แบบเฉพาะตัว ส่วนใหใ้ ช้กบั พนักงานทป่ี ฏิบัติงานด้าน วชิ าชีพ พนกั งานด้านเทคนิค ตลอดจนหวั หน้างานตา่ ง ๆ มีการถ่ายทอดความนกึ คดิ ระหวา่ งกัน ถา่ ยทอดวิธี ปฏบิ ตั ิงาน 3. การอบรมงานช่างฝมี ือ เป็นระบบของการฝึกอบรม มีการทดลองฝกึ หัดทาจนชานาญ 4. การอบรมโดยหอ้ งบรรยาย เป็นการอบรมเป็นกลมุ่ ใหญ่ ๆ โดยอาศัยครูผ้สู อน 5. การใหล้ องทาในห้องทดลอง เปน็ การใชเ้ คร่อื งมือต่าง ๆ ในห้องทดลอง ก่อนทีจ่ ะให้ลงมอื ทางาน จริง ๆ สามารถใหผ้ ลสาเร็จสูง แตเ่ สยี คา่ ใช้จา่ ยสูงดว้ ย 6. การจัดแผนการศกึ ษา เป็นการจดั เตรยี มเอกสารในรูปแบบของหนงั สือคู่มอื เป็นเครือ่ งช่วยสอน โดยใหท้ ดลองตอบปัญหาโดยวธิ เี ขยี นคาตอบในช่องว่าง หรือทดลองกดปุ่มเคร่ืองจักร การปฏบิ ัติ การฝึกทกั ษะอาชีพท่ดี ตี อ้ งปฏิบตั ดิ ังน้ี ในการฝึกปฏบิ ตั กิ ารที่ดตี ้องมีการจดบันทึกในการปฏบิ ตั งิ าน โดยจดรายละเอยี ดใหช้ ดั เจน เรมิ่ ต้ังแต่ การวางแผนการทาอาชีพตา่ งๆ การวิเคราะห์ การศึกษา สังเกต ตลอดจนผลที่ได้รับจากการปฏิบัติการในอาชีพ นัน้ ๆ และแนวทางการแกไ้ ขปัญหาท่ีถกู ต้องและมีประสิทธิภาพ

3 บทที่ 2 การทาแผนธุรกจิ เพอื่ การขยายอาชพี การทาแผนธรุ กิจ ความหมายของแผนธรุ กิจ แผนธรุ กิจ คือแผนงานทางธุรกิจท่ีแสดงกจิ กรรมต่าง ๆ ทต่ี ้องปฏบิ ตั ิในการลงทุนระกอบการ โดยมีจดุ เรมิ่ ตน้ จากจะผลิตสนิ คา้ และบริการอะไร มีกระบวนการปฏิบตั อิ ยา่ งไรบ้าง และผลจากการปฏิบัติ ออกมาไดม้ ากน้อยแค่ไหน ใช้งบประมาณและกาลงั คนเทา่ ไร เพื่อให้เกดิ เปน็ สินค้าและบริการแกล่ ูกคา้ และจะ บริหารธรุ กิจอย่างไรธุรกิจจงึ จะอย่รู อด การศึกษาวเิ คราะหช์ ุมชนเพอื่ การพัฒนาอาชีพ การวเิ คราะห์ชุมชน หมายถงึ การนาเอาขอ้ มูลทว่ั ไปของชุมชนท่เี ราอาศยั อยซู่ ่ึงอาจจะเปน็ หมบู่ า้ น ตาบล หรอื อาเภอก็ไดข้ ึ้นอยู่กบั การกาหนดขอบเขตของชุมชนวา่ จะนาข้อมูลของชุมชนในระดบั ใดมา พิจารณา โดยการจาแนกข้อมูลดา้ นต่าง ๆ เพื่อให้ทราบถึงประเดน็ ปญั หา และความต้องการที่แท้จริงของชมุ ชน เพอ่ื จะนามากาหนดแนวทางการขยายอาชีพใหต้ อบสนองตรงกบั ความต้องการของคนในชุมชน โดยเฉพาะ เกยี่ วกบั การประกอบอาชพี รายไดข้ องประชากรตอ่ คน ตอ่ ครอบครัวเปน็ อย่างไร ลักษณะของการประกอบ อาชพี ของประชากรเปน็ อย่างไร รวมถึงข้อมูลอืน่ ท่เี ก่ียวขอ้ ง ได้แก่ ข้อมูลดา้ นการตลาด แนวโน้มของ ความตอ้ งการของการตลาด นโยบายของรัฐทจ่ี ะเอ้ือประโยชนต์ ่อการผลติ หรอื การประกอบอาชีพ เปน็ ตน้ ขอ้ มลู เหลา่ นจี้ ะชว่ ยให้เราวางแผนการดาเนนิ การพฒั นาอาชีพไดร้ อบคอบข้ึนการวิเคราะหข์ อ้ มลู โดยวเิ คราะห์ สภาพการภายใน ภายนอกของชมุ ชน โดยใช้เทคนคิ SWOT (SWOT Analysis) การศึกษาความต้องการของ ชุมชนเปน็ การสารวจความต้องการของชมุ ชนเพ่ือใหท้ ราบถึงจุดเดน่ จดุ ดอ้ ย อุปสรรคหรือความเส่ยี งและ โอกาสในด้านต่าง ๆ ของข้อมูลและความต้องการของชุมชน ทงั้ น้ีโดยใช้เทคนิค SWOT ในการวิเคราะห์ชุมชน มีดงั น้ี S (Strengths) จดุ แขง็ หรอื จุดเดน่ ของชุมชน W (Weaknesses) จดุ ออ่ นหรือข้อด้อยของชุมชน O (Opportunities) โอกาสที่จะสามารถดาเนินการได้ T (Threats) อุปสรรคหรือปจั จัยทเ่ี ป็นความเส่ียงของชุมชนท่คี วรหลกี เลี่ยงในการปฏบิ ตั ิ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ผู้วเิ คราะห์ควรพจิ ารณาจาแนกข้อมลู ในด้านต่าง ๆ โดยใหส้ มาชกิ ในชมุ ชนหรือ กลมุ่ อาชีพนนั้ ร่วมกันช่วยวเิ คราะห์ หากพบข้อมลู ส่วนใดทเ่ี ป็นจุดเดน่ ของชุมชนหรอื กลมุ่ อาชพี นน้ั ให้ใส่ขอ้ มลู ในชอ่ ง S หากพบข้อมลู ใดที่เปน็ จุดอ่อนหรือข้อด้อยของชุมชนหรอื กลุ่มอาชพี ให้ใส่ข้อมูลในชอ่ ง W หากส่วนใด ทีเ่ ปน็ โอกาสชอ่ งทางของชมุ ชน เช่น ความตอ้ งการสนิ ค้าของประชาชน นโยบาย หรอื จุดเนน้ ของรฐั หรอื ของ ชุมชนทเ่ี ป็นโอกาสดีให้ใส่ในช่อง O และในขณะเดียวกนั ข้อมูลใดทีเ่ ป็นความเสี่ยง เชน่ ข้อมูลเก่ียวกบั การ กระทาผิดกฎหมาย หรอื ความตอ้ งการของชมุ ชนไมม่ ีหรอื มีน้อย ขาดแคลนวตั ถุดบิ หรือปจั จยั การผลิต เปน็ ตน้ ให้นาขอ้ มูลใส่ในช่อง T ทาเชน่ น้ีจนครบถว้ น หากส่วนใดขอ้ มลู ไม่ชัดเจนเพยี งพอกต็ ้องสารวจข้อมูล เพมิ่ เติมได้ จากนัน้ นาข้อมูลไปวิเคราะห์เพื่อกาหนดทางเลอื กในการพัฒนาอาชีพหรอื ทางเลอื กในการแก้ปญั หา อีกคร้ังหนึง่ ก่อนท่ีจะกาหนดเป็นวสิ ยั ทัศน์ตอ่ ไป

4 การกาหนดวิสยั ทศั น์ พันธกจิ เป้าหมาย และกลยุทธ์ ในการวางแผนขยายธรุ กจิ ของชุมชน วิสยั ทัศน์ เป็นการกาหนดภาพในการประกอบอาชพี ในอนาคต มุ่งหวังใหเ้ กดิ ผลอยา่ งไร หรือกลา่ วอีก นยั หนง่ึ คอื การมองเปา้ หมายของธุรกิจว่าตอ้ งการให้เกดิ อะไรข้นึ ข้างหน้าโดยมีขอบเขตและระยะเวลากาหนดท่ี แน่นอน ในการกาหนดวสิ ยั ทัศน์เปน็ การนาเอาผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ชุมชนและข้อมลู อาชีพของผู้ประกอบการ มาประกอบการพจิ ารณาอยา่ งรอบคอบเพอ่ื การตัดสนิ ใจที่ดี มคี วามเป็นไปได้เพื่อนาไปสู่ความสาเรจ็ ของธุรกจิ ในท่สี ุด พันธกจิ ภาระงานที่ผู้ประกอบการจะต้องดาเนินการใหเ้ กดิ ผลสาเร็จตามวสิ ัยทศั น์ที่กาหนดไวใ้ หไ้ ด้ ผู้ประกอบการจะตอ้ งสร้างทมี งานและกาหนดภารกจิ ของสถานประกอบการใหช้ ดั เจน ครอบคลมุ ทั้งดา้ นการ ผลติ และการตลาด การวิเคราะห์พันธกิจ ของสถานประกอบการ สามารถตรวจสอบว่าพันธกจิ ใดควรทาก่อนหรือหลงั หรือพันธกจิ ใดควรดารงอยหู่ รือควรเปลย่ี นแปลง ผปู้ ระกอบการและทมี งานจะต้องรว่ มกนั วเิ คราะห์ เพื่อ กาหนดพนั ธกิจหลักของสถานประกอบการ ผปู้ ระกอบการและทมี งานจะต้องจัดลาดับความสาคัญของพนั ธกิจ และดาเนนิ การใหบ้ รรลเุ ป้าหมายให้ได้ เปา้ หมายหรอื เป้าประสงค์ เปา้ หมายในการขยายอาชีพ คือการบอกให้ทราบว่าสถานประกอบการนน้ั สามารถทาได้ภายในระยะเวลาเทา่ ใด ซง่ึ อาจจะกาหนดไว้เปน็ ระยะส้ัน หรอื ระยะยาว 3 ปี หรอื 5 ปี กลยุทธ์ในการวางแผนขยายอาชีพ เป็นการวางแผนกลยทุ ธใ์ นการขยายอาชพี หรือธุรกิจนั้น ๆ ให้ สาเร็จตามเปา้ หมายท่วี างไวก้ ารวางแผนจะต้องกาหนดวสิ ัยทศั น์ เป้าหมายระยะยาวใหช้ ดั เจน มีการวิเคราะห์ ส่งิ ที่จะเกิดข้นึ ในอนาคต และมีการทางาน วางระบบไว้คอ่ นขา้ งสงู เพื่อให้มคี วามคล่องตัวในการปรับเปลีย่ นได้ ตามสถานการณท์ เี่ ปล่ียนแปลงอยา่ งรวดเร็ว ทงั้ นเี้ พือ่ ให้ผปู้ ระกอบการและทีมงานสามารถพฒั นาอาชีพให้มี ประสิทธภิ าพและมีความกา้ วหนา้ ไดใ้ นอนาคต ข้ันตอนกระบวนการวางแผน ข้นั ตอนของกระบวนการวางแผนในการขยายธรุ กิจของชมุ ชน มีดงั นี้ 1. ขน้ั การกาหนดวตั ถปุ ระสงคต์ อ้ งใหช้ ดั เจน เพ่อื เป็นแนวทางการปฏิบัติหรือการดาเนิน กิจกรรมตา่ ง ๆ 2. ข้ันการกาหนดวัตถปุ ระสงคก์ ารกาหนดวตั ถุประสงค์ต้องมีความชดั เจนวา่ จะทาเพื่ออะไร และวตั ถุประสงค์น้นั จะต้องมีความเป็นไปได้หรือไม่ และสามารถวัดผลได้ 3. ขน้ั การต้งั เปา้ หมาย เป็นการระบเุ ป้าหมายท่จี ะทาว่าตั้งเป้าหมายในการดาเนินการไว้ จานวนเท่าใด และสามารถวดั ไดใ้ นชว่ งเวลาสัน้ ๆ 4. ข้นั การกาหนดขัน้ ตอนการทางาน เป็นการคดิ ไว้กอ่ นวา่ จะทากิจกรรมอะไรก่อนหรือหลงั ซึง่ การกาหนดแผนกจิ กรรมน้ีจะทาให้การดาเนินงานบรรลุตามวัตถปุ ระสงค์ได้อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ 5. ขั้นปฏบิ ัตกิ ิจกรรมตามแผน ซ่ึงจะตอ้ งดาเนนิ การอย่างต่อเน่อื งจึงจะไดผ้ ล 6. ขน้ั การปรับแผนการปฏบิ ัติงาน ในบางคร้งั แผนทีว่ างไว้เม่ือได้ดาเนนิ การไประยะหนึง่ อาจจะทาให้สถานการณเ์ ปลย่ี นไป ผู้ประกอบการจึงควรมกี ารปรบั แผนบ้างเพื่อให้สอดคล้องกับความเปน็ จรงิ มากขึ้น และการดาเนินงานตามแผนจะมปี ระสิทธิภาพขึ้น การวางแผนปฏิบตั ิการ การวางแผนปฏิบัติการเปน็ ขั้นตอนสดุ ทา้ ยของการทาแผนธุรกจิ เพอ่ื การพัฒนาอาชีพทมี่ ีรายละเอียด มาจากแผนกลยทุ ธ์มากา หนดเป็นโครงการ/กจิ กรรมท่ีจะต้องดาเนินการโดยจะต้องกาหนดวัตถปุ ระสงค์ เปา้ หมาย ระยะเวลา และผรู้ ับผดิ ชอบ โดยผเู้ รียนและผ้นู าชุมชนต้องชว่ ยกันกาหนด

5 บทท่ี 3 การจัดการความเสีย่ ง การจดั การความเส่ยี ง ความเสีย่ ง คือ ความไมแ่ นน่ อนตอ่ การประสบกับเหตุการณ์ หรอื สภาวะท่ีเราต้องเผชญิ กับ สถานการณ์อนั ไมพ่ ึงประสงคโ์ ดยมีความน่าจะเปน็ หรือโอกาสในสง่ิ นั้น ๆ เป็น ความเส่ยี ง มีความหมายในหลากหลายแง่มุม เช่น - ความเสย่ี ง คือ โอกาสท่เี กิดขน้ึ แลว้ ธุรกิจจะเกดิ ความเสียหาย - ความเส่ยี ง คือ ความเป็นไปได้ท่ีจะเกดิ ความเสียหายต่อธุรกจิ - ความเสี่ยง คือ ความไม่แน่นอนของเหตกุ ารณ์ทจี่ ะเกิดขึ้น - ความเสี่ยง คือ การคลาดเคลอื่ นของการคาดการณ์ สภาวะทจ่ี ะทาให้เกดิ ความเสียหาย สภาวะที่จะทาให้เกดิ ความเสียหาย หมายถงึ สภาพเงือ่ นไขที่เปน็ สาเหตุท่ีทาใหค้ วามเสียหายเพ่ิม สูงขนึ้ โดยสภาวะตา่ ง ๆ นั้น สามารถแบง่ ออกไดเ้ ปน็ สภาวะทางด้านกายภาพ คอื สภาวะของโอกาสท่จี ะเกิด ความเสียหาย เชน่ ชนดิ และทาเลทีต่ ั้งของส่ิงปลูกสรา้ ง อาจเอือ้ ต่อการเกิดเพลิงไหม้ สภาวะทางดา้ นศลี ธรรม คือ สภาวะของโอกาสท่จี ะเกิดขนึ้ จากความไม่ซ่ือสัตย์ต่อหน้าทกี่ ารงาน เช่น การฉอ้ โกงของพนักงาน และ สภาวะดา้ นจิตสานกึ ในการป้องกนั ความเสย่ี ง คือ สภาวะท่ีไมป่ ระมาทและเลนิ เลอ่ หรือการไมเ่ อาใจใส่ในการ ป้องกนั ความเส่ยี ง เชน่ การท่ีพนักงานปล่อยใหเ้ ครือ่ งจักรทางานโดยไมค่ วบคุม องคป์ ระกอบการจดั การความเสยี่ ง การระบุช้วี า่ องค์กรกาลังมีภัย เปน็ การระบุช้วี ่าองค์กรมีภัย อะไรบ้างท่ีมาเผชญิ อยู่ และอยู่ในลักษณะใดหรือขอบเขตเปน็ อย่างไร นับเปน็ ขั้นตอนแรกของการจัดการความ เสีย่ งการประเมินผลกระทบของภยั เป็นการประเมินผลกระทบของภัยท่ีจะมตี ่อองค์กรซึ่งอาจเรียกอกี อย่าง หนึง่ วา่ การประเมินความเสยี่ งทอ่ี งค์กรต้องเตรยี มตัวเพื่อรับมือกับภยั แต่ละชนดิ ได้อยา่ งเหมาะสมมากท่ีสุด การจัดทามาตรการตอบโต้ตอบความเส่ยี งจากภัย การจดั ทามาตรการตอบโตค้ วามเสี่ยงเป็นมาตรการทจ่ี ัด เรียงลาดับความสาคัญแลว้ ในการประเมนิ ผลกระทบของภัย มาตรการตอบโต้ทน่ี ิยมใช้เพอื่ การรับมือกบั ภัยแต่ ละชนิด อาจจาแนก ได้ 5 มาตรการ ดังน้ี (1) มาตรการขจดั หรอื ลดความรนุ แรงของความอนั ตรายของภยั ทต่ี อ้ งประสบ (2) มาตรการท่ีปอ้ งกนั ผู้รับภัยมิใหต้ ้องประสบภยั โดยตรง เช่น ภัยจากการทต่ี อ้ งปีนไป ในท่สี ูงกม็ ีมาตรการปอ้ งกนั โดยต้องติดเขม็ ขัดนริ ภยั กันการพลาดพลงั้ ตกลงมา (3) มาตรการลดความรนุ แรงของสถานการณ์ฉุกเฉนิ เชน่ กรณีเกดิ เพลิงไหมใ้ นอาคาร ไดม้ กี ารขจดั และลดความรุนแรง โดยออกแบบตัวอาคารให้มีผนังกันไฟ กนั เพลงิ ไหม้รนุ ลามไปยังบริเวณ ใกล้เคยี ง และมีการตดิ ตง้ั ระบบสปรงิ เกอร์ กจ็ ะชว่ ยลดหรอื หยุดความรนุ แรงของอบุ ัติภยั ลงได้ (4) มาตรการก้ภู ัยก็เป็นการลดความสูญเสียโดยตรง (5) มาตรการกลับคนื สภาพ ก็เป็นอีกมาตรการในการลดความเสยี หายต่อเน่ืองจากภยั หรืออุบัตภิ ัยแตล่ ะคร้งั ลงได้ การรบั มอื กับภยั 5 มาตรการ 1. การเตรียมความพร้อม องค์กรต้องเตรยี มความพร้อมระบบการบริหารความเส่ยี งให้ มคี วามพร้อมในการจดั ทามาตรการขจัดหรือควบคมุ ภยั ตา่ ง ๆ เอาไวล้ ว่ งหนา้ 2. การตอบสนองอย่างฉับไวเมื่อเกิดอุบัตภิ ัยขึ้นระบบต้องมีสมรรถนะทด่ี ีพอในการตอบ โต้ภัยแตล่ ะชนิดอย่างได้ผลและทนั เวลา

6 3. การช่วยเหลอื กภู้ ัย เปน็ กระบวนการปกป้องชีวิตและทรัพย์สนิ ขององคก์ ร ที่ไดผ้ ล และทนั เวลา 4. การกลบั เขา้ ไปทางาน เม่ืออุบัติภยั ส้ินสุดลงแลว้ ตอ้ งกลบั เข้าไปทเี่ ดมิ ให้เรว็ ท่ีสดุ เพ่ือการ ซ่อมแซม การเปลีย่ นใหม่ หรือการสรา้ งขึ้นใหม่ เพอ่ื ให้อาคารสถานทพ่ี ร้อมท่ีจะดาเนินกิจการต่อไปได้ อาจรวม ไปถงึ การประกันภัยด้วย 5. การกลบั คนื ส่สู ภาวะปกติ องค์กรสามารถเปิดทาการ หรือ ดาเนินธรุ กิจต่อไปตามปกติได้ เสมือนวา่ ไม่มอี ุบตั ิภยั มาก่อน การตอบสนองอยา่ งฉับไว กับการช่วยเหลอื กูภ้ ยั อาจดเู หมือนเปน็ เร่ืองเดยี วกนั แตค่ วามจรงิ แลว้ แตกต่างกัน เชน่ กรณีเกิดอัคคีภัย อุปกรณ์ดับเพลิงอัตโนมัติ การวิเคราะหป์ ัจจยั ความเสี่ยงทางธรุ กจิ การวเิ คราะหป์ จั จัยความเส่ียงทางธรุ กิจ จะใช้ธรุ กิจทเี่ ราอยู่เปน็ ตวั ต้ัง แลว้ มองสง่ิ แวดลอ้ มรอบธุรกิจ และตัวธรุ กิจเองว่า มีอะไรบา้ งที่เปน็ จุดสาคัญ และถ้าจดุ นั้นสาคัญถงึ ขนาดทเ่ี รยี กวา่ ถา้ เกดิ ผลกระทบเลวรา้ ย แล้วกับจดุ นแ้ี ล้ว ธุรกิจของเราอาจมีปัญหาได้ ประโยชนข์ องการวเิ คราะห์ปัจจยั ความเส่ียง การวิเคราะหป์ จั จยั ความเสี่ยงนอกจากเกิดประโยชนก์ ับธรุ กิจแล้วยังสง่ ผลถงึ องค์กรและลูกคา้ ที่มาใช้ หรือขอรับบรกิ ารอกี ดว้ ย ซึง่ พอสรปุ ได้ ดงั น้ี 1. สามารถสร้างเสรมิ ความเข้าใจการดาเนนิ การของธรุ กิจและจัดทาแผนธุรกิจท่ีใกลเ้ คยี ง ความเป็นจรงิ มากขนึ้ ในเร่ืองการประมาณการคา่ ใชจ้ ่าย และระยะเวลาดาเนินการ 2. เพ่ิมพนู ความเข้าใจความเสี่ยงในธุรกจิ มากขน้ึ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ผลกระทบที่จะเกิด กบั ธุรกิจหากจัดการความเสีย่ งไม่เหมาะสมหรือละเลยการบริหารความเส่ียงน้นั 3. มอี ิสระในการพจิ ารณาความเสย่ี งของธุรกจิ ซึง่ จะช่วยให้การตดั สนิ ใจจดั การความ เสยี่ งใหม้ ีประสิทธผิ ลและประสทิ ธภิ าพมากข้นึ 4. ทาให้ยอมรับความเสีย่ งได้มากขนึ้ และสามารถไดป้ ระโยชนจ์ ากการยอมรับความ เสย่ี งน้ันได้มากข้นึ ดว้ ย การประเมนิ ความเส่ียง กระบวนการประเมินความเสี่ยง มีดงั ตอ่ ไปนี้ กาหนดความเสย่ี ง โดยตรวจสอบวา่ ในธรุ กจิ ของเรามี เรอ่ื งใดทเี่ ป็นความเสย่ี งบ้าง ซ่ึงมีประเด็นต่าง ๆ ทส่ี ามารถวางกรอบในการกาหนดความเสี่ยงเปน็ ด้าน ๆ 5 ดา้ น ดงั นี้ 1) ด้านการตลาด เช่น การเปลี่ยนแปลงของสนิ คา้ การเปลี่ยนแปลงราคาสินคา้ อตั รา ดอกเบ้ีย อตั ราแลกเปลย่ี น ความผนั ผวนราคาหุ้น การแข่งขันทางตลาด 2) ด้านการผลติ เช่น วตั ถุดิบ กาลังการผลิต ตน้ ทุนการผลติ เทคโนโลยี เคร่อื งจักร ความปลอดภยั ความผดิ พลาดในขนั้ ตอนการผลติ 3) ดา้ นการเงิน เชน่ ความเปล่ยี นแปลงดา้ นสนิ เช่ือ ความเปลี่ยนแปลงสินทรพั ย์ที่ใช้ ค้าประกนั สินเชื่อ สภาพคล่อง 4) ดา้ นบุคลากร เชน่ ความรู้ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ ความรับผดิ ชอบ การทจุ รติ ความสามัคคี อัตราการลาออก 5) ดา้ น 5 ศกั ยภาพ เชน่ ทรัพยากรธรรมชาติ ภมู อิ ากาศ ภัยธรรมชาติ ทาเลที่ต้งั ศลิ ปะ วัฒนธรรม ประเพณี วถิ ชี วี ติ ทรัพยากรมนษุ ย์ เมื่อสามารถกาหนดความเส่ียงไดแ้ ล้ว ตอ้ งประเมินอกี คร้ังว่า ความเส่ียงนน้ั รุนแรงระดบั ใด และ จัดลาดับความเสี่ยง ตามลาดบั ความรุนแรง

7 1) การประมาณระดบั ความรุนแรงของความเสี่ยง การประมาณระดบั ของความเส่ยี ง เพ่ือประกอบการตัดสินใจในการดาเนนิ การแกไ้ ข เมอ่ื ประเมินแล้วนาข้อมลู มาเรยี งลาดบั ความ เส่ยี ง ซง่ึ การประมาณความเสี่ยงดูได้จาก การเรียงลาดบั ของความรุนแรงของสง่ิ ท่จี ะเกิดขน้ึ (ผลกระทบ) และการเรียงลาดับของโอกาสท่ีจะเกิดขน้ึ ของเหตุการณ์ ดังน้ี 1.1) ความรุนแรงของอนั ตราย ลกั ษณะความรุนแรง - ระดบั ความรนุ แรงมาก - ระดับความรุนแรงปานกลาง - ระดบั ความรนุ แรงน้อย การพิจารณาระดบั ความรุนแรง ระดบั ความรนุ แรงหรือผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณท์ เี่ กดิ ขน้ึ หรอื คาดคะเนว่าจะเกดิ เหตุการณ์นนั้ ๆ และเมื่อเกดิ ข้นึ แลว้ จะเกดิ ความรนุ แรง หรือผลกระทบกบั สิง่ ต่าง ๆ ในระดบั ใด

8 บทท่ี 4 การจดั การผลติ หรอื การบรกิ าร ความหมายของการจัดการการผลติ การบรกิ าร และการควบคมุ คุณภาพ การจัดการการผลติ หมายถึง กระบวนการที่ดาเนินงานผลิตสินคา้ ตามข้นั ตอนต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง และมีการประสานงานกนั เพ่ือให้บรรลุเป้าหมายขององคก์ รหรือกจิ การ การบรกิ าร หมายถึง กระบวนการท่เี น้นการใหบ้ รกิ ารแกล่ ูกค้าโดยตรง โดยการทาใหล้ ูกค้าไดร้ บั ความ พึงพอใจมีความสุขและได้รบั ผลประโยชน์อย่างเต็มที่ การควบคมุ คุณภาพ หมายถึง การจดั กิจกรรมต่าง ๆ เพอ่ื ใหผ้ ลิตภณั ฑต์ อบสนองความต้องการและ สามารถสร้างความพงึ พอใจให้กบั ลูกคา้ บนแนวคดิ พ้นื ฐานว่า เมอ่ื กระบวนการดีผลลัพธ์ที่ออกมาก็จะดตี าม การจดั การเกยี่ วกบั การควบคมุ คณุ ภาพการผลิต การควบคุมคุณภาพนัน้ มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือให้สนิ ค้า หรือผลติ ภัณฑห์ รอื การบริการบรรลุจุดมงุ่ หมายดังต่อไปนี้ 1. สนิ ค้าท่ีสง่ั ซอื้ หรอื ส่ังผลติ มีคุณภาพตรงตามข้อตกลงหรือเงื่อนไขในสัญญา 2. กระบวนการผลติ ดาเนนิ ไปอย่างถูกต้องเหมาะสม 3. การวางแผนการผลติ เปน็ ไปตามท่กี าหนดไว้ 4. การบรรจหุ ีบหอ่ ดี และเหมาะสม หมายถึง สามารถนาสง่ วัสดุยงั จุดหมายปลายทาง ในสภาพดี ขัน้ ตอนการควบคุมคุณภาพการผลิต แบง่ ออกเป็น 4 ข้นั ตอน คือ 1. ขน้ั การกาหนดนโยบาย ในข้ันนจี้ ะเป็นการกาหนดวัตถุประสงค์กว้าง ๆ เชน่ ระดับ สินคา้ ขนาดของตลาด วธิ ีการจาหน่าย ตลอดถึงการรับประกนั ข้อกาหนดเหลา่ นี้จะเป็นเคร่ืองชีน้ าว่ากจิ การ จะตอ้ งทาอะไรบ้าง เพอื่ ใหบ้ รรลุวัตถปุ ระสงคท์ ่ีได้วางเอาไว้ 2. ขน้ั การออกแบบผลติ ภัณฑ์ การออกแบบผลติ ภัณฑใ์ นที่น้ี หมายถงึ การกาหนด คณุ ลกั ษณะของผลติ ภณั ฑ์ การออกแบบผลิตภณั ฑ์จงึ ต้องมีความสัมพันธก์ ับระบบการผลติ 3. ขน้ั ตอนการควบคุมคุณภาพของการผลิต การควบคุมคุณภาพการผลติ แบง่ ออกเป็น ขั้นตอนย่อย 3 ขั้น คอื การตรวจสอบคุณภาพของชนิ้ สว่ น การควบคุมกระบวนการการผลิตและการตรวจสอบ คณุ ภาพของผลติ ภัณฑ์ โดยในการตรวจสอบทัง้ 3 ข้นั น้ี สว่ นใหญ่จะใชเ้ ทคนคิ การสุ่มตวั อย่าง เพราะผลิตภัณฑ์ ทผ่ี ลิตได้น้นั มจี านวนมากไม่อาจจะทาการตรวจสอบได้อยา่ งท่วั ถงึ ภายในเวลาจากดั 4. ข้นั การจาหน่าย การควบคุมคณุ ภาพ จะมลี ักษณะเป็นการให้บรกิ ารหลังการขาย ซึง่ ในระบบการตลาดสมัยใหม่ถือวา่ เป็นเร่ืองสาคญั มาก เพราะสินค้าบางชนิดโดยเฉพาะอย่างยง่ิ สนิ คา้ ประเภท เครอ่ื งมือ เครื่องจักรหรืออุปกรณ์ทางอิเลก็ ทรอนกิ ส์ ซ่ึงมีวิธกี ารใชแ้ ละการดแู ลรักษาท่ีค่อนข้างยงุ่ ยาก ผูผ้ ลิต หรือผูข้ ายจะต้องคอยดูและเพอ่ื ให้บริการหลังการขายแก่ผู้ซื้ออย่เู สมอ เพ่ือสร้างความพึงพอใจ ซึ่งจะมีผลต่อ ความเชือ่ มั่นและความก้าวหนา้ ทางธุรกจิ ในอนาคต การใช้นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการผลติ การใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยีในการผลติ เปน็ การพฒั นาความสามารถในการผลติ ผลิตภณั ฑ์ของ มนษุ ย์ ช่วยในการแก้ปญั หาและสนองความตอ้ งการของมนุษยอ์ ยา่ งสรา้ งสรรคโ์ ดยนาความรู้มาใช้กับ กระบวนการเทคโนโลยี เพอ่ื สรา้ งและใช้ส่ิงของเคร่อื งใช้ วธิ กี ารให้การดารงชวี ติ มคี ุณภาพดีย่ิงขึน้ นวตั กรรม หมายถึง ความคิด การปฏบิ ัติ หรือสิ่งประดิษฐ์ใหม่ ท่ียงั ไม่เคยมีใช้มาก่อน หรือเป็นการพฒั นาดดั แปลงมาจากของเดมิ ทม่ี ีอย่แู ลว้

9 เทคโนโลยี หมายถงึ สงิ่ ทมี่ นุษยพ์ ัฒนาขึ้น เพ่ือชว่ ยในการทางานหรือแกป้ ัญหาต่าง ๆ เช่น อปุ กรณ์ เคร่ืองมอื เคร่ืองจักร วสั ดุ หรอื แม้กระทง่ั ส่ิงท่ีไม่ได้เปน็ สิ่งของทจี่ บั ต้องไดห้ รอื อาจเปน็ ระบบหรือกระบวนการ ตา่ ง ๆ เพื่อใหก้ ารทางานบรรลุผลเป้าหมายเทคโนโลยจี ะมีประโยชนอ์ ยา่ งมาก เมื่อผใู้ ชม้ ีการนาไปใชไ้ ดอ้ ย่างถูก วธิ ีและเหมาะสมและจะเกิดผลกระทบอย่างมากมาย เม่อื ผู้ใชน้ าเทคโนโลยีไปใชแ้ บบผิด ๆ ดว้ ยความไมร่ ู้ หรอื ใช้เทคโนโลยมี ากเกนิ กว่าความจาเป็น กระบวนการเทคโนโลยีในการผลติ กระบวนการเทคโนโลยีเปน็ กระบวนการท่ีเก่ยี วข้องกบั การแกป้ ัญหา โดยการใช้ความคิดริเริม่ อยา่ ง สรา้ งสรรค์และรอบคอบ เพ่ือสร้างผลิตภณั ฑ์ที่ก่อให้เกิดประโยชน์ตามความต้องการของมนุษย์อย่างมี ประสิทธภิ าพหลกั การเบ้อื งต้นของกระบวนการทางเทคโนโลยีการออกแบบผลิตภัณฑ์ สามารถแบ่ง ออกเปน็ ขั้นตอน ได้ดังน้ี 1. กาหนดปัญหาหรือความต้องการ 2. สร้างทางเลือกหรอื วธิ กี าร 3. เลอื กวิธีการทเี่ หมาะสม 4. ออกแบบและลงมือสร้าง 5. ทดสอบและประเมินผล (ปรบั ปรงุ แก้ไข) การเลอื กใช้เทคโนโลยีอยา่ งสร้างสรรค์ การเลือกใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์ตอ่ ชวี ิต สังคม สง่ิ แวดลอ้ มและงานอาชีพมหี ลักการดังต่อไปนี้ 1. การวเิ คราะห์เปรียบเทยี บผลิตภณั ฑห์ รือวิธีการท่ีไดจ้ ากเทคโนโลยตี า่ ง ๆ ทง้ั ทางด้าน คุณภาพ รูปแบบ วัสดุ ความสะดวกในการใช้ ความคุ้มค่า โดยกอ่ นที่จะตัดสินใจเลือกเทคโนโลยใี ดมาใชน้ ้นั ผปู้ ระกอบการหรือเจา้ ของกิจการ ควรนาคุณลักษณะทวั่ ไป คุณลักษณะเฉพาะของเทคโนโลยีมาศึกษา เปรยี บเทยี บก่อนการตัดสินใจเลือก 2. เมอื่ มีการเลือกใชเ้ ทคโนโลยีสาหรบั การสร้างและพัฒนาผลติ ภณั ฑ์ เพื่อสนองต่อความ ตอ้ งการของมนุษย์แลว้ ย่อมต้องมีผลกระทบต่อสังคมและสิ่งแวดลอ้ มตามมาดว้ ย ดงั น้ันผู้ประกอบการหรือ เจ้าของกิจการต้องศกึ ษาทบทวนวา่ เทคโนโลยที ีก่ าหนดใช้น้ันมี ขอ้ ดี ข้อเสียและผลต่อสงั คมและส่งิ แวดลอ้ มที่ จะไดร้ บั นน้ั เปน็ อย่างไร 3. ตัดสนิ ใจเลอื กและใชเ้ ทคโนโลยที มี่ ีผลดีตอ่ สงั คมและสง่ิ แวดล้อมในทางสรา้ งสรรค์มากท่สี ดุ การลดต้นทุนการผลิตและการบริการ การดาเนนิ งานธรุ กจิ ทุกประเภท ใหส้ ามารถดารงอย่ไู ด้อยา่ งมั่นคง จาเปน็ ทีผ่ ปู้ ระกอบการหรอื เจ้าของ ธุรกิจตอ้ งหาวธิ กี ารลดต้นทุนการผลิตและการบริการ โดยแนวคิดในการลดและควบคุมตน้ ทนุ การผลิตนนั้ มี หลกั การดังนี้ 1. ศึกษาวเิ คราะห์และสารวจสถานภาพปัจจุบนั ของการผลติ คอื แรงงาน วตั ถุดบิ ตน้ ทุน การผลิต เมอ่ื ร้ปู จั จัยการผลติ แลว้ ทาใหส้ ามารถหาข้อบกพรอ่ งและหาวธิ ีลดต้นทุนได้ 2. วิเคราะห์หาสาเหตขุ องต้นทนุ สูญเปลา่ ทเ่ี กดิ ขน้ึ จากการผลติ สินคา้ และการบริการหมายถงึ การเสยี ค่าใชจ้ ่ายแต่ไม่ได้ก่อให้เกิดประโยชนต์ อ่ ธรุ กิจ 3. ปฏบิ ตั กิ ารลดและควบคมุ ตน้ ทนุ การผลติ ในส่วนของค่าใชจ้ า่ ยที่ไร้ประสิทธภิ าพมีความสูญเปลา่ โดยดาเนนิ การตอ่ เนื่องใหบ้ รรลุผลสาเร็จการดาเนินธรุ กจิ ตอ้ งเผชญิ กบั ข้อจากัดหลายอย่างท่เี ปน็ อปุ สรรคและ เปน็ เหตใุ ห้ต้นทุนการผลติ สงู ขึ้น จากหลายปจั จัย คือ ต้นทุนแรงงานมแี นวโนม้ สงู ขน้ึ ต้นทุนวตั ถุดบิ แพงข้ึน

10 โดยเฉพาะการนาวัตถดุ ิบจากภายนอกเข้ามา ทาให้ตน้ ทุนการผลติ สูงขน้ึ เช่น ค่านา้ มัน ค่าไฟฟา้ คู่แขง่ ขนั มี มากข้ึนและทวีความรนุ แรงมากข้นึ จาเป็นทผี่ ู้ประกอบการหรอื เจา้ ของธรุ กจิ ต้องลดตน้ ทุนการผลิตต่อหนว่ ย สินค้าทผ่ี ลิตจะมผี ลให้ได้กาไรมากขน้ึ ดงั น้ันผูป้ ระกอบการตอ้ งปรับวธิ กี ารทาธุรกิจ เพือ่ ลดตน้ ทุนการผลิตให้ ต่าลง โดยกาหนดเปา้ หมายการผลิตให้เหมาะสมเพ่ือความอยู่รอด มีการปรบั ปรงุ โครงสร้างในการประกอบ ธุรกจิ พัฒนาระบบการส่งเสริมการขาย ซ่งึ เปน็ กุญแจสาคัญส่คู วามสาเร็จ ปัจจยั ในการลด และควบคุมตน้ ทนุ การผลิต ในการผลิตสินค้า ตน้ ทุนการผลิตจะสงู หรือต่านน้ั ขึน้ อยู่ กับปจั จยั ตา่ ง ๆ หลายประการดังนี้ 1. ผู้บรหิ ารต้องมนี โยบายและโครงการเพ่ือลดตน้ ทนุ การผลติ อย่างจริงจงั และชดั เจนไมว่ ่าจะเป็น นโยบายดา้ นคณุ ภาพมาตรฐานระดบั สากล เช่น ISO , การสนับสนุนศกั ยภาพของบุคลากร ฯลฯ หรอื ระบบ และวิธกี ารลดตน้ ทุน ซึง่ ต้องดาเนินการอย่างจริงจงั และต่อเนอ่ื ง 2. สรา้ งจิตสานกึ พนักงาน ให้มีจิตสานึกทีด่ ีต่อโครงการลดตน้ ทนุ การผลิต จงึ จะได้รับความรว่ มมอื และประสบความสาเร็จได้ 3. มมี าตรการเพิ่มประสิทธิภาพและคณุ ภาพของการบริหารจัดการธรุ กจิ อยา่ งจรงิ จังทุกปจั จัยทก่ี ล่าว มามีความสาคญั เท่ากันหมด แต่การดาเนนิ การใหบ้ รรลุเปา้ หมายอย่างมคี ุณภาพผูบ้ ริหารธุรกจิ ต้องกาหนด เป้าหมายและการดาเนินงานอยา่ งจริงจัง และต้องมกี ารจดั ทาข้อมลู และวัดประสิทธภิ าพของการลดต้นทุน อยา่ งต่อเน่อื ง 4. วิธกี ารจดั ทาแผนปฏบิ ัตกิ าร ข้นั ตอนที่ 1 การแยกย่อย ขน้ั ตอนท่ี 2 การจัดเตรยี มแผนงาน โครงการ และมาตรการ ขน้ั ตอนท่ี 3 ประสานแผนปฏิบัติการเบื้องต้นเข้ากบั แผนงาน

11 บทที่ 5 การจดั การการตลาด การจดั การการตลาด หมายถงึ การดาเนินกิจกรรมตา่ ง ๆ ด้านธุรกิจ ซึง่ จะต้องมีการวางแผนการผลติ การโฆษณา การประชาสมั พนั ธ์ การวิจัยการตลาด การส่งเสรมิ การขายการทาฐานข้อมลู ลูกคา้ การกระจาย สนิ ค้า การกาหนดราคา การจัดจาหนา่ ย ตลอดจนการดาเนินกิจการทุกอย่างเพ่ือสนองความตอ้ งการ และ บรกิ ารให้แก่ผู้ซ้ือหรือผูบ้ ริโภคพอใจทั้งในเรอ่ื งราคาและบริการ การจดั การการตลาดเกยี่ วข้องกับเรื่องต่าง ๆ ดังน้ี 1. การโฆษณา หมายถงึ การนาเสนอหรือส่งเสรมิ ความคดิ ในการขายสนิ คา้ หรือบริการผ่าน สือ่ ต่าง ๆ มีผอู้ ปุ ถมั ภ์เปน็ ผู้เสียคา่ ใชจ้ า่ ยในการโฆษณา โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์ของการโฆษณาเพือ่ ให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับสินคา้ และงานบริการ เป็นการให้ขา่ วสารและชกั จูงให้ซ้ือสินค้าและซ้ือบริการสื่อท่ีใชใ้ นการ โฆษณามีหลายประเภท เช่น นติ ยสาร หนงั สือพิมพ์ วทิ ยุโทรทัศน์ ป้ายโฆษณา การโฆษณาทางไปรษณีย์ เป็น ตน้ สอื่ โฆษณาแต่ละประเภทจะมจี ุดเดน่ และจุดด้อยแตกต่างกนั ดังนน้ั การเลือกสื่อโฆษณาควรคานึงถงึ วตั ถปุ ระสงค์ ดังน้ี 1) สามารถเขา้ ถงึ กลุ่มเป้าหมายให้มากท่สี ดุ เทา่ ทจ่ี ะมากได้ 2) ส่อื นั้นมปี ระสิทธิภาพและไดผ้ ลสงู สดุ 3) เสยี ค่าใชจ้ ่ายตา่ ท่ีสุด 2. การประชาสมั พนั ธ์ หมายถงึ การตดิ ต่อส่ือสารเพื่อสง่ เสรมิ ความเข้าใจท่ถี ูกต้องรว่ มกันตลอดจน สรา้ งความสัมพันธ์อันดีต่อกนั ระหว่างลกู ค้ากบั ผผู้ ลิต เพ่ือใหเ้ กิดความเชือ่ ถอื ศรทั ธา ความคดิ เหน็ ทัศนคติท่ีดี ต่อองคก์ าร การประชาสมั พันธ์ ได้แก่ ข่าวแจกสาหรับเผยแพร่การแถลงขา่ ว 3. การส่งเสริมการขาย หมายถงึ กิจกรรมการส่งเสรมิ การตลาดนอกเหนือจากการโฆษณาการขาย โดยบคุ คล และการประชาสัมพันธ์ เป็นการช่วยกระตนุ้ ความสนใจ การซ้ือของผบู้ รโิ ภคหรือบุคคล 4. การวจิ ัยการตลาด หมายถงึ การศึกษาปจั จยั ภายนอกและภายในเกีย่ วกบั การตลาดทา ให้ ผู้ประกอบการมีข้อมูลในการวางแผนการตลาดไดอ้ ย่างมน่ั ใจและสามารถบอกรายละเอียดในการดาเนินงานได้ อย่างชัดเจน การวจิ ัยการตลาดหรอื การศึกษาตลาดควรวิเคราะหพ์ ฤตกิ รรมผู้บรโิ ภคมาปรับใช้ ดังนี้ 1. ผบู้ รโิ ภคของกิจการคือใคร ใชห้ ลักการแบง่ สว่ นตลาดเข้ามาประกอบการพจิ ารณา คือ หลกั ภมู ศิ าสตร์ หลักประชากรศาสตร์ หลักจิตวิทยา หลักพฤติกรรมศาสตร์ 2. ตลาดต้องการซ้ืออะไร ผู้ประกอบการจะตอ้ งศึกษาว่าผู้บริโภคตอ้ งการอะไรจากผลติ ภณั ฑ์ ท่ีซอ้ื เช่น บางคนใชร้ ถยนตร์ าคาแพง เพราะต้องการความภาคภมู ใิ จบางคนเลือกรับประทานอาหารในรา้ น หรหู รา นอกจากเขาต้องการความอร่อยจากรสชาตขิ องอาหารแล้วเขายังตอ้ งการความสะดวกสบาย การ บรกิ ารทด่ี ี เปน็ ต้น นกั การตลาดจะต้องวิเคราะห์ดูวา่ ผ้บู รโิ ภคต้องการซอ้ื อะไรเพ่ือทีจ่ ะจัดองคป์ ระกอบของ ผลติ ภณั ฑใ์ ห้ครบถ้วนตามท่ีเขาตอ้ งการ 3. ซอื้ อยา่ งไร ผูป้ ระกอบการต้องศึกษาถงึ กระบวนการตัดสนิ ใจในการซ้ือของผูบ้ ริโภค กระบวนการการตัดสนิ ใจในการซือ้ น้จี ะเร่ิมจากความรสู้ กึ ว่าต้องการสินค้านัน้ จนไปถึงความรสู้ กึ หลงั การซ้ือ กระบวนการดังกล่าวนจี้ ะกนิ เวลามากหรอื น้อย ยากหรืองา่ ยเพยี งใดขน้ึ อยู่กับชนดิ ของสินคา้ ตวั บุคคลท่ีทาการ ซอ้ื ผตู้ ดั สินใจซอื้ การสง่ เสรมิ การตลาด ฯลฯ แตล่ ะขนั้ ของกระบวนการซื้อใช้เวลาไม่เท่ากันและบางครัง้ การซอื้ อาจจะไม่ได้ดาเนินไปจนจบกระบวนการก็ได้ เพราะผูบ้ ริโภคเปล่ยี นใจหรือเกดิ อปุ สรรคมาขดั ขวางทาให้เลกิ ซื้อ หรอื อาจต้องทอดระยะเวลาในการซือ้ ออกไป

12 4. ทาไมผู้บรโิ ภคจงึ ซ้ือเป็นการพิจารณาถึงวตั ถุประสงค์หรือจดุ มงุ่ หมายของการซอื้ 5. เมอื่ ไรผบู้ รโิ ภคจะซื้อ นักการตลาดจาต้องทราบถงึ โอกาสในการซอ้ื ของผ้บู ริโภค ซงึ่ จะ แตกต่างกนั ตามลักษณะสินค้านัน้ ๆ เพือ่ วางกลยุทธ์ทางตลาดได้เหมาะสมกับพฤติกรรมการซ้อื ของผบู้ รโิ ภค 6. ผูบ้ ริโภคจะซือ้ ท่ีไหน เปน็ การถามเร่ืองชอ่ งทางการจาหน่าย แหล่งขายท่ีเหมาะสมกับ สนิ คา้ โดยพิจารณาดูว่าสินค้าชนดิ นผี้ ูบ้ ริโภคมักจะซ้ือจากที่ไหน ซ้ือจากห้างสรรพสนิ ค้าใหญ่ หรือจากรา้ นขาย ของชาใกลบ้ า้ น เปน็ ต้น 7. ใครมีสว่ นร่วมในการตัดสินใจซ้อื เป็นการถามเพื่อให้ทราบถึงบทบาทของกลุม่ ตา่ ง ๆ ท่ีมี อทิ ธิพลหรือมีส่วนร่วมในการตัดสนิ ใจซือ้ 8. การวางแผนการตลาด หมายถงึ การกาหนดกลมุ่ ลูกค้าเป้าหมาย สรา้ งความน่าเชื่อถือ ให้กับกจิ การและผู้ทจ่ี ะร่วมลงทนุ สามารถอธิบายวิธีการที่จะดึงดดู และรกั ษาลูกคา้ ท้ังรายเกา่ รายใหม่ไวไ้ ด้ 9. การทาฐานขอ้ มลู ลูกค้า หมายถึง ข้อมูลจะช่วยในการกาหนดสว่ นตา่ งของการตลาด การ กาหนดกลยทุ ธ์ การตลาดทางตรงไม่วา่ จะเปน็ กลยทุ ธ์การสรา้ งสรรคง์ านโฆษณากลยุทธส์ ่ือ ตลอดจนใชใ้ นการ วิเคราะหข์ ้อมลู ตา่ ง ๆ เปน็ สิง่ สาคญั สาหรบั การทาตลาดทางตรงเพราะกิจการจะไมส่ ามารถส่อื สารหรอื เขา้ ใจถึง กล่มุ ลกู คา้ ทค่ี าดหวังได้ หากปราศจากข้อมูลลกู คา้ วตั ถปุ ระสงค์การทาฐานข้อมูลลูกคา้ มีดงั น้ี 1) เพือ่ ใหท้ ราบถึงความสาคัญของการจัดทาบญั ชีรายช่ือลูกคา้ 2) เพ่ือให้ทราบถึงวิธกี ารเบอ้ื งต้นในการจดั ทาบัญชีรายชอ่ื ลูกคา้ 3) เพอ่ื ใหเ้ ข้าใจถึงประเภทของฐานข้อมลู 4) เพ่อื ให้ทราบถึงองค์ประกอบของฐานข้อมลู ลกู ค้า 10. การกระจายสินค้า ในวงการธุรกจิ ปจั จุบนั นกั การตลาดให้ความสาคญั เกย่ี วกับการ กระจายสินค้า ไมน่ ้อยกว่าตวั แปรอ่นื ๆ ในดา้ นการตลาด หากผลติ ภณั ฑ์เป็นทต่ี ้องการของตลาด แตร่ ะบบการ กระจายสินคา้ ไมด่ ี เช่น ส่งสนิ ค้าผิดพลาด ลา่ ชา้ ผดิ สถานที่เป็นต้น เป็นความสูญเสียอันย่ิงใหญ่ เพราะทาให้ ยอดขายลดลงและสญู เสยี ลกู คา้ จุดประสงคข์ องการกระจายสินคา้ คอื การจดั ส่งสินคา้ ให้ลูกคา้ ได้ถกู ต้อง ไปยัง สถานท่ีทีถ่ ูกต้องในเวลาทเี่ หมาะสม โดยเสียค่าใชจ้ ่ายนอ้ ยที่สดุ ตลอดจนการให้บริการลูกค้าท่ีดีทส่ี ุดบทบาท และความสาคญั ของการกระจายสินค้า เปน็ การเชือ่ มโยงระหว่างผผู้ ลติ กบั ผบู้ รโิ ภคหรือกลา่ วได้วา่ การทีน่ า สนิ คา้ ออกจาหนา่ ยใหผ้ ู้บรโิ ภคทันตามเวลาที่ตอ้ งการกระจายสนิ คา้ จึงมีความสาคัญท่ผี ปู้ ระกอบการจะต้อง ระมัดระวงั ในเร่อื งตอ่ ไปน้ี 1) สินคา้ ทีถ่ ูกต้อง 2) เวลาที่ถูกต้อง 3) จานวนทถี่ ูกต้อง 4) สถานท่ที ถี่ ูกต้อง 5) รปู แบบท่ีต้องการ การจัดการกระจายสินค้า คือการนาสินค้าไปถึงมอื ผู้บรโิ ภคหรอื ลูกค้า ซ่งึ กระจายสินค้าเก่ียวขอ้ งกับ การงานในหนา้ ทอ่ี ื่น ๆ ได้แก่ การเริ่มตน้ จากการพยากรณก์ ารขายซึง่ เกย่ี วกับการวางแผนการจัดจาหน่าย และ วางแผนการผลติ สว่ นการกระจายสนิ ค้า หมายถึง การบริหารระบบการขนสง่ ระบบช่องทางการจดั ซือ้ ระบบ ช่องทางการจัดจาหน่าย ระบบสนิ ค้าคงคลงั เพ่ือให้ไดม้ าซ่ึงประสทิ ธิภาพในการจัดซื้อวสั ดุ วตั ถุดิบเพื่อการผลติ และเพ่ือให้ได้มาซึ่งประสทิ ธภิ าพทางการตลาดท่ีจะขายสินค้าสาเรจ็ รปู และบริการส่มู ือผู้บรโิ ภค

13 การวางแผนการตลาดเชงิ กลยุทธ์ การวางแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ จะทาให้พนักงานทกุ คนได้รวู้ ่า จะปฏบิ ัตใิ หบ้ รรลุเปา้ หมายใน ระยะเวลาได้อย่างไร แผนการตลาดเป็นเอกสารทเ่ี ขยี นขนึ้ เพื่อใช้เปน็ เสมือนหนังสือนาทางสาหรับกิจกรรมทาง การตลาดแกผ่ ้จู ัดการฝ่ายการตลาด การเขยี นแผนการตลาดทช่ี ดั เจนเป็นงานท่ีต้องใช้เวลา แตเ่ ปน็ พ้นื ฐานใน การสื่อสารภายในองค์การ แผนการตลาดจะทาให้พนกั งานทกุ คนทราบวา่ ตนมีความรบั ผิดชอบอะไร ต้องทา อะไร มกี รอบเวลาในการปฏบิ ัติงานอย่างไร แผนการตลาดบ่งบอกวตั ถปุ ระสงคแ์ ละแนวทางการจัดสรร ทรพั ยากรเพื่อให้บรรลวุ ัตถุประสงค์ แผนการตลาดเป็นกรอบความคิดและให้ทิศทางเชงิ กลยุทธ์ ส่วนการนาไป ปฏบิ ัตเิ ปน็ การทางานในลกั ษณะที่จดั การกับปญั หา โอกาส และสถานการณ์ แผนการตลาดแสดงขัน้ ตอนงานท่ี เรยี งเปน็ ลาดับก่อนหลงั กจ็ รงิ แตข่ ั้นตอนเหล่านนั้ อาจเกดิ ข้ึนพร้อมกนั หรอื ประสานกนั ก็ได้ การเขียนแผนมี หลายรปู แบบ ขน้ึ อยู่กับองคก์ ร พนั ธกิจ วตั ถปุ ระสงค์กลุ่มเป้าหมาย และสว่ นประสมทางการตลาดขององค์กร นัน้ การนาแผนไปปฏบิ ตั แิ ละการควบคมุ เป็นกระบวนการที่ผู้ทาการตลาด ต้องดาเนินงานตามแผนการตลาดที่วางไว้ ดว้ ยความม่ันใจวา่ สามารถบรรลุวตั ถปุ ระสงคไ์ ด้ ซงึ่ รายละเอยี ดในแผนจะระบุกิจกรรม เวลา งบประมาณ ซ่ึงตอ้ งมีการส่ือสารที่ดี เม่ือนาแผนการตลาดไปปฏบิ ัตแิ ลว้ จะตอ้ งมกี ารประเมนิ เพอื่ ให้ทราบวา่ ได้ดาเนินการบรรลตุ ามวัตถุประสงค์ เพยี งใด มีอะไรที่ควรแก้ไข การวางแผนมีความสมั พันธ์ใกลช้ ิดกบั การควบคุม เนื่องจากแผนได้ระบุถงึ ส่ิงที่ องค์กรต้องการบรรลุ

14 บทที่ 6 บญั ชธี รุ กิจ ความหมายของบัญชธี รุ กิจ บัญชีธุรกิจ หมายถงึ ระบบประมวลข้อมูลทางการเงนิ การจดบนั ทึกรายการคา้ ต่าง ๆ ท่ีเก่ยี วกับการ รับ – จ่ายเงิน สงิ่ ของ และสิทธทิ ีม่ ีมูลคา่ เป็นเงนิ ไว้ในสมุดบัญชีอยา่ งสม่าเสมอเปน็ ระเบียบถกู ต้องตามหลักการ และสามารถแสดงผลการดาเนนิ งานและฐานะการเงินของกิจการในระยะเวลาหนึ่งได้ ความสาคญั ของการทาบัญชี 1. เป็นเคร่ืองมือวัดความสาเร็จในการดาเนินธุรกิจ โดยพิจารณาจากผลการดาเนินงาน ฐานะทางการเงนิ ของธุรกจิ และความมัน่ คงของธุรกจิ จะบันทึกบัญชีรายการตา่ ง ๆ ทเ่ี กิดขึน้ ในการดาเนิน ธรุ กิจ เช่น การลงทนุ การรับ การจ่าย โดยไมน่ าส่วนที่เปน็ ของส่วนตวั เข้ามาบนั ทึกด้วย สิ่งทบ่ี นั ทกึ ไว้จะ สามารถนามาจัดทาเป็นรายงานทางการเงนิ ได้ เชน่ งบดลุ งบกาไรขาดทุน ซ่ึงเปน็ ภาพสะท้อนในการดาเนนิ ธุรกิจ 2. เป็นเครือ่ งมือช่วยในการวางแผนและตดั สินใจธุรกิจ สามารถนามาวเิ คราะห์ความ เป็นไปได้ของการลงทนุ ที่จะเกิดขนึ้ ในอนาคต ดังนน้ั หากมีการบันทกึ ทีถ่ ูกตอ้ ง จะทาให้สามารถพัฒนากจิ การ ใหเ้ จริญก้าวหนา้ อยา่ งยัง่ ยนื 3. เป็นเครือ่ งมือในการวางแผนกาไร และควบคมุ ค่าใช้จ่ายของบริษัท ชว่ ยในการตัดสนิ ใจ กาหนดราคาสนิ ค้า ชว่ ยในการควบคุมตน้ ทนุ การผลติ และสามารถวิเคราะห์ปรบั ปรงุ รายจา่ ยท่ไี มจ่ าเป็นออก รวมถึงชว่ ยในการวางแผนการดาเนนิ งานได้อย่างถกู ต้อง เหมาะสมกับทรัพยากรที่มอี ยู่ ประเภทและข้นั ตอนของการทาบัญชีธุรกจิ บญั ชีการเงนิ หมายถงึ การเพ่ิมข้นึ ของประโยชนเ์ ชงิ เศรษฐกจิ ในรอบระยะเวลาบญั ชี ในรปู ของกระแสเข้าหรือการเพิม่ ขนึ้ ของสนิ ทรพั ย์ บัญชสี ินทรพั ย์ หมายถงึ ทรัพยากรที่อยใู่ นความควบคุมของกิจการ เปน็ ผลของเหตุการณ์ใน อดตี ซ่งึ คาดวา่ จะไดร้ บั ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต บญั ชีรบั -จา่ ย หมายถึง การลดลงของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชใี นรูปของ กระแสออกหรือการลดลงของสินทรพั ย์ บัญชที รัพย์-หนีส้ นิ หมายถงึ เป็นภาระผูกพันในปจั จบุ นั ของกิจการโดยจะเป็นผลของ เหตุการณใ์ นอดีตซ่ึงจะทาใหก้ ิจการเสยี ทรัพยใ์ นอนาคต

15 บทท่ี 7 การขับเคลอื่ นธรุ กจิ เพือ่ การขยายอาชีพ สิ่งทีต่ ้องวเิ คราะห์ในแผนปฏิบัตกิ ารขยายธรุ กจิ 1. ความถูกตอ้ งน่าเช่ือถือของขอ้ มูลพ้นื ฐานท่จี ะนามาใช้กาหนดแผน 2. ขอ้ มูลท่ีได้มามีความเทยี่ งตรงเพยี งพอก็ต้องวเิ คราะห์เพ่ือใหเ้ กี่ยวกับแผนทีก่ าหนดขึ้น การจัดทาแผนปฏบิ ัติการ มีขั้นตอนของการจัดทาแผนการปฏบิ ัตกิ าร 3 ขั้นตอนดังน้ี 1. การวางแผน การวางแผนเปน็ จุดเริ่มตน้ ในการดาเนินการโดยกาหนดวัตถุประสงคแ์ ละวิธี ดาเนินงานเพ่ือให้ปรับปรงุ วตั ถุประสงค์ท่ีกาหนดอยา่ งมีประสิทธภิ าพและประสิทธิผล 2. การควบคมุ คือการติดตามและประเมินผลการดาเนินงาน เพอ่ื ให้การดาเนินงานเกดิ ประสิทธิภาพ และเพ่ือนาข้อมลู ที่ได้มาวเิ คราะหแ์ ละแก้ไขปรบั ปรุงการวางแผนครัง้ ต่อไป 3. ระบบควบคุม 1. กาหนดเปา้ หมายท่ชี ัดเจนในการดาเนินงาน คอื เป็นการกาหนดถึงเป้าหมายทจ่ี ะทาในการ ทางานว่าทาเพ่ืออะไร แลว้ ผลตอบแทนเป็นอยา่ งไร 2. กาหนดมาตรฐาน คือเป็นการกาหนดถึงส่งิ ทต่ี ้องสร้างเปน็ หลักเพ่ือให้งานน้ันเป็นงานที่ เปน็ ไปตามมาตรฐานเพื่อให้เป็นจดุ เดน่ 3. กาหนดตัวช้ีวัดใหช้ ัดเจน คอื เป็นการบอกถึงสิง่ ทช่ี วี้ ดั ใหเ้ หน็ วา่ ตอ้ งการเห็นอะไรในการ ทางานในคร้ังนว้ี ่าต้องการเปน็ แบบใดขนั้ ตอนการขับเคลื่อนแผนปฏิบัติการ เพ่ือขยายธรุ กิจผู้ประกอบการ จะต้องดาเนินการใน 3 ประเดน็ คอื 1. การวิเคราะห์ความเปน็ ไปไดข้ องแผนปฏิบตั ิการ เป็นการพิจารณาถงึ ความ เหมาะสมของแผนปฏิบตั ิการกับสภาพความเป็นจริงของกิจการวา่ สามารถเปน็ ไปไดต้ ามท่วี างไว้หรือเปลา่ 2. การพัฒนาแผนปฏิบัติการ เปน็ การพฒั นาแผนปฏิบตั กิ ารโดยการนาข้อมลู จาก การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแผนปฏบิ ตั กิ าร 3. การจดั การความรขู้ บั เคลอื่ นแผนปฏบิ ตั ิการสู่ความสาเร็จในการขยายอาชีพ เป็น การจดั การกับความรู้ท่ีจะใชใ้ นการขับเคล่ือนแผนปฏิบตั กิ ารสคู่ วามสาเร็จในการขยายอาชพี การตรวจตดิ ตามคณุ ภาพการทางาน มีขนั้ ตอนดังนี้ 1. ทบทวนโครงการ/กิจกรรม ทง้ั หมดใหเ้ หน็ เจตนารมณว์ า่ ต้องทาอยา่ งไร 2. จัดทาแผนการตรวจตดิ ตาม พจิ ารณาว่าควรควรจะตรวจตดิ ตามโครงการ กิจกรรม ใด เมอ่ื ไร และมีจุดเน้นท่ีให้ความสาคัญกับเร่ืองใดบา้ ง 3. ทาความเข้าใจร่วมกนั ให้ชดั เจน วา่ การตรวจติดตามไม่ใชก่ ารจับผิด แต่เปน็ การรว่ มกัน ระหวา่ งผู้ตรวจตดิ ตามกับคณะทางานร่วมกนั หาข้อบกพร่องท่ีจะทาใหง้ านเสยี หายแล้วชว่ ยกันแก้ไขข้อบกพร่อง 4. ประเมนิ คณุ ภาพการทางาน เข้ากระบวนการ การวางแผน PIAN = P การทางานใดต้องมีขัน้ การวางแผนเพราะทาให้มีความมน่ั ใจ ว่าทางาน การปฏบิ ัติ DO = D เปน็ การลงมือปฏบิ ตั ิงาน ตามแผนทว่ี างไว้การดาเนินการตาม แผน อาจประกอบด้วย การมีโครงสร้างงานรบั รอง มีวธิ ีการดาเนินการมีผู้รบั ผดิ ชอบ การตรวจสอบ CHECK = C เป็นข้นั ตอนของการประเมนิ การทางานวา่ เป็นไป ตามแผนท่วี างไวห้ รอื ไม่

16 การปรับปรุงแก้ไข ACTION = A เมื่อ CHECK แลว้ พบวา่ มีปัญหาหรอื ความบกพรอ่ ง แลว้ ลงมือแก้ไขซ่ึงในข้ันน้ีอาจพบวา่ ประสบความสาเร็จหรืออาจพบว่ามีขอ้ บกพร่องอีกด้วยต้องตรวจสอบเน้ือ ของงานเพ่ือหาทางแก้ไข

17 บทท่ี 8 โครงการขยายอาชพี โครงการ หมายถึง แผนงานย่อย แผนการดาเนินงานหรือกิจกรรมท่จี ะนาไปปฏบิ ัติได้โดยมี วตั ถปุ ระสงคใ์ นการดาเนนิ งานอย่างชดั เจน มรี ะยะเวลาเริ่มตน้ มรี ะเบยี บแบบแผนในการปฏิบตั ิ ซง่ึ ประกอบด้วย ประโยชน์ของโครงการ 1. ช่วยอานวยความสะดวกแกผ่ ู้อา่ น 2. ช่วยประหยัดเวลาแกผ่ อู้ นุมัติ 3. ช่วยให้การปฏิบตั งิ านตามโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์ 4. เป็นการแสดงถงึ ประสบการณ์การทางานของผู้เขยี นโครงการ องคป์ ระกอบของโครงการ 1. ชื่อแผนงาน เป็นการกาหนดช่อื ให้ครอบคลมุ โครงการเดียวหรือหลายโครงการท่ีมลี กั ษณะ งานไปในทศิ ทางเดยี วกัน 2. ชอื่ โครงการ ให้ระบชุ ่อื โครงการตามความเหมาะสมมีความหมายชัดเจน 3. หลักการและเหตุผล ใหช้ ี้แจงรายละเอียดของปัญหาและความจาเปน็ ท่เี กิดข้ึนทจ่ี ะต้อง แกไ้ ขตลอดจนชแ้ี จงถึงผลประโยชนท์ จ่ี ะได้รับจากโครงการ 4. วัตถุประสงค์ เปน็ การบอกให้ทราบวา่ การดาเนินงานตามโครงการน้ันมคี วามต้องการให้ อะไรใหเ้ กิดขึ้น 5. เป้าหมาย ใหร้ ะบวุ า่ จะดาเนนิ การสิง่ ใดโดยพยายามแสดงให้ปรากฏเปน็ รปู ตวั เลขหรือ จานวนที่จะทาได้ 6. วิธดี าเนินการ คอื งานหรือภารกิจซง่ึ จะต้องปฏิบตั ิในการดาเนินโครงการใหบ้ รรลตุ าม วัตถุประสงค์ 7. ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน คอื การระบุระยะเวลาตง้ั แตเ่ ร่มิ ตน้ โครงการจนสิ้นสดุ โครงการ 8. งบประมาณ เป็นประมาณการคา่ ใชจ้ า่ ยทัง้ สิน้ ของโครงการ 9. ผ้รู ับผิดชอบโครงการ เป็นการระบุเพ่อื ให้ทราบวา่ หน่วยงานใดเป็นเจ้าของ 10. หน่วยงานทใี่ ห้การสนบั สนนุ เปน็ การใหแ้ นวทางแกผ่ ู้อนุมตั ิและผูป้ ฏิบัติ 11. การประเมนิ ผล บอกแนวทางว่าการตดิ ตามประเมินผลควรทาอย่างไร 12. ผลประโยชน์ท่คี าดวา่ จะไดร้ ับ เมอื่ โครงการนัน้ เสรจ็ ส้ินแลว้ จะเกดิ ผลอยา่ งไรบา้ ง ใครเป็นผู้ไดร้ ับ แผนปฏิบัตกิ าร คือ เคร่ืองค้าประกนั ว่าเปา้ หมายในการทางาน มโี อกาสบรรลุเปา้ หมาย ทก่ี าหนดไว้ เปน็ สง่ิ ยืนยนั ว่าเปา้ หมายทตี่ ง้ั ไวค้ วามเปน็ ไปได้เพราะมีแผนขน้ั ตอนชัดเจน การตรวจสอบโครงการ หมายถึง โครงการและตัวช้วี ัดซ่ึงใช้สาหรับตรวจสอบความคืบหน้าของ โครงการ ตลอดอายุของโครงการ ประโยชนจ์ ากการตรวจสอบโครงการ 1. ไดม้ ีการประเมนิ อย่างเปน็ อสิ ระ 2. ระบุประเดน็ ความเสีย่ งในการบรหิ ารโครงการ 3. ระบแุ ผนปฏิบตั ิการในแตล่ ะโครงการทผ่ี า่ นการตรวจสอบ

18 4. ช่วยปรบั ปรงุ โอกาสและความเป็นไปไดท้ ่ีจะทาใหโ้ ครงการประสบความสาเร็จ หลกั การโดยท่ัวไปของการกากบั งานตรวจสอบโครงการ 1. การตรวจสอบสถานะงบการเงนิ ของโครงการ 2. การตรวจสอบการกากับการปฏิบัตติ ามกฎเกณฑ์ 3. การตรวจสอบกิจกรรมและการปฏบิ ตั ิงานในโครงการ

19 แบบทดสอบย่อย รายวชิ า ทกั ษะการจดั การขยายอาชีพ (อช31002) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย 1. การดาเนนิ การทางธุรกจิ มอี งคป์ ระกอบรว่ ม 4 องคป์ ระกอบด้วยกัน คือ แนวตอบ 1. องคป์ ระกอบด้านทุน 2. องคป์ ระกอบด้านผลติ ภณั ฑ์ 3. องคป์ ระกอบด้านลกู คา้ 4. องค์ประกอบด้านตนเอง 2. องคป์ ระกอบด้านผลิตภณั ฑ์ ประกอบด้วย แนวตอบ 1. คุณภาพของผลิตภณั ฑ์ ตลาดตอ้ งการอยา่ งไร 2. ระบวนการผลิตทีต่ ้องใช้ 3. นวตั กรรม เทคโนโลยี การลดตน้ ทนุ เป็นอย่างไร 4. บรรจภุ ณั ฑ์ 5. นวัตกรรม เทคโนโลยี การผลิตจะเข้าถงึ ไดร้ ะดบั ใด 6. การเก็บรกั ษา 3. ให้นกั ศกึ ษาวาดแผนภมู กิ รอบแนวคิดการทางานบนฐานขอ้ มูล แนวตอบ 4. ให้นักศกึ ษายกตัวอยา่ งทุนที่ผ้ปู ระกอบอาชพี จะนาเข้ามาบูรณาการใช้ลงทนุ ประกอบการมา 3 ทนุ แนวตอบ 1. เงินทุน ไดม้ าจากการออม จากการสะสมทุน จากการกูย้ ืมสถาบนั การเงิน 2. ทนุ ทด่ี นิ เปน็ ทต่ี ้ังสถานประกอบการ เป็นฐานการผลติ ท่ีจะต้องมีการจัดการให้ การใช้ทดี่ ินเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3. ทนุ ทางสิง่ แวดล้อม เช่น การเกษตรอนิ ทรยี ์ ตัง้ บนพนื้ ที่ป่าเขาโดยล้อมทาให้ได้ ความช้นื และปุ๋ยธรรมชาตมิ าตามลมและไหลมากบั นา้ ฝน ทาใหล้ ดต้นทุนเกี่ยวกับปยุ๋ หมักและจุลินทรยี ล์ งได้ 5. การเรียนรูเ้ พื่อพฒั นาศักยภาพ การคิด การกระทา ตามแนวปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงจะมงุ่ เน้น องคป์ ระกอบแห่งคุณคา่ 5 ประการ คือ แนวตอบ 1. การพฒั นาทกั ษะการคดิ หาเหตุผล 2. การพฒั นาทกั ษะการคิดตัดสินใจระบคุ วามพอดีสาหรับตนเองและชมุ ชน 3. การพฒั นาทักษะการคิดกาหนดแนวทางสรา้ งภูมคิ ุ้มกันใหก้ ับเรื่องท่ีจะทา

20 4. การพัฒนาทกั ษะการแสวงหาความร้แู ละสรุปองค์ความรู้ในเร่อื งทจี่ ะทา 5. การพัฒนาเจตคตเิ พือ่ การคิดการกระทาใหเ้ กิดคณุ ค่าในคุณธรรมและจรยิ ธรรม 6. ให้นักศกึ ษาสรุปความหมายของปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง แนวตอบ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง เป็นเรือ่ งของความร้สู ึก ความมุ่งมัน่ การรู้ทันและ เขา้ ใจในสงิ่ ที่จะทาคิดสร้างสรรคแ์ ละรบั รูโ้ ลกกว้าง เพื่อการดารงชวี ิตอยูอ่ ยา่ งพอเพยี งในสงั คมชุมชนของงาน และกา้ วเข้าสู่โลกแหง่ การแขง่ ขันทางเศรษฐกิจในระบบทนุ นิยมได้อยา่ งมีสตปิ ัญญา ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ไมไ่ ดป้ ฏเิ สธทนุ นิยม แตจ่ ะใช้พลังแห่งสติปญั ญา พัฒนาตนเอง สงั คม ชมุ ชน รว่ มกัน สร้างทนุ นิยมใหม่ นาพา ประเทศเข้าสู่ความเป็นมหาอานาจแห่งสันตสิ ขุ ทมี่ ่ันคงยัง่ ยืน 7. รปู กาย คอื แนวตอบ รปู กาย เปน็ องค์ประกอบของอวยั วะต่าง ๆ ทงั้ ภายนอกและภายในทาหนา้ ท่ี สอด ประสานกนั พรอ้ มทางานตามท่ีใจส่งั การ โดยคณุ ภาพของการกระทาเป็นตวั บง่ ชีส้ มรรถภาพทางใจ 8. การปฏิบตั ิการวเิ คราะหท์ าความเขา้ ใจตัวตนสามารถทาได้อยา่ งไร แนวตอบ 1. องค์ประกอบทเี่ ราจะเรียนร้ตู ้นแบบด้านการนึกคิดตรึกตรองจากตัวเราเอง คือ 1.1 ความรสู้ กึ 1.2 การจาได้ หมายรู้ 1.3 การคิดปรงุ แตง่ 1.4 การรับรู้ 2. การเตรียมการ ควรใช้สถานท่สี งบ สภาพอากาศสง่ิ แวดล้อมสบาย ๆ มีส่งิ รบกวน นอ้ ย 3. วธิ กี าร 9. ให้นกั ศกึ ษายกตวั อย่างของการรับรู้ แนวตอบ

21 10. การจัดการขยายอาชพี เพ่ือความม่นั คงตามแนวปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง มีความหมายว่าอย่างไร แนวตอบ กรรมวิธใี นการควบคุมการดาเนนิ งานทามาหากินให้ขยายก้าวออกไปให้เกิด ความแน่นและทนทานไม่กลบั เป็นอื่นตามหลักความรู้ ความจริงของงานเกย่ี วกับการผลิต การจาหนา่ ยจา่ ยแจก และการบริโภคใชส้ อยส่งิ ต่าง ๆ ของชุมชนเป็นไปตามต้องการ 11. การจัดการขยายอาชีพเพ่อื ความมั่นคง หมายถึง แนวตอบ กรรมวิธใี นการควบคุมการดาเนนิ งานทามาหากินใหแ้ ผ่กว้างออกไปดว้ ยความ ทนทานไม่กลับเป็นอื่น 12. เศรษฐกจิ หมายถึง แนวตอบ งานเก่ียวกับการผลติ การจาหน่ายจ่ายแจกและการบริโภคใชส้ อยสิง่ ต่าง ๆ ของชุมชน 13. เศรษฐกจิ พอเพยี งตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง แนวตอบ หลักแห่งความรู้ ความจริงของงานเกี่ยวกบั การผลติ การจาหนา่ ยจา่ ยแจกและการ บริโภคใชส้ อยสิง่ ตา่ ง ๆ ของชมุ ชนเปน็ ไปตามต้องการ 14. แผนธรุ กจิ คือ แนวตอบ แผนงานทางธุรกิจท่ีแสดงกิจกรรมตา่ ง ๆ ทีต่ ้องปฏิบัติในการลงทุนประกอบการ โดยมจี ุดเรม่ิ ต้นจากจะผลติ สินค้าและบริการอะไร มีกระบวนการปฏิบตั อิ ย่างไรบ้าง และผลจากการปฏบิ ตั ิ ออกมาไดม้ ากน้อยแค่ไหน ใชง้ บประมาณและกาลงั คนเท่าไร เพ่ือใหเ้ กิดเปน็ สนิ คา้ และบริการแก่ลูกค้า และจะ บรหิ ารธรุ กจิ อย่างไรธุรกิจจงึ จะอยู่รอด 15. ใหน้ ักศึกษาบอกความหมายของ SWOT แนวตอบ S (Strengths) จดุ แขง็ หรอื จุดเดน่ ของชมุ ชน W (Weaknesses) จดุ อ่อนหรอื ข้อดอ้ ยของชุมชน O (Opportunities) โอกาสท่ีจะสามารถดาเนนิ การได้ T (Threats) อปุ สรรคหรือปัจจยั ทีเ่ ปน็ ความเสี่ยงของชุมชนท่ีควรหลกี เลีย่ งในการ ปฏบิ ตั ิ 16. พันธกิจ คือ แนวตอบ ภาระงานท่ีผ้ปู ระกอบการจะตอ้ งดาเนินการให้เกดิ ผลสาเร็จตามวสิ ัยทัศน์ที่กาหนดไว้ ให้ได้ ผปู้ ระกอบการจะต้องสร้างทีมงานและกาหนดภารกจิ ของสถานประกอบการให้ชดั เจน ครอบคลุมทง้ั ดา้ น การผลติ และการตลาด 17. ทาไมจงึ ต้องปอ้ งกนั ความเสีย่ ง แนวตอบ 1. เพ่ือให้ผลดาเนนิ งานของหนว่ ยงานเปน็ ไปตามเปา้ หมายและวัตถปุ ระสงค์ ท่ีวางไว้ 2. เพ่ือสง่ เสริมความม่นั คง และลดความผนั ผวนของรายได้อันจะทาให้องค์การ เตบิ โตอยา่ งมเี สถียรภาพ 3. ลดโอกาสทจี่ ะทาใหเ้ กดิ การสญู เสยี จากการดาเนินงาน 4. เพิม่ คณุ ค่าใหก้ ับบุคลากร และผู้เก่ียวข้อง 5. เพือ่ ให้เกดิ การบรู ณาการกับระบบงานอ่ืนได้ดีกว่าเดิม

22 18. ประเภทสนิ คา้ แบ่งตามลกั ษณะการซื้อหรือการบริโภค แบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ แนวตอบ 1. สินค้าอุปโภค บริโภค หมายถึง สนิ คา้ หรอื บริการท่ีผซู้ ื้อซ้ือไปเพื่อใชเ้ อง หรือเพ่ือใช้ในครอบครวั 2. สินคา้ อุตสาหกรรม หมายถงึ สินค้าท่ีซ้ือมาเพ่ือนามาใช้ผลิตเป็นสนิ คา้ อ่นื ต่อไป หรือเพื่อใช้ในการดาเนินงานของธุรกิจ เชน่ วัตถดุ ิบ สนิ ค้าส่วนประกอบ อปุ กรณ์เครอื่ งจักร เครอ่ื งมือ สง่ิ ก่อสร้าง เป็นต้น 19. ค่าใชจ้ า่ ยต่าง ๆ สามารถแบง่ ออกได้เป็นก่ีประเภท อะไรบา้ ง แนวตอบ 3 ประเภท คอื 1. ตน้ ทุนขาย 2. คา่ ใช้จ่ายในการดา เนนิ งาน 3. ค่าใชจ้ า่ ยอืน่ 20. ข้นั ตอนการควบคุมคุณภาพการผลติ แบง่ ออกเปน็ 4 ขัน้ ตอน คือ แนวตอบ 1. ขั้นการกาหนดนโยบาย 2. ข้นั การออกแบบผลิตภัณฑ์ 3. ขัน้ ตอนการควบคุมคุณภาพของการผลิต 4. ขนั้ การจาหนา่ ย 21. ให้นกั ศึกษาบอกถงึ โครงสร้างของกฎระเบยี บการดาเนินงาน แนวตอบ โครงสรา้ งของกฎระเบยี บหรือข้อตกลงการทางานร่วมกันจะมีองคป์ ระกอบ หลกั ดังน้ี 1. แนวคิดอดุ มการณข์ องการขยายอาชีพ 2. วิถชี วี ิตในการทางาน 3. การใชว้ สั ดอุ ปุ กรณ์ 4. การทางาน 5. ความปลอดภัย 6. แรงจงู ใจ 22. หวั ข้อของการเขยี นโครงการควรประกอบไปด้วยอะไรบา้ ง แนวตอบ 1. ชอื่ โครงการ 2. เหตผุ ล หลกั การ 3. เปา้ ประสงค์ 4. วตั ถุประสงค์ 5. ผลไดข้ องโครงการ 6. วิธีดาเนนิ งาน 7. งบประมาณดาเนินการ 8. ผลดาเนนิ โครงการ 23. การเขยี นวิธดี าเนนิ งานมีขนั้ ตอนการเขียนอยา่ งไร แนวตอบ 1. ยกขอ้ ความ วัตถุประสงค์และผลได้โครงการมาเปน็ ตวั ตัง้ 2. ดาเนนิ การวิเคราะห์ผลได้แตล่ ะตวั เพื่อกาหนด กิจกรรม/ขั้นตอนวธิ ีการ ดาเนินงานทเี่ กดิ ผลได้ 3. ระบุเกณฑช์ วี้ ดั ความสาเรจ็ ของงาน 4. กาหนดระยะเวลาดาเนินงานท่ีเป็นจรงิ

23 24. คณุ ธรรมตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง หมายถงึ แนวตอบ สภาพคุณงามความดีของการทามาหากิน การผลิต การจาหน่ายจ่ายแจก การบรโิ ภค การใชส้ อยท่ีมคี วามขยนั ความประหยัด ความซือ่ สัตย์ และความอดทนเป็นหลกั ในการทางาน 25. การทาธุรกิจ หมายถงึ แนวตอบ การงานประจาเกยี่ วกับการทามาหากิน คา้ ขายแลกเปล่ยี นจากความหมาย ดงั กล่าว ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงได้ ระบุพฒั นาการของการทามาหากนิ ไว้เป็นระดับ ต้ังแต่ (1) ทาให้พออยู่ พอกิน (2) ทาใหอ้ ยู่ดีมีสุข และเขา้ สู่ (3) ความม่ังมีศรสี ขุ การทามาหากนิ ค้าขาย แลกเปล่ียนหรือที่เรยี กว่า ธรุ กจิ นัน้ จาเปน็ ที่จะต้องมีแผนในทุกระดับ

24 ทปี่ รกึ ษา คณะผู้จัดทา นางวิไลลกั ษณ์ โรจนาศรีรตั น์ ผอ.กศน.อาเภอโนนสูง ผู้ใหข้ อ้ มูล นางสาวศวิ พร เพช็ รนิล ครู กศน.ตาบลโนนสูง นายวสนั ต์ เจโคกกรวด ครู กศน.ตาบลใหม่ นางสาววารณุ ี ยวงกลาง ครู กศน.ตาบลโตนด นางกมลพัชร หนานโพธิ์ ครู กศน.ตาบลบงิ นายวชิ ิต ชชู วี า ครู กศน.ตาบลดอนชมพู นางสาวศิรวิ รรณ หรภูมิ ครู กศน.ตาบลธารปราสาท นายเจษฎาภทั ร ชุ่มกลาง ครู กศน.ตาบลหลุมขา้ ว นายชัยภทั ร งมึ กระโทก ครู กศน.ตาบลมะค่า นางชิดชนก เลศิ วชิ ัย ครู กศน.ตาบลพลสงคราม นางสาวภาตยิ า อารี ครู กศน.ตาบลจนั อดั นางประไพ ปิยสนั ท์ ครู กศน.ตาบลขามเฒ่า นางสาวนฐั พร พยัคฆพงษ์ ครู กศน.ตาบลด่านคล้า นางประสงค์ ปลัง่ กลาง ครู กศน.ตาบลลาคอหงษ์ นางสาวเสาวนีย์ พลกลาง ครู กศน.ตาบลเมืองปราสาท นายธนภทั ร นาวา ครู กศน.ตาบลดอนหวาย นางสาวอรอนิ ทุ์ สขุ มิน ครู กศน.ตาบลลามูล นางฐติ ิยาพรรณ ชานาญโชติศิริ ครู ศรช.ตาบลโนนสงู นางสาวสุธนี คชาศริ ิสกลุ ครผู ู้สอนคนพิการ นางสาวณภิ า จนั ทรร์ ัตนประภา ครผู ู้สอนคนพิการ นางสาวจุฑารัตน์ บุญมามอญ ครู ศรช.ตาบลหลุมขา้ ว ผูร้ า่ ง/ผเู้ รยี บเรียง/ผู้พิมพ์ ครูชานาญการ นางสาวปรารถนา ชีโพธ์ิ