เหตุ ใด นักวิทยาศาสตร์ จึง จำแนกสิ่งมีชีวิต ออก เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

เหตุ ใด นักวิทยาศาสตร์ จึง จำแนกสิ่งมีชีวิต ออก เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
อาณาจักรโพรตีสตา (kingdom protista) 
เหตุ ใด นักวิทยาศาสตร์ จึง จำแนกสิ่งมีชีวิต ออก เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

             โพรทิสตา เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีเซลล์ชนิดยูแคริโอต มีทั้งชนิดเซลล์เดียวและหลายเซลล์ ได้แก่ สัตว์เซลล์เดียว (protozoa) สาหร่ายต่างๆได้แก่ สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีน้ำตาล สาหร่ายสีแดง สาหร่ายสีทอง เช่น ไดอะตอ

             การจัดแบ่งสิ่งมีชีวิตออกเป็น 2 อาณาจักร คือ อาณาจักรพืชและอาณาจักรสัตว์นั้นเกิดปัญหาที่สำคัญคือสิ่งมีชีวิต บางชนิดมีลักษณะทั้งพืชและสัตว์อยู่ในตัวเอง จึงทำให้นักพฤกษศาสตร์จัดไว้ในอาณาจักรพืช และนักสัตววิทยาก็จัดไว้ในอาณาจักรสัตว์ ซึ่งมันไม่น่าจะเป็นไปได้ที่สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวอยู่ทั้งสองอาณาจักร ดังนั้น Ernst Haeckel นักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันจึงได้ เสนอชื่อ โปรติสตา (protista) ซึ่งหมายถึงสิ่งมีชีวิตพวกแรก ๆ ขึ้นมาใช้ จึงทำให้แยกสิ่งมีชีวิตที่ไม่มีลักษณะของพืชหรือสัตว์ อย่างชัดเจน ออกจากอาณาจักรพืชและอาณาจักรสัตว์ แล้วตั้งเป็นอาณาจักรใหม่ ชื่อ "อาณาจักรโปรติสตา


เหตุ ใด นักวิทยาศาสตร์ จึง จำแนกสิ่งมีชีวิต ออก เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
ลักษณะสำคัญของสิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโปรติสตา
เหตุ ใด นักวิทยาศาสตร์ จึง จำแนกสิ่งมีชีวิต ออก เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์


1. ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน ส่วนมากประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) บางชนิดมีหลายเซลล์รวมกันเป็นกลุ่ม
เรียกว่า โคโลนี (colony) หรือเป็นสายยาว (filament) แต่ยังไม่ทำหน้าที่ ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ (tissue)หรืออวัยวะ (organ) แต่ละเซลล์สามารถทำหน้าที่ของความเป็นสิ่งมีชีวิตได้ครบถ้วนอย่าง อิสระ 
2. ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo) ซึ่งต่างจากพืชและสัตว์ที่มีระยะตัวอ่อนก่อนที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัย 
3. การดำรงชีพ มีทั้งชนิดที่เป็นผู้ผลิต (Autotroph) เพราะมีคลอโรฟิลล์ เป็นผู้บริโภค (Consumer) และเป็นผู้ย่อยสลายอินทรียสาร (Decomposer)
4. โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก (Eucaryotic) ซึ่งมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส ได้แก่ โพรโทซัว เห็ด รา ยีสต์ ราเมือก สาหร่ายต่าง ๆ 
5. การเคลื่อนที่ บางชนิดเคลื่อนที่ได้โดยใช้ ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum) หรือซูโดโปเดียม (Pseudopodium) บางชนิดเคลื่อนที่ไม่ได้
6. การสืบพันธุ์ ทั้งแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) แบบอาศัยเพศมีทั้งชนิดคอนจูเกชัน (Conjugation) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาดเหมือนกัน มารวมกัน ดังเช่นที่พบในพารามีเซียม ราดำ เป็นต้น และชนิดปฏิสนธิ (fertilization) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ ที่มีรูปร่างและขนาดต่างกันมารวมกัน ดังเช่นที่พบในสาหร่ายเป็นส่วนใหญ่ เป็นต้น


เหตุ ใด นักวิทยาศาสตร์ จึง จำแนกสิ่งมีชีวิต ออก เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรนี้แบ่งเป็น 9 ไฟลัม คือ 


1. ไฟลัมโพรโทซัว (Phylum Protazoa) 
2. ไฟลัมคลอโรไฟตา (Phylum Chlorophyta) 
3. ไฟลัมคริสโซไฟตา (Phylum Chrysophyta) 
4. ไฟลัมยูกลีโนไฟตา (Phylum Euglenophyta) 
5. ไฟลัมเฟโอไฟตา (Phylum Phaeophyta) 
6. ไฟลัมไพรโรไฟตา (Phylum Pyrrophyta) 
7. ไฟลัมโรโดไฟตา (Phylum Rhodophyta) 
8. ไฟลัมยูไมโคไฟตา (Phylum Eumycophyta) 
9. ไฟลัมมิกโซไมโคไฟตา (Phylum Myxomycophyta

             สิ่งมีชีวิตในอาณาจักรโพรทิสตาหรือเรียกรวมๆว่า กลุ่มโพรทิสต์ มีลักษณะสำคัญคือส่วนใหญ่เป็นพวกที่มีเซลล์เดียวหรือหลายเซลล์ แต่เซลล์ยังไม่มีการจัดตัวกันเป็นเนื้อเยื่อดังเช่นพืชและสัตว์ สิ่งมีชีวิตบางชนิดในกลุ่มนี้ ยังมีลักษณะของทั้งพืชและสัตว์ร่วมกัน กล่าวคือในเซลล์มีคลอโรฟิลล์เช่นเดียวกับพืช แต่มีโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ได้เช่นเดียวกับสัตว์ ดังนั้น นักชีววิทยาจึงจัดสิ่งมีชีวิตพวกนี้ไว้เป็นอาณาจักรที่แยกออกจากกลุ่มสัตว์และพืช

เหตุ ใด นักวิทยาศาสตร์ จึง จำแนกสิ่งมีชีวิต ออก เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

ภาพแสดงอาณาจักรโพรตีสตา

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/48506

เหตุ ใด นักวิทยาศาสตร์ จึง จำแนกสิ่งมีชีวิต ออก เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์
ลักษณะสำคัญของโปรติสต์ (Protist) 
เหตุ ใด นักวิทยาศาสตร์ จึง จำแนกสิ่งมีชีวิต ออก เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

         1.ร่างกายประกอบด้วยโครงสร้างง่ายๆไม่ซับซ้อน ส่วนมากประกอบด้วยเซลล์เดียว (unicellular) บางชนิดมีหลายเซลล์รวมกันเป็นกลุ่ม เรียกว่า โคโลนี (colony) หรือเป็นสายยาว (filament) แต่ยังไม่ทำหน้าที่ร่วมกันเป็นเนื้อเยื่อ (tissue)หรืออวัยวะ (organ) แต่ละเซลล์สามารถทำหน้าที่ของความเป็นสิ่งมีชีวิตได้ครบถ้วนอย่างอิสระ 
         2.ไม่มีระยะตัวอ่อน (Embryo) ซึ่งต่างจากพืชและสัตว์ที่มีระยะตัวอ่อนก่อนที่จะเจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัย 
         3.การดำรงชีพ มีทั้งชนิดที่เป็นผู้ผลิต(Autotroph) เป็นผู้บริโภค (Consumer)และเป็นผู้ย่อยสลายอินทรียสาร 
         4.โครงสร้างของเซลล์เป็นแบบยูคาริโอติก(Eucaryotic) ซึ่งมีเยื่อหุ้มนิวเคลียส 
         5.การเคลื่อนที่ บางชนิดเคลื่อนที่ได้โดยใช้ ซีเลีย (cilia) แฟลกเจลลัม (flagellum) หรือซูโดโปเดียม (Pseudopodium)        บางชนิดเคลื่อนที่ไม่ได้ 
         6.การสืบพันธุ์ ทั้งแบบไม่อาศัยเพศ (Asexual reproduction) และแบบอาศัยเพศ (Sexual reproduction) แบบอาศัยเพศมีทั้งชนิดคอนจูเกชัน (Conjugation) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ที่มีรูปร่างและขนาดเหมือนกัน มารวมกัน ดังเช่นที่พบในพารามีเซียม ราดำ เป็นต้น และชนิดปฏิสนธิ (fertilization) ซึ่งเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ ที่มีรูปร่างและขนาดต่างกันมารวมกัน ดังเช่นพบในสาหร่ายเป็นส่วนใหญ่

เหตุ ใด นักวิทยาศาสตร์ จึง จำแนกสิ่งมีชีวิต ออก เป็นสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และ สิ่งมีชีวิตหลายเซลล์

ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/47297

ขอขอบคุณ :1. http://www.dmj.ac.th/Woralukkhana/Kingdom%20Protista.htm

2. http://www.thaigoodview.com/node/47297

3. http://student.nu.ac.th/u46410999/lesson%201.htm