กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด

สังคายนาครั้งที่ 1

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
สาเหตุปัจจัยที่นำไปสู่การทำสังคายนาครั้งที่ 1 นี้มีว่า หลังจากพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จปรินิพพานได้เพียง 7 วัน พระมหากัสสปเถระได้พาภิกษุจำนวน 500 รูป ออกเดินทางจากเมืองปาวาเพื่อไปเฝ้าพระพุทธเจ้า ระหว่างทางได้พักแรม ณ โคนไม้แห่ง
หนึ่ง ได้พบกับอาชีวกคนหนึ่งซึ่งเดินทางผ่านมาในมือถือดอกมณฑารพ จึงได้ทราบว่า พระบรมศาสดาเข้าสู่ปรินิพพานแล้ว พวกภิกษุที่เป็นพระอรหันต์ได้ฟังข่าวนี้ต่างก็ปลงสังเวช แต่ภิกษุอีกส่วนหนึ่งที่ยังเป็นปุถุชนอยู่ไม่อาจอดกลั้นน้ำตาไว้ได้ ต่างก็ร้องไห้คร่ำครวญ ภิกษุรูปหนึ่งชื่อ สุภัททะ ได้กล่าวปลอบพวกภิกษุที่กำลังตกอยู่ในความเศร้าโศกเหล่านั้นว่า ท่านผู้มีอายุ พวกท่านอย่าร้องไห้คร่ำครวญไปเลย

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
เมื่อสมณะรูปนั้นขณะที่มีชีวิตอยู่ก็คอยตักเตือนพวกเราว่าอย่าทำอย่างนั้น อย่าทำอย่างนี้ พวกเราจึงไม่อาจทำในสิ่งที่ต้องการจะทำ นับแต่บัดนี้เป็นต้นไป พวกเราจะทำอะไรก็ทำได้ตามความพอใจของพวกเรา จะไม่มีใครติเตียนว่ากล่าวอีกแล้ว
เมื่อพระมหากัสสปเถระได้ปรารภถึงถ้อยคำของพระสุภัททะนี้แล้ว เห็นว่าเป็นถ้อยคำที่จ้วงจาบพระธรรมวินัย เป็นการทำลายพระพุทธศาสนา จึงได้นำเข้าปรึกษาในที่ประชุมสงฆ์ภายหลังจากพุทธปรินิพพานไปแล้ว 3 เดือน แล้วจัดทำสังคายนาขึ้น

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การทำสังคายนาครั้งที่ 1 นี้ จัดที่ถ้ำสัตตบรรณคูหา ข้างภูเขาเวภารบรรพต ใกล้กรุงราชคฤห์ แคว้นมคธ ประเทศอินเดีย ทำเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานไปแล้ว 3 เดือน พระอรหันต์จำนวน 500 องค์เข้าร่วมประชุม โดยมีพระมหากัสสปะเถระเป็นประธานฝ่ายสงฆ์และเป็นองค์ปุจฉา (ถาม) พระอุบาลีเถระเป็นองค์วิสัชนา (ตอบ) พระวินัย พระอานนท์เถระเป็นองค์วิสัชนาพระสูตร พระเจ้าอชาตศัตรู กษัตริย์ผู้ครองกรุงราชคฤห์เป็นองค์อุปถัมภก และเป็นประธานฝ่ายฆราวาส ใช้เวลา 7 เดือนจึงเสร็จ

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
ข้อที่น่าสังเกตในการทำสังคายนาครั้งที่ 1 นี้ คือ คำที่ใช้เรียกหลักคำสอนของพระพุทธเจ้า จะใช้คำว่า “ธรรมวินัย” ยังไม่ปรากฏมีความว่า “พระไตรปิฎก” และ “พระอภิธรรม”

สังคายนาครั้งที่ 2

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การประชุมทำสังคายนาในครั้งที่ 2 นี้เกิดขึ้นหลังจากพุทธปรินิพพานแล้ว 100 ปี สาเหตุที่นำไปสู่การสังคายนา คือ ภิกษุชาวแคว้นวัชชีจำนวนมากจงใจละเมิดพระวินัย คือ สิกขาบทอันมีมาในพระปาติโมกข์ 10 ประการคือ

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด

1. สิงคิโลณกัปปะ เก็บเกลือเอาไว้ปรุงอาหารฉันได้ (ผิด เพราะสะสมอาหาร ปรับอาบัติปาจิตตีย์)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
2. ทวังคุลกัปปะ ฉันโภชนะเมื่อเวลาบ่ายตอนที่ตะวันล่วงไปแล้ว 2 องคุลีได้ (ผิด เพราะฉันโภชนะในเวลาวิกาล ปรับอาบัติปาจิตตีย์)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
3. คามันตรกัปปะ ภิกษุฉันเสร็จแล้วเข้าไปในละแวกบ้าน ฉันโภชนะอีกซึ่งเป็นอาหารเหลือได้ (ผิด เพราะฉันอาหารพร่ำเพรื่อ คือฉันแล้วฉันอีก ปรับอาบัติปาจิตตีย์)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
4. อาวาสกัปปะ มีสีมาเดียวกัน แต่ทำอุโบสถไม่พร้อมกันได้ (ผิด เพราะไม่สามัคคีกัน ปรับอาบัติทุกกฏ)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
5. อนุมติกัปปะ สงฆ์ยังไม่พร้อม อาจทำสังฆกรรมไปก่อนได้ ผู้มาทีหลังจึงขออนุมัติ (ผิด เพราะให้ทำฉันทะมาก่อนแล้วยจึงทำสังฆกรรม ปรับอาบัติทุกกฎ)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
6. อาจิณณกัปปะ ประพฤติตนตามธรรมเนียมที่อาจารย์เคยประพฤติมาได้ (ผิด เพราะความประพฤติบางอย่างถือว่าไม่สมควร)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
7. อมถิตกัปปะ นมสดที่แปรสภาพแต่ยังไม่ถึงความเป็นนมส้ม ภิกษุฉันอาหารแล้วจะดื่มนมอันเป็นของเหลือ (อนติริตตะ) ได้ (ผิด เพราะโภชนะอันเป็นอนติริตตะ)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
8. ชโลคิงปาตุง ดื่มสุราอย่างอ่อนที่ยังไม่ถึงความเป็นน้ำเมาได้ (ผิด เพราะดื่มสุราและเมรัย ปรับอาบัติปาจิตตีย์)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
9. อทสกัง นิสีทนัง ใช้ผ้าปูที่นั่งไม่มีชายได้ (ผิด เพราะละเมิดบัญญัติที่ให้ภิกษุต้องนั่งผ้าปูที่มีชาย ปรับอาบัติปาจิตตีย์)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
10. ชาตรูปรชตัง รับเงินและทองได้ (ผิด เพราะห้ามมิให้ภิกษุรับเงินและทอง ปรับอาบัติปาจิตตีย์)


ในคราวนั้น พระยสกากัณฑบุทต ชาวเมืองปาฐา จาริกมาถึงเมืองเวสาลี เห็นพวกภิกษุชาววัชชีประพฤติผิดบัญญัติ 10 ประการ จึงได้นำเอาเรื่องนี้ไปแจ้งแก่พระเถระหลายรูป ในที่สุดพระเถระทั้งหลายก็เห็นพ้องกันว่าควรจะชักชวนภิกษุชาวเมืองปาวาและ ภิกษุชาวเมืองอวันตี มาประชุมทำสังคายนา และการทำสังคายนาครั้งที่ 2 ก็เกิดขึ้นในที่สุด

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การทำสังคายนาครั้งที่ 2 นี้ ทำที่วาลิการาม เมืองเวลาสี แคว้นวัชชี ประเทศอินเดีย พระอรหันต์เข้าร่วมประชุมจำนวน 700 รูป พระสัพพกามีเถระ เป็นองค์ประธานฝ่ายสงฆ์และเป็นองค์วิสัชนา พระเรวตเถระเป็นองค์ปุจฉา พระเจ้ากาลาโศกราช กษัตริย์ผู้ครองแคว้นมคธและวัชชีเป็นองค์อุปถัมภกและเป็นประธานฝ่ายฆราวาส ใช้เวลาทำสังคายนาครั้งนี้ 8 เดือนจึงเสร็จ
ในการประชุมสังคายนาครั้งนี้มติในที่ประชุมสงฆ์ตัดสินว่า การที่ภิกษุชาววัชชีประกาศวัตถุ 10 ประการนั้นผิดทุกข้อ ซึ่งถือว่าเป็นบัญญัติที่หลีกเลี่ยงคำสอนของพระบรมศาสดา เมื่อมติออกมาเช่นนี้ จึงเป็นผลให้ภิกษุชาววัชชีประมาณ 700 รูป แยกตัวออกไป ไม่ยอมปฏิบัติตามหลักพระวินัยเดิมที่พระเถระผู้ใหญ่กำหนดในการทำสังคายนาครั้งนี้ และมีภิกษุอื่น ๆ ที่เห็นด้วยกับพวกภิกษุวัชชีบุตรอีกรวมแล้วประมาณ 10,000 รูป จากนั้นก็พากันจัดทำสังคายนาขึ้นใหม่ เรียกว่า “มหาสังคีติ” ประกาศขื่อของพวกตนว่า “มหาสังฆิกะ” ซึ่งแปลว่า พวกมากหรือหมู่ใหญ่


กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
นัก ปราชญ์ทางพระพุทธศาสนาเชื่อว่า กลุ่มมหาสังฆิกะ เป็นกลุ่มที่เป็นต้นกำเนิดนิกายมหายาน เพราะเป็นกลุ่มที่ประกาศแยกออกมาอย่างชัดเจน แล้วมาร่วมกันรจนาพระธรรมในความหมายใหม่ว่า ธรรมนั้นเป็นพาหนะใหญ่ ช่วยขนเอาสรรพสัตว์ได้อย่างกว้างขวาง ไม่ยอมถอนวัตถุ 10 ประการ และยึดถือหลักปฏิบัติตามมติและทิฐิของครูอาจารย์เป็นสำคัญ จึงกลายเป็นฝ่าย อาจริยวาท (อาจริยวาทิน) แล้วเรียกพวกตนว่า “มหายาน” และเรียกฝ่ายตรงกันข้ามว่า “เถรวาท” หรือ “หีนยาน” ดังนั้นผลของการทำสังคายนาครั้งที่ 2 นี้ทำให้พระพุทธศาสนาแยกออกเป็น 2 นิกายใหญ่ ๆ คือ กลุ่มเถรวาทหรือหีนยาน กับกลุ่มอาจริยวาทหรือมหายาน และทั้ง 2 นิกายนี้ก็ยังแยกออกเป็นนิกายย่อย ๆ อีก กล่าวคือ

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด

1. กลุ่มเถรวาท บางทีเรียกว่า “สถวีร” แยกเป็นนิกายย่อย ๆ อีก 16 นิกาย (รวมทั้งนิกายเดิมคือ สถวีร)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
2. กลุ่มอาจาริยวาท หรือบางทีเรียกว่า “มหาสังฆิกะ” แยกออกเป็นนิกายย่อย ๆ อีก 10 นิกาย (รวมทั้งนิกายเดิมคือ มหาสังฆิกะ)

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
เมื่อพุทธศักราชล่วงไปได้ประมาณ 1,000 ปี ฝ่ายมหายานได้หันเหลัทธิและทิฐิของตนไปผสมผสาน และปะปนกับลัทธิท้องถิ่นที่เผยแผ่เข้าไปถึงบ้าง ผสมผสานกับลัทธิในศาสนาอื่นบ้าง เช่น ศาสนาพราหมณ์ (ฮินดู) เป็นต้น จึงเป็นเหตุให้เกิดลัทธิใหม่ขึ้น เช่น ลัทธิโยกาจาร เป็นลัทธิที่ผสมผสานระหว่างลัทธิพุทธกับตันตระของพราหมณ์ จนกลายเป็น “พุทธตันตรยาน” และ “วัชรยาน” ซึ่งเป็นพุทธศาสนาอีกแบบหนึ่ง ซึ่งจะเห็นได้ในทิเบต ที่รู้จักในชื่อว่า ลัทธิลามะของทิเบต


สังคายนาครั้งที่ 3

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การทำสังคายนาครั้งที่ 3 นี้ มีสาเหตุมาจากพระพุทธศาสนาได้รับความยอมรับนับถืออย่างกว้างขวาง มีผู้มีศรัทธาขอบวชในพุทธศาสนาจำนวนมาก จนเป็นสาเหตุให้นักบวชนอกศาสนาขาดลาภสักการะ พวกนี้บางทีเรียกว่า “เดียร์ถีย์” ได้ปลอมบวชในพุทธศาสนา แสดงลัทธิขัดต่อหลักพุทธศาสนา ทำการเผยแพร่ลัทธิของตนในนามพระพุทธศาสนา เป็นผลให้เกิดการรังเกียจ แตกแยกและเคลือบแคลงสงสัยในวงการพุทธศาสนา จนไม่ทำอุโบสถสังฆกรรมร่วมกันเป็นเวลานานถึง 7 ปี พระเจ้าอโศกมหาราช ซึ่งเป็นกษัตริย์ผู้ทรงศรัทธาเลื่อมใสพุทธศาสนาอย่างแรงกล้า และทรงเป็นองค์อุปถัมภก ทรงวิตกว่าหากไม่แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นแล้ว ก็จะทำให้พุทธศาสนาเสื่อมสลายไป ดังนั้น พระองค์จึงทรงอาราธนาพระโมคคัลลีบุตรติสสเถระให้ช่วยชำระสอบสวน และกำจัดพวกเดียร์ถีร์ออกไปจากธรรมวินัยเสีย ในครั้งนั้นพวกภิกษุที่ปลอมบวชในพระพุทธศาสนาได้ถูกจับสึกเป็นจำนวนมาก หลังจากนั้น พระเจ้าอโศกมหาราชก็ทรงให้อาราธนาภิกษุผู้บริสุทธิ์ร่วมกันทำอุโบสถสังฆกรรม พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระเห็นเป็นโอกาสสมควรจึงได้จัดให้มีการทำสังคายนาขึ้น
หลังจากการทำสังคายนาครั้งที่ 3 นี้เสร็จสิ้นลงแล้ว พระเจ้าอโศกมหาราชกับพระโมคัลลีบุตรติสสเถระ ได้มีความเห็นร่วมกันว่า ในอนาคตพุทธศาสนาอาจไม่มั่นคงอยู่ในอินเดีย จึงเห็นควรส่งพระสมณทูตออกไปเผยแผ่ในส่วนต่าง ๆ ของอินเดียและในต่างประเทศ ด้วยเหตุนี้ จึงมีการส่งพระสมณทูตออกประกาศพุทธศาสนา โดยแบ่งออกเป็น 9 สาย ภายใต้พระราชูปถัมภ์ของพระเจ้าอโศกมหาราช พระสมณทูต 9 สายคือ

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
สายที่ 1 มีพระมัชฌันติกเถระ เป็นหัวหน้าคณะ เดินทางไปเผยแผ่พุทธศาสนาทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย คือ แคว้นกัษมีระ (แคชเมียร์) และแคว้านคันธาระ
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
สายที่ 2 มีพระมหาเทวเถระ เป็นหัวหน้าคณะ เดินทางไปเผยแผ่พุทธศาสนาทางทิศใต้ของประเทศอินเดีย คือ แคว้น
มหิสมณฑล (ปัจจุบัน คือ รัฐไมซอร์)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
สายที่ 3 มีพระรักขิตเถระ เป็นหัวหน้าคณะ เดินทางไปเผยแผ่พุทธศาสนาทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ของอินเดีย ซึ่งได้แก่ แคว้นวนวาสีประเทศ
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
สายที่ 4 มีพระธรรมรักขิตเถระ เป็นหัวหน้าคณะ เดินทางไปเผยแผ่พุทธศาสนาแถบชายฝั่งตะวันตกของอินเดีย อันได้แก่ แคว้น
อปรันตกชนบท (ปัจจุบัน คือ แถบบริเวณเหนือเมืองบอมเบย์)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
สายที่ 5 มีพระมหาธรรมรักขิตเถระ เป็นหัวหน้าคณะ เดินทางไปเผยแผ่พุทธศาสนาทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือของเมืองบอมเบย์ อันได้แก่ แคว้นมหาราษฎร์
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
สายที่ 6 มีพระมหารักขิตเถระ เป็นหัวหน้าคณะ เดินทางไปเผยแผ่พุทธศาสนาที่โยนกประเทศ (กรีซ)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
สายที่ 7 มีพระมัชฌิมเถระ เป็นหัวหน้าคณะ เดินทางไปเผยแผ่พุทธศาสนาทางดินเดียภาคเหนือ (แถมเทือกเขาหิมาลัยและประเทศเนปาล)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
สายที่ 8 มีพระโสณเถระและพระอุตตรเถระ เดินทางไปเผยแผ่พุทธศาสนาในแถบสุวรรณภูมิ (ดินแดนที่เรียกว่า สุวรรณภูมิ ไม่อาจตกลงกันได้ว่าที่ใด แต่มีความเป็นกว้าง ๆ ว่า คือดินแดนที่เป็นประเทศพม่า (เมียนมาร์) ไทย ลาว ญวน เขมร และมลายู)
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
สายที่ 9 มีพระมหินทเถระ เป็นหัวหน้าคณะ เดินทางไปเผยแผ่พุทธศาสนา ณ ลังกาทวีป (ปัจจุบัน คือ ศรีลังกา)

สังคายนาครั้งที่ 4

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การ ทำสังคายนาครั้งที่ 4 นี้ ไม่ได้ทำในประเทศอินเดีย แต่จัดทำขึ้นที่ลังกา เมื่อพุทธศักราช 236 (บางแห่งว่า พ.ศ. 238) โดยพระมหินทเถระที่เดินทางไปเผยแผ่พุทธศาสนาที่ลังกา ได้เป็นพระเถระองค์สำคัญในการจัดทำสังคายนาครั้งนี้ โดยจัดขึ้นที่ถูปาราม อนุราชบุรี ประเทศศรีลังกา วัตถุประสงค์สำคัญในการจัดครั้งนี้ก็เพื่อความตั้งมั่นแห่งพุทธศาสนาและเป็น การวางรากฐานให้ชาวศรีลังกาท่องจำพุทธวจนะตามแนวที่จัดระเบียบไว้แล้วใน อินเดีย ไม่ปรากฏหลักฐานว่าทำอยู่นานเท่าไรจึงสำเร็จ

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
ตามที่หลักฐานปรากฏในบางแห่งระบุว่า การทำสังคายนาครั้งที่ 4 นี้ จัดทำที่เมืองบุรุษปุระในอินเดียภาคเหนือ ซึ่งเป็นการจัดทำของฝ่ายมหายาน (อาจาริยวาท) โดยความอุปถัมภ์ของพระเจ้ากนิษกะ แต่ฝ่ายเถรวาทได้แก่ ไทย ลาว พม่า เขมร ลังกา ไม่ยอมรับรอง เพราะถือว่าเป็นการสังคายนาของนิกายอื่น ผลอันหนึ่งของการสังคายนาครั้งนี้ คือ ฝ่ายมหายานใช้ภาษาสันสกฤต ในการจารึกพระไตรปิฎก

สังคายนาครั้งที่ 5

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การทำสังคายนาครั้งที่ 5 นี้ จัดขึ้นที่มหาวิหาร ประเทศลังกา เมื่อพุทธศักราช 450 ปี (บางแห่งเป็น พ.ศ. 433) สาเหตุของการจำทำครั้งนี้เกิดจากพระราชดำริของพระเจ้าวัฏฏคามณีอภัย (บางแห่งเป็นทุฏฐคามินีอภัย) กษัตริย์ปกครองลังกา ที่ว่าเมื่อกาลเวลาล่วงไป หากยังคงใช้วิธีการท่องจำพระพุทธวจนะ โดยไม่มีการจารึกไว้หเป็นลายลักษณ์อักษรแล้ว ความคลาดเคลื่อนและผิดพลาดอาจเกิดขึ้น ซึ่งจะเป็นสาเหตุให้คำสอนของพุทธศาสนาผิดไปจากเดิม ในที่สุดพุทธศาสนาก็จะเสื่อมสูญไปตามกาลเวลา
อาศัยพระราชดำริของกษัตริย์ลังกานี้เอง จึงเกิดการทำสังคายนาครั้งที่ 5 ขึ้น โดยพระองค์ทรงโปรดให้พระพุทธทัตตเถระกับพระมหาติสสเถระร่วมกันดำเนินการ มีพระสงฆ์เข้าร่วมประชุมจำนวน 1,000 รูป สังคายนาครั้งนี้มีความสำคัญ สรุปได้ 2 ประการคือ

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
1. นับเป็นครั้งแรกที่มีการจดบันทึกพระพุทธวจนะเป็นลายลักษณ์อักษรลงบนใบลาน ด้วยภาษาบาลี ตามตำนานระบุว่าได้จารึกอรรถกถาลงไว้ด้วย
กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
2. พระธรรมวินัยที่ถูกจารึกไว้เป็นลายลักษณ์อักษรครั้งนี้ ถือว่าเป็นต้นฉบับของพระไตรปิฎก ของฝ่ายเถรวาท ซึ่งภายหลังปรากฏว่า มีผู้นำเอาไปแปลเป็นภาษาของตน

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การทำสังคายนาครั้งที่ 5 นี้ เป็นที่ยอมรับกันโดยทั่วไปของกลุ่มเถรวาท ความจริงการสังคายนานั้นมีการจัดทำกันหลายครั้งในที่หลายแห่ง ฝ่ายที่จัดทำก็มีทั้งฝ่ายเถรวาทและอาจริยวาท โดยต่างคนต่างทำในฝ่ายของตนเอง และต่างก็ไม่ยอมรับซึ่งกันและกัน แม้ในฝ่ายเถรวาทเองก็ได้จัดทำสังคายนาหลายครั้งหลังจากการทำสังคายนาครั้งที่ 5 ผ่านไปแล้ว

สรุปการสังคายนาพระไตรปิฎก 5 ครั้ง

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด

ครั้งที่ สังคายนาเมื่อ องค์ประธานฝ่ายสงฆ์ องค์อุปถัมภก จำนวนผู้เข้าร่วม สถานที่
1 หลังพุทธปรินิพพาน 3 เดือน เวลา 7 เดือน พระมหากัสสปเถระ พระเจ้าอชาตศัตรู พระอรหันต์ 500 องค์ ถ้ำสัตตบรรณคูหา เขาเวภาระเมืองราชคฤห์ อินเดีย
2 หลังพุทธปรินิพพาน 100 ปีเวลา 8เดือน พระสัพพกามีเถระ พระเจ้ากาลาโศกราช พระอรหันต์ 700 องค์ วาลิการาม เมืองเวสาลี แคว้นวัชชี อินเดีย
3 หลังพุทธปรินิพพาน 218 ปีเวลา 9เดือน

พระโมคคัลลีบุตร

ติสสเถระ

พระเจ้าอโศกมหาราช พระอรหันต์ 1,000 องค์ อโศการาม เมืองปาฏลีบุตร อินเดีย
4 ปีพ.ศ. 236 พระมหินทเถระ - - ถูปาราม อนุราชบุร ีศรีลังกา
5 ปีพ.ศ. 450 พระพุทธทัตตเถระ พระเจ้าทุฏฐคามีนีอภัย พระสงฆ์ 1,000รูป มหาวิหาร ศรีลังกา

การทำสังคายนาในประเทศไทย

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การทำสังคายนาในประเทศไทยแบ่งเป็น 4 ครั้ง กล่าวโดยสรุปดังนี้


การสังคายนาครั้งที่ 1

ความจริงสมัยนั้น เมืองเชียงใหม่เป็นอิสระ และถือได้ว่าภูมิภาคแถบนั้นเป็นประเทศล้านนาไทย แต่เมื่อรวมกันเป็นประเทศไทยในภายหลัง ก็ควรจะได้กล่าวถึงการชำระพระไตรปิฏก และการจารลงในใบลาน

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
พระเจ้าติโลกราชผู้นี้ มีเรื่องกล่าวถึงไว้ในหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์สั้น ๆ ว่าสร้างพระพุทธรูปในจุลศักราช 845 ในหนังสือสังคีติยวงศ์เล่าเรื่องสร้างพระพุทธรูปชนาดใหญ่ ตรงกับหนังสือชินกาลมาลีปกรณ์ แต่มีเล่าเรื่องสังคายนาพระไตรปิฏกด้วย (พ.ศ. 2020) พระเจ้าติโลกราชได้อาราธนาพระภิกษุผู้ทรงพระไตรปิฎกหลายร้อยรูป มีพระธรรมทินเถระเป็นประธาน ให้ชำระอักษรพระไตรปิฎกในวัดโพธาราม 1 ปีจึงสำเร็จ เมื่อทำการฉลองสมโภชแล้ว ก็ได้ให้สร้างมณเฑียรในวัดโพธาราม เพื่อประดิษฐานพระไตรปิฎก
ข้อที่น่าสังเกตก็คือ ตัวอักษรที่ใช้ในการจารึกพระไตรปิฏกในครั้งนั้น คงเป็นอักษรแบบไทยล้านนา คล้ายอักษรพม่า มีผิดเพี้ยนกันบ้าง และพอเดาออกเป็นบางตัว

สังคายนาครั้งที่ 2

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงโปรดฯ ให้อาราธนาพระสงฆ์ผู้ทรงความรู้ให้ชำระพระไตรปิฎก ครั้งนี้มีพระสงฆ์ผู้ทรงคุณวุฒิ 218 รูป กับราชบัณฑิตาจารย์อีก 32 คน ร่วมกันชำระพระไตรปิฎก แล้วจารึกลงในใบลาน ใช้เวลาในการชำระพระไตรปิฎกครั้งนี้ 5 เดือน
ในปี พ.ศ. 2331 รัชกาลที่ 1 ทรงสละพระราชทรัพย์ให้ช่างจารึกพระไตรปิฎกลงในใบลาน ให้ชำระแล้วแปลจากต้นฉบับที่เป็นอักษรลาวและรามัญ (มอญ) ลงสู่อักษรขอม (เขมร) แล้วสร้างพระไตรปิฎกถวายไว้ทุกอารามหลวง ต่อมาก็มีผู้กราบทูลว่า พระไตรปิฎกและอรรถกถาฎีกาที่ใช้กันอยู่นี้มีความคลาดเคลื่อนอยู่มาก จึงควรจะมีการชำระให้ถูกต้อง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 1 ทรงโปรดฯ ให้อาราธนาสมเด็จพระสังฆราช พระราชาคณะ พร้อมกับพระเปรียญจำนวน 100 รูป มาถวายภัตตาหาร หลังจากนั้น พระองค์ก็ตรัสถามถึงความผิดพลาดของพระไตรปิฎกว่ามีมากน้อยเพียงใด เมื่อได้ทรงทราบว่ามีมากจึงตรัสให้คัดเลือกผู้ที่มีความรู้เพื่อชำระพระไตรปิฎกอีกครั้งหนึ่ง ผู้ที่ได้รับคัดเลือกครั้งนั้นมีพระสงฆ์จำนวน 218 รูป ราชบัณฑิตอุบาสก 32 ท่าน สถานที่จัดชำระจัดที่วัดพระศรีสรรเพชญ์ (ปัจจุบันคือ วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์)

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การแบ่งงานการชำระพระไตรปิฏกครั้งนี้ สมเด็จพระสังฆราชเป็นแม่กองชำระพระสุตตันตปิฎก พระวันรัตเป็นแม่กองชำระพระวินัยปิฎก พระพิมลธรรมเป็นแม่กองชำระพระอภิธรรมปิฎก พระพุทฒาจารย์เป็นแม่กองชำระสัททาวิเสส (ตำราไวยากรณ์และคำอธิบายศัพท์ต่าง ๆ) ครั้นชำระเสร็จทั้งหมดแล้ว สมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก ทรงโปรดฯ ให้ช่างจารึกพระไตรปิฎกลงในใบลาน แล้วปิดทองทับทั้งในปกหน้าหลังและกรอบทั้งหมด เรียกว่า “ฉบับทอง” ห่อด้วยผ้ายก เชือกที่รัดก็ถักด้วยไหมแพรเบญจพรรณ ทุกคัมภีร์จะมีชื่อกำกับไว้ ซึ่งมีฉลากงาแกะเขียนอักษรด้วยหมึกและฉลากทองเป็นตัวอักษร

สังคายนาครั้งที่ 3

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การทำสังคายนาในเมืองไทยครั้งที่ 3 มีขึ้นในสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 5 พระองค์ทรงโปรดให้ทำสังคายนาพระไตรปิฎก โดยการคัดลอกตัวขอมในคัมภีร์ใบลานที่มีอยู่เดิมเป็นอักษรไทย หลังจากนั้น ก็ให้ชำระแก้ไขให้ถูกต้อง แล้วให้จัดพิมพ์เป็นเล่ม ซึ่งเมื่อพิมพ์เป็นเล่มแล้วมีจำนวน 39 เล่ม นับว่าเป็นการจัดพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นเล่มด้วยอักษรไทยเป็นครั้งแรก การชำระจนกระทั่งจัดพิมพ์เป็นเล่มนั้น ใช้เวลาประมาณ 6 ปี คือ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2430 ถึง ปี พ.ศ. 2436 การพิมพ์ในครั้งนั้นเป็นการเฉลิมพระเกียรติแด่รัชกาลที่ 5 ที่พระองค์ทรงเสวยราชสมบัติมาครบ 25 ปี
ในการพิมพ์ครั้งแรกจำนวน 39 เล่มนี้ จัดเป็น 1 ชุด แต่ยังเหลืออยู่อีกส่วนหนึ่งที่ยังไม่ได้จัดพิมพ์มีจำนวน 6 เล่ม และมีการพิมพ์เพิ่มจนครบบริบูรณ์ในสมัยรัชกาลที่ 7 รวมเป็น 45 เล่มสังคายนาครั้งที่ 4

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การ ทำสังคายนาพระไตรปิฎกครั้งที่ 4 มีขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 7 หลักฐานเรื่องการจัดสังคายนานี้มีรายละเอียดในหนังสือรายงานการสร้างพระ ไตรปิฎกสยามรัฐ ข้อสังเกตเกี่ยวกับการทำสังคายนาครั้งนี้จะเน้นไปในเรื่องการจัดพิมพ์ให้ทัน สมัยขึ้น ทำให้พระไตรปิฎกเปลี่ยนรูปโฉมจากฉบับใบลานเป็นรูปเล่มหนังสือ ซึ่งก็นับว่าเป็นการเปลี่ยนครั้งแรกในเมืองไทย นอกจากนี้ ก็มีการจัดรูปแบบให้เหมาะสม เช่น การใช้เครื่องหมายและอักขรวิธีตามแบบของสมเด็จพระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชริ รญาณวโรรสที่ทรงคิดค้นขึ้นมาใหม่ และได้จัดทำอนุกรมต่าง ๆ ไว้ตอนท้ายเล่มเพื่อสะดวกในการค้นคว้า

กษัตริย์พม่าพระองค์ใดที่ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ในการทำสังคายนาพระธรรมวินัยครั้งที่ 5 และกระทำที่เมืองใด
การจัดพิมพ์พระไตรปิฎกในครั้งนี้ ทำในระหว่างปี พ.ศ. 2468 ถึง ปี พ.ศ. 2473 พิมพ์ทั้งหมดจำนวน 3,500 จบ พระราชทานไว้ภายในพ


ใครเป็นผู้อุปถัมภ์การทำสังคายนาพระไตรปิฎก ครั้งที่ 6

การทำสังคายนาในครั้งนี้ ท่านเจ้าอชาตศัตรู ทรงเป็นผู้อุปถัมภ์ โดยมีพระอรหันต์ประชุมกัน 500 รูป และใช้เวลา 7 เดือนจึงสำเร็จ

ใครเป็นผู้ร่วมสังคายนาครั้งที่1

สังคายนาครั้งแรกที่สมบูรณ์เกิดขึ้นหลังจากพุทธปรินิพพานได้ 3 เดือน โดยพระอรหันต์สาวก 500 รูป อันมีพระมหากัสสปะเป็นประธาน ณ เมืองราชคฤห์ แคว้นมคธ มีพระเจ้าอชาตศัตรูทรงเป็นองค์อุปถัมภ์

การทำสังคายนาพระธรรมวินัยมีวัตถุประสงค์เพื่ออะไร

สังคายนา มาจากคาว่า “ส ” อันหมายถึง ร่วมกัน พร้อมกัน ประกอบกับคาว่า “คายนา” ที่หมายถึงการสวด การสาธยาย ดังนั้น สังคายนาจึงมีความหมายว่า การสวดพร้อมกันหรือร่วมกันสวดด้วยเหตุผลว่า พระสงฆ์ทั้งหลายท่านได้ พิจารณาประเด็นต่าง ๆ แห่งพระธรรมวินัย เมื่อตกลงเห็นพร้อมกันแล้ว ก็ร่วมสวดพร้อมกันเพื่อทรงจาต่อไป เนื่องจากการนี้ ...

การสังคายนาพระธรรมวินัยเกิดขึ้นครั้งแรกเมื่อใด

การสังคายนาครั้งที่ ๑ ทำเมื่อพระพุทธเจ้าปรินิพพานล่วงแล้ว ๓ เดือน ปรารภเรื่องสุภัททภิกษุผู้บวชเมื่อแก่กล่าวจ้วงจาบพระธรรมวินัยและปรารภที่จะให้พระศาสนาเจริญรุ่งเรืองอยู่สืบไป พระอรหันต์ ๕๐๐ องค์มีพระมหากัสสปเถระเป็นประธานและเป็นผู้ถาม พระอุบาลีเป็นผู้วิสัชนา (ตอบ) พระวินัย พระอานนท์เป็นผู้วิสัชนาพระธรรม ประชุมที่ถ้ำ ...