ข้อใดต่อไปนี้กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน o-net’52

  1. ข้อสอบ O-net 52

    สารแต่ละคู่ในข้อใดต่อไปนี้ที่มีพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลเป็นพันธะชนิดเดียวกัน
    1. เพชรแท้ ซิลิกอนบริสุทธิ์ 2. คลอรีน โบรมีน
    3. แก๊สออกซิเจน แก๊สไนไตรเจน 4. ถ่านไม้ ถ่านแกรไฟท์

    เฉลย ข้อ 2

    แนวคิด ข้อ 1. ผิด เพราะเพชรแท้เป็นพวกโคเวเลนต์โครงผลึกร่างตาข่าย ขณะที่ซิลิกอนเป็นธาตุกึ่ง
    โลหะ
    ข้อ 2. ถูก เพราะทั้งคลอรีนและโบรมีนจะเกิดโมเลกุลโคเลเลนต์ที่ยึดกันด้วยพันธะเดี่ยว
    ข้อ 3. ผิด เพราะออกซิเจนเป็นโมเลกุลโคเวเลนต์พันธะคู่ ส่วนไนโตรเจนเป็นโมเลกุลโคเวเล
    พันธะสาม
    ข้อ 4. ผิด เพราะถ่านไม้เป็นพวกไม่มีรูปร่าง (อสัณฐาน) ส่วนแกรไฟต์จะเป็นพวกโคเวเลนต์
    โครงผลึกร่างตาข่าย

    นาย ณัฐไชย ใจสุข ม.6/11 เลขที่ 9

  2. พอลิเมอร์
    o-net’53
    สารอินทรีย์ชนิดใดต่อไปนี้ที่จัดเป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์หลายชนิด
    1.ยางพารา
    2.เซลลูโลส
    3.ไกลโคเจน
    4.กรดนิวคลีอิก

    เฉลย
    4.กรดนิวคลีอิก
    เพราะกรดนิวคลีอิกเป็นพอลิเมอร์ของนิวคลีโอไทด์ ที่ต่อกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ นั่นก็คือกรดอะมิโนที่ต่างชนิดกันต่อกัน คือเกิดจากมอนอเมอร์หลายชนิดต่อกัน

    นาย ณัฐพล ศักดิ์แสน เลขที่ 15 ม. 6/11

  3. O-NET 49 ปิโตรเลียม
    น้ำมันดีเซลที่มีเลขซีเทนเท่ากับ 55 หมายความว่าอย่างไร
    1. ประกอบด้วยซีเทน 55 % และเบนซีน 45 %
    2. น้ำมันดีเซลที่เติม MTBE ลงไป 45 %
    3. น้ำมันที่มีสมบัติในการเผาไหม้เหมือนกับมีแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 55 %
    4. น้ำมันที่มีสมบัติในการเผาไหม้เหมือนกับน้ำมันดีเซลที่มี CH3(CH2)14CH3 55 %

    ตอบข้อ 4 เพราะน้ำมันน้ำมันดีเซลที่มีเลขซีเทนเท่ากับ 55 หมายถึงน้ำมันที่มีสมบัติในการเผาไหม้เหมือนกับน้ำมันดีเซลที่มีซีเทน (CH3(CH2)14CH3) เป็นองค์ประกอบ 55 % และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 45 %

    นางสาว สุตานันท์ กาวิรส เลขที่ 23 ม.6/11

  4. ข้อสอบ O-net 52

    ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
    1. ไกลโคเจนไม่ละลายน้ำแต่เซลลูโลสละลายในน้ำได้เล็กน้อย
    2. มอลเทสเป็นเอนไซม์ที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคสและฟรักโทส
    3. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสที่ทำให้เกิดไกลโคเจนจะทำให้มีน้ำเกิดขึ้นด้วย
    4. ฟรักโทสและไรโบสมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันและมีโครงสร้างเป็นวงขนาด 5 อะตอมเหมือนกัน

    เฉลยข้อ 3

    ข้อ 1. ผิด เนื่องจากไกลโคเจนละลายน้ำ ส่วนเซลลูโลสไม่ละลายน้ำ
    ข้อ 2. ผิด เนื่องจากมอลเทสเป็นเอนไซมที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคส 2 โมเลกุล
    ข้อ 3. ถูก เนื่องจากพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสจะเป็นแบบควบแน่นน้ำด้วยดังสมการ
    n C6 H12 O6 ——-> (C6 H10 O5)n + n H2 O
    ข้อ 4. ผิด เนื่องจากฟรักโทสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอม มีสูตร C6 H12 O6 ส่วนไรโบสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม มีสูตร C5 H10 O5

    นางสาว ศิริลักษณ์ พรมปัญญา เลขที่ 27 ม.6/11

  5. นายเอกดนัย อิ้มอนงค์ ม.6/3 เลขที่
    พอลิเมอร์
    สารชีวโมเลกุลใดต่อไปนี้ ข้อใด ไม่จัด เป็นพอลิเมอร์แบบเส้นทั้งหมด
    ก.แป้ง คอลลาเจน สำลี
    ข.โปรตีน เซลลูโลส
    ค. อะไมโลส อาร์เอ็นเอ เพปไทด์
    ง.อะไมเลส กรดนิวคลีอิก เด็กซ์ตริน
    ตอบก. เพราะแป้งเป็นพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบเส้นและแบบกิ่ง ส่วนพอลิเมอร์ตัวอื่นที่กำหนดมาเป็นแบบเส้นทั้งหมด

  6. นายกิตติโชติ รัตนชัยคุณ ม 6/4 เลขที่ 9 O-NET2552
    (เรื่องพอลิเมอร์)
    62. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับยางสังเคราะห์
    1. พอลิบิวตาไดอีนเป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    2. ยางเอสบีอาร์เป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    3. ยางเอสบีอาร์เป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น
    4. นีโอพรีนเป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น

    (เฉลย)
    ตอบ 2
    เหตุผล พอลิบิวตาไดอีน มีมอนอเมอร์ คือ บิวตาไดอีน ส่วนนีโอพรีน มีมอนอเมอร์ คือ คลอโรบิวตาไดอีน จึงเป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    ยางเอสบีอาร์ มีมอนอเมอร์ คือ สไตอีนและบิวตาไดอีน ส่วนยางเอบีเอส มีมอนอเมอร์ คือ อะคริโลไนไตรล์ สไตรีน และบิวตาไดอีน จึงเป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม

  7. นายวีระพงษ์ แซ่มู่ ม.6/4 เลขที่ 17
    ข้อ34) พิจารณาข้อความต่อไปนี้ (O-net 48)
    ก.ซากพืชซากสัตว์ที่ถูกกดทับอยู่ใต้เปลือกโลกที่มีอุณหภูมิ และความดันสูงเป็นเวลานานจะเกิดเป็นสารประกอบไฮโดรคาร์บอน
    ข.น้ำมันดิบจะถูกกัดเก็บอยู่ใต้พื้นผิวโลกในชั้นหินดินดาน ซึ่งมีลักษณะเป็นแอ่งคล้ายกระทะรองรับไว้
    ค.การสำรวจแหล่งปิโตรเลียมเบื้องต้น คือการศึกษาลักษณะของหินใต้พื้นโลก
    ง.ในประเทศไทยพบว่าแหล่งผลิตแก๊สธรรมชาติและแหล่งผลิตน้ำมันดิบเป็นแหล่งเดียวกัน
    ข้อใดถูก
    1. ก และ ข 2. ข และ ง
    3. ก และ ค 4. ค และ ง

    เฉลยขอ 3.
    ขอ ข ผิด เพราะ น้ำมันดิบจะถูกเก็บอยูใตผิวโลกในชั้นหนดินดาน ซึ่งลักษณะของหินจะมีดานบนปดกั้น
    ปองกันการระเหยของปโตรเลียม
    ขอ ง ผิด เพราะ แหล่งน้ำมันดิบและแหลงแกสธรรมชาติไมจําเป็นต้องเปนแหลงเดียวกัน

  8. น.ส. วรัญญา นามแสง ม.6/11 เลขที

    ข้อ 17) ข้อใดไม่ใช่เชื้อเพลิงฟอสซิล (O-net 53)
    1. น้ำมันปิโตรเลียม
    2. แก๊สธรรมชาติ
    3. ถ่านหิน
    4. ถ่านกัมมันต์
    เฉลย17 ) ตอบข้อ 4. ถ่านกัมมันต์

    เหตุผล
    เชื้อเพลิงฟอสซิล เกิดจากซากพืชซากสัตว์ที่ตายทับถมกันนับล้านปีใต้ท้องทะเลหรือพื้นดินลึก ได้แก่ ถ่านหิน น้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติ
    ดังนั้นตัวเลือกที่ไม่ใช่เชื้อเพลิงฟอสซิล คือ ถ่านกัมมันต์
    ซึ่งเป็นถ่านที่ได้จากการนำไม้หรือวัสดุใกล้เคียงอื่นๆ เช่น กะลามะพร้าวมาผ่านกระบวนการคาร์บอไนช์โดยการเผาและอัดแรงดันที่อุณหภูมิสูงๆทำให้ได้ถ่านที่มีความพรุนสูงมาก

  9. นาย สมชาย แสงวงษ์ ม.6/2 เลขที่8 หัวข้อ ปิโตรเลียม

    ข้อใดไม่ใช่เชื้อเพลิงฟอสซิล (O-net 53)
    1. น้ำมันปิโตรเลียม
    2. แก๊สธรรมชาติ
    3. ถ่านหิน
    4. ถ่านกัมมันต์

    คำตอบข้อ ตอบข้อ 4. ถ่านกัมมันต์

    เหตุผล
    เชื้อเพลิงฟอสซิล เกิดจากซากพืชซากสัตว์ที่ตายทับถมกันนับล้านปีใต้ท้องทะเลหรือพื้นดินลึก ได้แก่ ถ่านหิน น้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติ
    ดังนั้นตัวเลือกที่ไม่ใช่เชื้อเพลิงฟอสซิล คือ ถ่านกัมมันต์
    ซึ่งเป็นถ่านที่ได้จากการนำไม้หรือวัสดุใกล้เคียงอื่นๆ เช่น กะลามะพร้าวมาผ่านกระบวนการคาร์บอไนช์โดยการเผาและอัดแรงดันที่อุณหภูมิสูงๆทำให้ได้ถ่านที่มีความพรุนสูงมาก

  10. นายชลพรรษ คำก๋อง เลขที่ 10 ม.6/8
    หัวข้อ ชีวโมเลกุล

    O-net 52

    กำหนดให้มีหลอดทดลอง 3 หลอดที่มีสารผสมต่างกันดัง
    หลอดที่1 น้ำตาลทราย 1 กรัมในน้ำ 9 กรัม
    หลอดที่2 น้ำตาลทราย 1 กรัมในน้ำ 9 กรัมและเติม HCI ลงไปเล็กน้อย
    หลอดที่3 กลูโคส 1 กรัมในน้ำ 2กรัม
    เมื่อนำหลอดทั้งสามไปทำปฏิกิริยาต่อไป ผลที่ได้เป็นข้อใด

    1.เมื่อนำหลอดที่1มาหยดสารละลายเบเนดิกต์ลงไป แล้วนำไปต้มจะมีปฏิกิริยาเกิดขึ้น
    2.เมื่อนำหลอดที่2ไปต้ม จะได้แต่น้ำตาลฟรักโตสที่เป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเกิดขึ้น
    3.เมื่อนำหลอดที่3มาหยดสารละลายเบเนดิกต์ แล้วนำไปต้มจะได้ตะกอนสีส้มแดงมากที่สุด
    4.เมื่อนำหลอดที่2 มาหยดสารละลายเบเนดิกต์ลงไปแล้วนำไปต้ม จะได้ตะกอนสีส้มแดงที่มีน้ำหนักเท่ากับที่เกิดจากหลอดที่3พอดี

    เฉลย ข้อ3 เพราะ 1.ผิด เนื่องจาก น้ำตาลนำมาต้มและเพิ่มสารละลายเบเนดิกต์จะไม่มีการเปลี่ยนแปลง และไม่มีการเติม HCI จะไม่เกิดการไฮโดรไลส์
    2.ผิด เนื่องจาก นำตาลทรายเมื่อเกิดการไฮโรไลส์จะได้โมเลกุลเล็ก คือ กลูโคสและ ฟรักโทส
    3.ถูก เนื่องจาก การใช้กลูโคส 1 กรัม จะเกิดตะกอนสีส้มแดงได้มากที่สุด
    4.ผิด เนื่องจาก หลอดที่2 เป็นน้ำตาลทรายซึ่งเมื่อละลายตัวได้กลูโคสและฟักโทสจะมีปริมาณมากกว่า 1 กรัม อาจน่าจะเกิดตะกอนมากกว่าการใช้กลูโคส

  11. นางสาวจิตสุภา ทิมภราดร เลขที่ 17 ม.6/8 หัวข้อ ปิโตรเลียม

    O-net 52

    กาารเผาไหม้ของเอทานอลให้พลังงานน้อยกว่าน้ำมันเบนซินในปริมาณที่เท่ากันและเอทานอลมีค่าออกเทนสูงกว่าน้ำมันเบนซินถ้าใช้รถคันเดียวกันเติมน้ำมันเท่ากันแล้วขับบนเส้นทางและสภาพถนนเดียวกัน จะได้ผลตามข้อใด
    1.การใช้แก๊สโซฮอร์จะวิ่งได้ระยะทางน้อยกว่าใช้เบนซิน แต่เครื่องยนต์ทำงานได้ดีกว่า
    2.การใช้แก๊สโซฮอร์จะวิ่งได้ระยะทางมากกว่าใช้เบนซินและเครื่องยนต์ทำงานได้ดีกว่า
    3.การใช้เบนซินหรือแก๊สโซฮอร์ได้ผลเหมือนกันทั้งระยะทางและการทำงานของเครื่องยนต์
    4.การใช้แก๊สโซฮอร์จะวิ่งได้ระยะทางน้อยกว่าใช้เบนซินส่วนเครื่องยนต์ทำงานได้เหมือนกัน

    เฉลย ตอบ 1
    แก๊สโซฮอร์ซึ่งมีเอทานอลเป็นองค์ประกอบจะให้พลังงานจากการเผาไหม้น้อยกว่าน้ำมันเบนซินทำให้มีการสิ้นเปลืองมากกว่าจะวิ่งได้ระยะทางน้อยกว่าการใช้เบนซินในปริมาณที่เท่ากันแต่แก๊สโซฮอร์จะมีค่าออกเทนสูงกว่าทำให้เครื่องยนต์ทำงานได้ดีกว่า

    • นางสาวจิตสุภา ทิมภราดร เลขที่17 ม.6/8
      หัวข้อ ปิโตรเลียม O-Net 2551

      ในการกลั่นน้ำมันดิบ ผู้ประกอบการจะใช้การกลั่นลำดับส่วนแทนที่จะใช้การกลั่นแบบธรรมดา ข้อใดคือเหตุผลหลัก
      1.ในน้ำมันดิบ มีสารที่มีจุดเดือดใกล้เคียงกันจึงแยกด้วยการกลั่นแบบธรรมดาไม่ได้
      2.การกลั่นแบบธรรมดาต้องใช้เชื้อเพลิงมากกว่าการกลั่นลำดับส่วน
      3.การกลั่นแบบธรรมดาจะได้สารปรอทและโลหะหนักออกมมาด้วย
      4.การกลั่นลำดับส่วนจะไม่มีเขม่าที่เกิดจากการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์

      เฉลย ข้อ1 เพราะ ในการกลั่นน้ำมันดิบจะใช้วิธีกลั่นลำดับส่วน เนื่องจากน้ำมันดิบจะมีของผสมหลายชนิดปนกันอยู่ซึ่งมีจุดเดือดใกล้เคียงกันตั้งแต่สถานะเป็นก๊าซ ของเหลว และของแข็ง

  12. ข้อสอบ O-net ปี52

    ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
    1. สูตรโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวที่เล็กที่สุดที่มีโครงสร้างเป็นโซ่ที่มีกิ่งสาขา คือ C4H10
    2. สารไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวมีโครงสร้างได้เฉพาะที่เป็นโซ่ ซึ่งอาจเป็นโซ่ตรงหรือโซ่ที่มีกิ่งสาขาก็ได้
    3. น้ำมันเบนซินที่มีค่าออกเทน 91 และน้ำมันแก๊สโซฮอล์ 91 มีการเผาไหม้ที่ให้พลังงานเท่ากัน
    4. ค่าออกเทนของนอร์มอลเฮปเทนมีค่าเป็น 0 แสดงว่าการเผาไหม้ของนอร์มอลเฮปเทน ให้พลังงานน้อยมากเมื่อเทียบกับโอโซออกเทนที่มีค่าออกเทนเป็น 100

    เฉลยข้อ 1

    ข้อ 1. ถูกต้อง เนื่องจาก C4H10 เป็นโมเลกุลของไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวชนิดแรกที่สามารถเกิดไอโซเมอร์ได้
    ข้อ 2. ผิด เนื่องจากสารไฮโดรคาร์บอนอิ่มตัวจะมีโครงร่างแบบโซ่ตรง หรือโซ่กิ่งได้ต้องมีคาร์บอน 4 อะตอมขึ้นไปไม่ใช่ทุกตัว
    ข้อ 3. ผิด เนื่องจากน้ำมันแก๊สโซฮอล์ให้พลังงานน้อยกว่าน้ำมันเบนซิน
    ข้อ 4. ผิด เนื่องจากค่าออกเทนจะบอกถึงประสิทธิภาพของการเผาไหม้ของเครื่องยนต์ซึ่งค่าออกเทนสูงจะมีประสิทธิภาพดีกว่า

    นางสาว พรรณิตา ชุ่มมงคล ม.6/11 เลขที่ 19

  13. ข้อสอบ O-net 52

    ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
    1. ไกลโคเจนไม่ละลายน้ำแต่เซลลูโลสละลายในน้ำได้เล็กน้อย
    2. มอลเทสเป็นเอนไซม์ที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคสและฟรักโทส
    3. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสที่ทำให้เกิดไกลโคเจนจะทำให้มีน้ำเกิดขึ้นด้วย
    4. ฟรักโทสและไรโบสมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันและมีโครงสร้างเป็นวงขนาด 5 อะตอมเหมือนกัน

    เฉลยข้อ 3

    ข้อ 1. ผิด เนื่องจากไกลโคเจนละลายน้ำ ส่วนเซลลูโลสไม่ละลายน้ำ
    ข้อ 2. ผิด เนื่องจากมอลเทสเป็นเอนไซมที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคส 2 โมเลกุล
    ข้อ 3. ถูก เนื่องจากพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสจะเป็นแบบควบแน่นน้ำด้วยดังสมการ
    n C6 H12 O6 ——-> (C6 H10 O5)n + n H2 O
    ข้อ 4. ผิด เนื่องจากฟรักโทสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอม มีสูตร C6 H12 O6 ส่วนไรโบสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม มีสูตร C5 H10 O5

    นางสาว ปัทมา สถาน ชั้นม.6/11 เลขที่ 22

  14. ข้อสอบ O-net 52

    สารแต่ละคู่ในข้อใดต่อไปนี้ที่มีพันธะโคเวเลนต์ในโมเลกุลเป็นพันธะชนิดเดียวกัน
    1. เพชรแท้ ซิลิกอนบริสุทธิ์ 2. คลอรีน โบรมีน
    3. แก๊สออกซิเจน แก๊สไนไตรเจน 4. ถ่านไม้ ถ่านแกรไฟท์

    เฉลย ข้อ 2

    แนวคิด ข้อ 1. ผิด เพราะเพชรแท้เป็นพวกโคเวเลนต์โครงผลึกร่างตาข่าย ขณะที่ซิลิกอนเป็นธาตุกึ่ง
    โลหะ
    ข้อ 2. ถูก เพราะทั้งคลอรีนและโบรมีนจะเกิดโมเลกุลโคเลเลนต์ที่ยึดกันด้วยพันธะเดี่ยว
    ข้อ 3. ผิด เพราะออกซิเจนเป็นโมเลกุลโคเวเลนต์พันธะคู่ ส่วนไนโตรเจนเป็นโมเลกุลโคเวเล
    พันธะสาม
    ข้อ 4. ผิด เพราะถ่านไม้เป็นพวกไม่มีรูปร่าง (อสัณฐาน) ส่วนแกรไฟต์จะเป็นพวกโคเวเลนต์
    โครงผลึกร่างตาข่าย

    นาย ชุนขวา แซ่หลอ ม.6/11 เลขที่ 6

  15. O-NET 52 (( นาย วรัญญู แก้วดุลดุก ม.6/4 เลขที่ 12 ))

    —ปิโตรเลียม—
    การเผาไหมของเอทานอลใหพลังงานน้อยกวาน้ํามันเบนซินในปริมาตรที่เทากัน และ
    เอทานอลมีคาออกเทนสูงกวาน้ํามันเบนซิน ถาใช รถคันเดียวกัน เติมน้ำมันเทากัน
    แล้วขับบนเสนทางและสภาพถนนเดียวก้น จะได้ผลตามข้อใด

    1. การใชแกสโซฮอลจะวิ่งไดระยะทางน้อยกว่าใชเบนซิน แตเครื่องยนต์ทํางานไดดีกว่า
    2. การใชแกสโซฮอลจะวิ่งไดระยะทางมากกวาใชเบนซิน และเครื่องยนตทํางานไดดีกว่า
    3. การใชเบนซินหรือแกสโซฮอลไดผลเหมือนกันทั้งระยะทางและการทํางานของเครื่องยนต์
    4. การใชแกสโซฮอลจะวิ่งไดระยะทางน้อยกว่าใชเบนซินสวนเครื่องยนตทำงานได้เหมือนกัน

    เฉลย
    ตอบ 1. การใชแกสโซฮอลจะวิ่งไดระยะทางน้อยกว่าใชเบนซิน แตเครื่องยนต์ทํางานไดดีกว่า

  16. นายเจษฎากรสะสมม.6/4 เลขที่ 1
    O-NET 52
    เรื่อง สารชีวโมเลกุล

    หมูอ้วนและมีไขมันมากเมื่อเลี้ยงด้วยอาหารพวกคาร์โบไฮเดรต ทั้งนี้เพราะร่างกายหมูสามารถ
    1 เปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตในอาหารเป็นไขมัน
    2 ดูดซึมที่ลำไส้เล็กเฉพาะไขมัน
    3 เปลี่ยนโปรตีนในอาหารมาเป็นไขมัน
    4 นำคาร์โบไฮเดรตไปเผาผลาญให้เป็นพลังงานแต่สะสมไขมันไว้

    ตอบ ข้อ 1 เมื่อสลายกลูโคสจนได้ acetyI CoA และ acetyI CoA สามารถจะเข้าสู่วงจรการหายใจหรือนําไปสร้างเป็นกรดไขมันและสร้างเป็นไขมันสะสมตามเนื้อเยื่อต่างๆ เช่น adipose tissue ตามหน้าท้องขาอ่อนเป็นต้น

  17. O-NET 53
    ปิโตรเลียม
    ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมีที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม

    1. มีจุดเดือดสูงกว่าน้ำมันดีเซล
    2. เป็นสารไฮโดรคาร์บอนที่ละลายน้ำได้
    3. มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติ
    4. ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนที่มีจำนวนคาร์บอนน้อยกว่า 5 อะตอม

    เฉลย
    ตอบ ข้อ 3. มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติ

    นายธีรภัทร์ แสงฟ้า ม.6/4 เลขที่ 2

  18. นาย ชญานิน หนูศรีม่วง ชั้นม.6/5 เลขที่ 5
    ข้อ 57 O-net 52
    (เรื่อง ปิโตรเลียม)
    57. ข้อใดกล่าวถึงผลของแก๊สอันตรายที่เกิดขึ้นจากผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียมได้ถูกต้อง
    1. แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์ทำให้เกิดฝนกรด
    2. แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน
    3. แก๊สไฮโดรคาร์บอนก่อให้เกิดการระคายเคืองในระบบหายใจ
    4. แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ทำให้เลือดไม่สามารถรับออกซิเจนได้

    เฉลย

    ตอบ 3แก๊สไฮโดรคาร์บอนก่อให้เกิดการระคายเคืองในระบบหายใจ

    เหตุผล แก๊สคาร์บอนมอนอกไซด์จะไปจับกับเฮโมโกลบินทำให้เลือดไม่สามารถรับออกซิเจนได้ แก๊สซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทำให้เกิดฝนกรด แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์จะก่อให้เกิดภาวะโลกร้อน และแก๊สไฮโดรคาร์บอนจะก่อให้เกิดการระคายเคืองในระบบหายใจ

  19. นางสาว นุชรา แซ่หยะ เลขที่ 30 ชั้น 6/3
    เรื่อง สารชีวโมเลกุล
    o – net’ 50
    29.พลาสติกชนิดหนึ่งมีสมบัติดังนี้
    ก.ประกอบด้วยมอนอเมอร์เพียงชนิดเดียว
    ข.เป็นเทอร์มอพลาสติก
    ค.เมื่อไหม้ไฟจะเกิดควันสีขาวกลิ่นควันกรดเกลือ
    ง.ใช่ทำรองเท้า กระดาษติดผนัง
    พลาสติกชนิดใดมีสมบัติดังกล่าว
    1.พอลิยูเรียพอร์มาดีไฮด์
    2.พอลิสไตรีน
    3.พอลิโพรพิลีน
    4.พอลิไวนิลคลอไรด์

    ตอบ ข้อ 4 จากข้อมูลจะบอกได้ว่าเป็นพลาสติกชนิดพอลิไวพิลคลอไรด์ ซึ่งเกิดจากมอนอเมอร์ไวนิลคลอไรด์ เป็นพลาสติกคืนรูปจะหลอกและอ่อนตัวเมื่อเผาไหม้จะเกิดก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์

  20. นายพีรากร รุ่งวัฒนสกุลชัย ชั้นม.6/4 เลขที่ 11
    ข้อ 52 O-net 52
    56. ข้อใดนำผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการกลั่นน้ำมันดิบมาใช้ประโยชน์ได้ถูกต้อง
    1. นำน้ำมันหล่อลื่นมาใช้ทาน้ำมันเครื่อง
    2. นำแก๊สปิโตรเลียมมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในตะเกียง
    3. นำแก๊สโซลีนมาใช้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงสาหรับเครื่องบิน
    4. นำน้ำมันเชื้อเพลิงมาใช้เป็นเชื้อเพลิงในเครื่องยนต์ดีเซล

    ตอบ 1 น้ำมันหล่อลื่นนำมาใช้ทาน้ำมันเครื่อง เทียนไข และแว็กแก๊สปิโตรเลียมนำมาใช้เป็น แก๊สหุงต้มแก๊สโซลีนนำมาใช้เป็นน้ำมันเชื้อเพลิงสาหรับรถยนต์ และน้ำมันเชื้อเพลิง นำมาใช้เป็นเชื้อเพลิงของเครื่องจักรและเรือ

  21. นางสาว นภาพร พรมปัญญา เลขที่ 31 ชั้น ม.6/4
    O-NET 52
    (เรื่องพอลิเมอร์)
    ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับยางสังเคราะห์
    1. พอลิบิวตาไดอีนเป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    2. ยางเอสบีอาร์เป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    3. ยางเอสบีอาร์เป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น
    4. นีโอพรีนเป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น

    เฉลย
    ตอบ 2
    พอลิบิวตาไดอีน มีมอนอเมอร์ คือ บิวตาไดอีน ส่วนนีโอพรีน มีมอนอเมอร์ คือ คลอโรบิวตาไดอีน จึงเป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    ยางเอสบีอาร์ มีมอนอเมอร์ คือ สไตอีนและบิวตาไดอีน ส่วนยางเอบีเอส มีมอนอเมอร์ คือ อะคริโลไนไตรล์ สไตรีน และบิวตาไดอีน จึงเป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม

  22. นางสาว อารีย์ แพงเมือง ม.6/2 เลขที่ 29
    ข้อสอบ O-net ( 2549)(สารชีวโมเลกุล)
    พิจารณาข้อความต่อไปนี้
    ก.กรดไขมันในร่างกายคน เป็นกรดไขมันไม่อิ่มตัวเป็นส่วนมาก
    ข.น้ำมันสัตว์เหม็นหืนง่ายกว่าน้ำมันพืช เพราะไม่มีวิตามิน E ช่วยยับยั้งการเกิดปฏิกิริยา
    ค.อาหารที่ทอดโดยใช้น้ำมันเก่าจะทำให้เศษอาหารที่ตกค้างในน้ำมันไหม้เกรียมสลายเป็นสารก่อมะเร็ง
    ง.โรคหัวใจ และอัมพาตมีสาเหตุสำคัญจากการรับประทานอาหารที่มีคอเรสเทอรอลสูง และขาดการออกกำลังกาย
    ข้อใดถูก
    1. ก. และ ข. เท่านั้น
    2. ค. และ ง. เท่านนั้น
    3. ก. ข. และ ค.
    4. ข. ค. และ ง.
    เฉลย ตอบ 4. ข. ค. และ ง.
    แนวคิด ข้อ ก. ผิด เนื่องจากกรดไขมันส่วนมากในร่างกายเป็นกรดไขมันอิ่มตัว
    ข้อ ข. ถูกต้อง เนื่องจากน้ำมันพืชโดยปกติจะเป็นกรดไขมันประเภทไม่อิ่มตัวเป็นส่วนมาก ทำให้ กลิ่นเหม็นหืน แต่จะมีวิตามิน E ช่วยยับยั้งการเกิดกลิ่น
    ข้อ ค. ถูกต้อง เนื่องจากจะเกิดสารที่มีอนุมูลอิสระก่อให้เกิดมะเร็ง
    ข้อ ง. ถูกต้อง เนื่องจากอาหารที่มีคอเรสเทอรอลสูง จะไปทำให้เกิดการอุดตันของหลอดเลือด ทั้งในส่วนของหัวใจและสมอง

    • ใส่เลขที่ผิดคะ ขอแก้เป็น เลขที่ 28 คะ
      นางสาว อารีย์ แพงเมือง ม.6/2 เลขที่ 28

  23. นาย อรรถพล อิสาลม ม.6/4 เลขที่6
    เรื่อง พอลิเมอร์
    O’net ปี52

    พลาสติกชนิดหนึ่งนำมาใช้ทำสวิตซ์ไฟฟ้า เป็นพลาสติกที่มีความแข็งมาก แต่เมื่อถูกความร้อนสูงมากๆ จะเปราะและแตกหักได้ พลาสติกชนิดนี้น่าจะมีโครงสร้างแบบใด
    1. โครงสร่างแบบกิ่ง
    2. โครงสร้างแบบเส้น
    3. โครงสร้างแบบร่างแห
    4. โครงสร้างแบบกิ่งหรือแบบร่างแห

    ตอบข้อ3
    = พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบกิ่งจะมีความหนาแน่นและจุดหลอมเหลวต่ำ มีความยืดหยุ่น ความเหนียวต่ำ เมื่อร้อนจะอ่อนตัวและเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบเส้นจะมีความหนาแน่นและจุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็ง ขุ่น และเหนียว ส่วนพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบร่างแหจะมีความแข็งแกร่ง แต่เปราะ

  24. นาย จักรวาล สุขวงศ์ ม.6/4 เลขที่13
    O’net 52 เรื่อง พอลิเมอร์

    ข้อใดเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติทั้งหมด
    1. ลินิน ไนลอน เซลลูโลส
    2. พีวีซี นีโอพรีน ยางพารา
    3. ไคติน ซิลิโคน ไกลโคเจน
    4. แป้ง โปรตีน กรดนิวคลีอิก

    ตอบข้อที่ 4
    = ลินิน เซลลูโลส ยางพารา ไคติน ไกลโคเจน แป้ง โปรตีน และกรดนิวคลีอิก เป็น
    พอลิเมอร์ธรรมชาติ ส่วนไนลอน พีวีซี นีโอพรีน ซิลิโคน เป็นพอลิเมอร์สังเคราะห์

  25. นางสาววราภรณ์ วรรณศรี ม6/2 เลขที่31

    18) ข้อใดไม่ใช่แก๊สเรือนกระจก (O-net 53)
    1. คาร์บอนไดออกไซด์
    2. ออกไซด์ของไนโตรเจน
    3. คาร์บอนมอนอกไซด์
    4. มีเทน
    คำตอบข้อ 18 ) ตอบข้อ 3. คาร์บอนมอนอกไซด์

    เหตุผล
    ก๊าซเรือนกระจกได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ , มีเทน , CFC และไนตรัสออกไซด์ซึ่งไนตรัสออกไซด์จัดเป็นออกไซด์ของไนโตรเจนชนิดหนึ่ง ดังนั้นตัวเลือกที่ไม่ใช่แก๊สเรือนกระจก คือ คาร์บอนมอนอกไซด์

  26. พอลิเมอร์
    o-net’53
    สารอินทรีย์ชนิดใดต่อไปนี้ที่จัดเป็นพอลิเมอร์ที่เกิดจากมอนอเมอร์หลายชนิด
    1.ยางพารา
    2.เซลลูโลส
    3.ไกลโคเจน
    4.กรดนิวคลีอิก

    เฉลย
    4.กรดนิวคลีอิก
    เพราะกรดนิวคลีอิกเป็นพอลิเมอร์ของนิวคลีโอไทด์ ที่ต่อกันด้วยพันธะฟอสโฟไดเอสเทอร์ นั่นก็คือกรดอะมิโนที่ต่างชนิดกันต่อกัน คือเกิดจากมอนอเมอร์หลายชนิดต่อกัน
    นางสาวเสาวณีย์ แซ่ล่อ ม.6/1 เลขที่ 24

  27. นางสาว ปริยฉัตร สุวรรณมาศ ม.6/2 เลขที่ 24 (พอลิเมอร์)

    1. ข้อใดเป็นข้อแตกต่างระหว่างยางธรรมชาติกับยางสังเคราะห์

    ก. มีโครงสร้างที่ไม่เหมือนกัน

    ข. มีจำนวนมอนอเมอร์ไม่เท่ากัน

    ค. มีความทนต่อสารเคมี ความร้อน และตัวทำละลายไม่เท่ากัน

    ง. ยางสังเคราะห์มีกระบวนการเกิดที่ซับซ้อนมากกว่ายางธรรมชาติ

    ตอบ ค.มีความทนต่อสารเคมี ความร้อน และตัวทำละลายไม่เท่ากัน
    เหตุผล
    ยางธรรมชาติ

    การใช้ยางธรรมชาติสมัยใหม่เริ่มจากปี พ.ศ. 2382 เมื่อนายชาร์ลส์ กู๊ดเยียร์ ค้นพบกรรมวิธีเพิ่มคุณภาพของยางธรรมชาติเรียกว่า กรรมวิธีวัลคาไนซ์ โดยการเติมกำมะถัน 30% ลงไปในเนื้อยาง และให้ความร้อนแก่ยางธรรมชาติในอุณหภูมิที่เหมาะสมกำมะถันจะทำให้ยาง มีความแข็งแรง ต่อมาได้ถูกค้นพบว่ากรรมวิธีวัลคาไนซ์ที่จะทำให้ยางมีคุณสมบัติที่ดีขึ้นอย่างมากได้แก่การเติมสีเข้าไปในยางจึงมีการเติมคาร์บอน เข้าไปในยาง คาร์บอนทำให้ยางเป็นสีดำ ซึ่งจะทำให้ยางแข็งตึง ทำให้เหนียวและต้านทานการออกซิเดชันยางสมัยใหม่ในปัจจุบันจะใส่กำมะถัน ในปริมาณน้อยกว่า 3% ทำให้ความยืดหยุ่นของยางดีขึ้น ถ้าอบยางด้วยความร้อนสูงด้วยไอน้ำ และทำให้เป็นกลางกับแมกนีเซียมคาร์บอเนต ยางจะสามารถรีดจนเป็นยางแผ่นบาง ๆ ได้ดี ยางสามารถเป็นส่วนผสมที่มีการใช้งานอย่างกว้างขวาง มีความอ่อนและเหนียวจนถึงแข็งมาก ใช้กับงานที่ต้องการความแข็งแรงสูงได้ เส้นใยผ้าหรือเนื้อผ้าจะถูกเคลือบตัวยาง เมื่อใช้งานที่มีโหลด ทำยางรถยนต์ รถบรรทุกยางธรรมชาติ จะมีความยืดหยุ่นสูง เป็นฉนวนไฟฟ้าที่ดี มีความฝืดต่ำ และต้านทานสารอนินทรีย์ เช่น กรด เกลือ และด่าง แต่ไม่คงทนต่อผลิตภัณฑ์ปิโตรเลียม ยางธรรมชาติใช้ทำท่อยางน้ำ สายพานเครื่องจักร ยางตัน บูช ปุ่มยาง และถุงมือ

    ยางสังเคราะห์

    ยางสังเคราะห์เป็นวัสดุที่มีคุณภาพคล้ายกับยางธรรมชาติ มีความต้านทานต่อน้ำมัน สารเคมี และความร้อนได้สูงและมีอายุ การใช้งานยาวนานยางสังเคราะห์ไม่มีความยืดหยุ่นเหมือนยางธรรมชาติดังนั้นในการใช้งานจึงมีการผสมระหว่างยางแท้กับยางเทียมซึ่งจะทำให้ ผลิตภัณฑ์มีคุณสมบัติของยางแท้และยางเทียมในตัวเดียวกัน ยางสังเคราะห์มีหลายชนิด

  28. นางสาว สุพรรณี แซ่จื่อ ม.6/2 เลขที่ 32
    ข้อใดไม่ใช่เชื้อเพลิงฟอสซิล(ปิโตเลียม) (O-net 53)
    1. น้ำมันปิโตรเลียม
    2. แก๊สธรรมชาติ
    3. ถ่านหิน
    4. ถ่านกัมมันต์

    คำตอบข้อ 17 ) ตอบข้อ 4. ถ่านกัมมันต์
    เหตุผล
    เชื้อเพลิงฟอสซิล เกิดจากซากพืชซากสัตว์ที่ตายทับถมกันนับล้านปีใต้ท้องทะเลหรือพื้นดินลึก ได้แก่ ถ่านหิน น้ำมันดิบ และก๊าซธรรมชาติ
    ดังนั้นตัวเลือกที่ไม่ใช่เชื้อเพลิงฟอสซิล คือ ถ่านกัมมันต์
    ซึ่งเป็นถ่านที่ได้จากการนำไม้หรือวัสดุใกล้เคียงอื่นๆ เช่น กะลามะพร้าวมาผ่านกระบวนการคาร์บอไนช์โดยการเผาและอัดแรงดันที่อุณหภูมิสูงๆทำให้ได้ถ่านที่มีความพรุนสูงมาก

  29. นาย กิตติพงษ์ นามวงค์ เลขที่ 8 ห้อง ม6/4
    O-NET 49 ปิโตรเลียม
    น้ำมันดีเซลที่มีเลขซีเทนเท่ากับ 55 หมายความว่าอย่างไร
    1. ประกอบด้วยซีเทน 55 % และเบนซีน 45 %
    2. น้ำมันดีเซลที่เติม MTBE ลงไป 45 %
    3. น้ำมันที่มีสมบัติในการเผาไหม้เหมือนกับมีแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 55 %
    4. น้ำมันที่มีสมบัติในการเผาไหม้เหมือนกับน้ำมันดีเซลที่มี CH3(CH2)14CH3 55 %

    ตอบข้อ 4 เพราะน้ำมันน้ำมันดีเซลที่มีเลขซีเทนเท่ากับ 55 หมายถึงน้ำมันที่มีสมบัติในการเผาไหม้เหมือนกับน้ำมันดีเซลที่มีซีเทน (CH3(CH2)14CH3) เป็นองค์ประกอบ 55 % และแอลฟาเมทิลแนฟทาลีน 45 %

  30. นาย วีระยุทธ์ คำแก้ว ม.6/4 เลขที่ 19

    ข้อ 19) ข้อความใดต่อไปนี้ถูก (O-net 53)
    ก. สารชีวโมเลกุล คือสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบพบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
    ข. ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล 3 โมเลกุล
    ค. พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน
    ง. ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว

    1. ก และ ค
    2. ข และ ค
    3. ค และ ง
    4. ก ข และ ง
    เฉลยข้อ 19 ( 3 )

  31. นาย บุญราช อายุเจริญ เลขที่ 18 ม.6/4
    O-NET 53 เรื่อง พอลิเมอร์

    เกณฑ์ใดใช้ในการแยกพลาสติกออกเป็นเทอร์มอพลาสติกและพลาติกเทอร์มอเซต
    1. ความหนาแน่น
    2. ความคงทนต่อกรด-เบส
    3. การละลายในตัวทำละลายอินทรีย์
    4. การเปลี่ยนแปลงเมื่อได้รับความร้อน
    เฉลย
    ตอบ 4. เทอร์มอพลาสติกเป็นพลาสติกที่เมื่อได้รับความร้อนแล้วจะหลอมเหลว และจะกลับมาแข็งตัวใหม่อีกครั้งเมื่อเย็นลง ส่วนพลาสติกเทอร์มอเซตเป็นพลาสติกที่เมื่อได้รับความร้อนที่สูงมากเกินไปจะแตกและหัก ไม่สามารถคืนรูปได้ ดังนั้นจึงใช้การเปลี่ยนแปลงเมื่อได้รับความร้อนเป็นเกณฑ์ในการแยกพลาสติกทั้ง 2 ประเภทนี้

  32. (นางสาวแสงจันทร์ อินแสง เลขที่28 ม.6/4)
    ข้อ 60 (o-net 53)
    พลาสติกชนิดหนึ่งนำมาใช้ทำสวิตซ์ไฟฟ้า เป็นพลาสติกที่มีความแข็งมาก แต่เมื่อถูกความร้อนสูงมากๆ จะเปราะและแตกหักได้ พลาสติกชนิดนี้น่าจะมีโครงสร้างแบบใด
    1. โครงสร่างแบบกิ่ง
    2. โครงสร้างแบบเส้น
    3. โครงสร้างแบบร่างแห
    4. โครงสร้างแบบกิ่งหรือแบบร่างแห

    ตอบ 3 พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบกิ่งจะมีความหนาแน่นและจุดหลอมเหลวต่ำ มีความยืดหยุ่น ความเหนียวต่ำ เมื่อร้อนจะอ่อนตัวและเมื่อเย็นลงจะแข็งตัว พอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบเส้นจะมีความหนาแน่นและจุดหลอมเหลวสูง มีลักษณะแข็ง ขุ่น และเหนียว ส่วนพอลิเมอร์ที่มีโครงสร้างแบบร่างแหจะมีความแข็งแกร่ง แต่เปราะ

  33. นางสาวณัฐชยา แสงสว่าง ม.6/4 เลขที่ 34
    เรื่องสารชีวะโมเลกุล

    ข้อความใดต่อไปนี้ถูก (O-net 53)
    ก. สารชีวโมเลกุล คือสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบพบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
    ข. ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล 3 โมเลกุล
    ค. พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน
    ง. ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว
    1. ก และ ค
    2. ข และ ค
    3. ค และ ง
    4. ก ข และ ง
    เฉลย ข้อ 3. ค และ ง
    เหตุผล
    (ก) ผิดเพราะ สารชีวโมเลกุล คือสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตพบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
    (ข) ผิดเพราะ ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบด้วยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
    (ค) ถูก
    (ง) ถูก

  34. ข้อสอบ ปิโตรเลียม
    นายเดชบดินทร์ เฟื่องนาค เลขที่ 5 ม.6/4

    ข้อใดจัดเป็นผลิตภัณฑ์ปิโตรเคมีจากเส้นใยสังเคราะห์ ?
    ก. กระเป๋าผ้าฝ้าย
    ข. ขวดนมพลาสติก
    ค. เชือกไนล่อน
    ง. โฟม
    ตอบ ค.เชือกไนลอน เพราะประกอบด้วยโมเลกุลที่มีขนาดยาว มีการเรียงตัวของโมเลกุลค่อนข้างเป็นระเบียบและโมเลกุลส่วนใหญ่ต้องเรียงตามแนวแกน เช่น ไนล่อน

  35. ข้อสอบ ปิโตรเลียม
    ประเทศไทยได้ใช้พลังงานจากปิโตรเลียมในด้านใดมากที่สุด ?
    ก. ผลิตไฟฟ้า
    ข. การขนส่ง
    ค. โรงงานและการก่อสร้าง
    ง. ที่อยู่อาศัย
    ตอบ ข. ด้านการขนส่ง เพราะใช้เชื้อเพลิงจำนวนมหาศาลในการขนส่งทั้งทางบก ทางน้ำและอากาศ เพื่อขนส่งของระหว่างประเทศ

    นางสาวหอม วุ่ยแม เลขที่ 36 ม.6/4

  36. *แก้ไขค่ะ
    นางสาวสุวรรณา ลาภดวงแก้ว เลขที่ 27 ม.6/4

    ปิโตรเลียม

    ปิโตรเลียมมีกี่สถานะ
    1. 2 สถานะ
    2. 3 สถานะ
    3. 4 สถานะ
    4. 5 สถานะ
    ตอบ ตอบข้อ 2 ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็บปิโตรเลียม แบ่งตามสถานะได้เป็นสองชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ โดยแก๊สธรรมชาตินั้น ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 1-4 อะตอม

  37. นางสาวสุวรรณา ลาภดวงแก้ว เลขที่ 27 ม.6/4

    ปิโตรเลียม

    ปิโตรเลียมมีกี่สถานะ
    1. 2 สถานะ
    2. 3 สถานะ
    3. 4 สถานะ
    4. 5 สถานะ
    ตอบ ตอบข้อ 3 ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็บปิโตรเลียม แบ่งตามสถานะได้เป็นสองชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ โดยแก๊สธรรมชาตินั้น ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 1-4 อะตอม

  38. ปิโตรเลียมมีกี่สถานะ
    1. 2 สถานะ
    2. 3 สถานะ
    3. 4 สถานะ
    4. 5 สถานะ
    ตอบ ตอบข้อ 3 ปิโตรเลียมเป็นได้ทั้ง 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบ รวมถึงความร้อนและความดันของสภาพแวดล้อมในการเกิดและการกักเก็บปิโตรเลียม แบ่งตามสถานะได้เป็นสองชนิดหลัก คือ น้ำมันดิบและแก๊สธรรมชาติ โดยแก๊สธรรมชาตินั้น ประกอบด้วยคาร์บอนตั้งแต่ 1-4 อะตอม

  39. นายศรัณย์ ชัยชนะ ม.6/4 เลขที่4

    สารชีวโมเลกุล
    สารประกอบไฮโดรคาร์บอน คือสารใด
    1. สารที่ประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจนและออกซิเจน
    2. สารที่ประกอบด้วยออกซิเจนและคาร์บอน
    3. สารที่ประกอบด้วยไฮโดรเจนและคาร์บอน
    4. สารที่ประกอบด้วยน้ำและไฮโดรเจน
    ตอบ ข้อ3 สารประกอบไฮโดรคาร์บอนเป็นสารอินทรีย์ประเภทหนึ่งซึ่งประกอบด้วยธาตุคาร์บอน และไฮโดรเจนเป็นหลัก ได้แก่ แอลเคน แอลคีน และแอลไคน์

  40. นางสาว ฐาปนี ปินทรายมูล ม. 6/3 เลขที่ 26
    เรื่องสารชีวโมเลกุล O-net 57

    ไขมัน หรือน้ำมัน ในข้อใด มีปริมาณกรดไขมันไม่อิ่มตัวมากที่สุด
    1 ไขวัว มีไอโอดีนนัมเบอร์เท่ากับ 38
    2 น้ำมันมะกอก มีไอโอดีนนัมเบอร์ เท่ากับ 82
    3 น้ำมันถั่วลิสง มีไอโอดีนนัมเบอร์ เท่ากับ 87
    4 น้ำมันข้าวโพด มีไอโอดีนนัมเบอร์ เท่ากับ 120
    5 น้ำมันดอกคำฝอย มีไอโอดีนนัมเบอร์ เท่ากับ 131

    เฉลย ตอบ ข้อ 5 ไขมันหรือน้ำมัน ที่มีค่าไอโอดีนนัมเบอร์สูงแสดงว่า ไขมัน หรือน้ำมันนั้น
    มีความไม่อิ่มตัวสูง นั่นคือ คือ มีปริมาณกรดไขมันไม่อิ่มตัวมาก

  41. นางสาว อารีรัตน์ เมืองมา ม.6/2 เลขที่ 29
    เรื่อง สารชีวโมเลกุล ( ปิโตรเลียม )
    o – net’ 50
    29.พลาสติกชนิดหนึ่งมีสมบัติดังนี้
    ก.ประกอบด้วยมอนอเมอร์เพียงชนิดเดียว
    ข.เป็นเทอร์มอพลาสติก
    ค.เมื่อไหม้ไฟจะเกิดควันสีขาวกลิ่นควันกรดเกลือ
    ง.ใช่ทำรองเท้า กระดาษติดผนัง
    พลาสติกชนิดใดมีสมบัติดังกล่าว
    1.พอลิยูเรียพอร์มาดีไฮด์
    2.พอลิสไตรีน
    3.พอลิโพรพิลีน
    4.พอลิไวนิลคลอไรด์

    ตอบ ข้อ 4 จากข้อมูลจะบอกได้ว่าเป็นพลาสติกชนิดพอลิไวพิลคลอไรด์ ซึ่งเกิดจากมอนอเมอร์ไวนิลคลอไรด์ เป็นพลาสติกคืนรูปจะหลอกและอ่อนตัวเมื่อเผาไหม้จะเกิดก๊าซไฮโดรเจนคลอไรด์

  42. ขอใดกลาวไดถูกตอง (O-Net 52)
    1. ปฏิกิริยาการเผาไหมของแกสธรรมชาติไมทําใหเกิดแกสที่ทำใหเกิดภาวะโลกรอน
    2. ควันสีดําที่เกิดจากเครื่องยนตที่มีการเผาไหมไมสมบูรณคือแกสคารบอนมอนอกไซด
    3. เชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่พัฒนาเพื่อใชทดแทนปโตรเลียมจัดเปนทั้งพลังงานทางเลือกและเปนพลังงานสะอาดเพราะไมทําใหเกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็นมลภาวะในอากาศ
    4. การเผาไหม้ซึ่งมีเซลลูโลสทําใหไดถานไมเขียนเปนสมการเคมีคือCn(H2O) n → nCO2 + nH2O

    เฉลยตอบ 3. เชื้อเพลิงไฮโดรเจนที่พัฒนาเพื่อใชทดแทนปโตรเลียมจัดเปนทั้งพลังงานทางเลือกและเปนพลังงานสะอาดเพราะไมทําใหเกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็นมลภาวะในอากาศ

    น.ส.ธนัญญา คำมา เลขที่ 38 ม.6/2

  43. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
    1.ไกลโคเจนไมละลายน้ําแตเซลลูโลสละลายในน้ําไดเล็กนอย
    2. มอลเทสเปนเอนไซมที่สลายน้ําตาลมอลโทสใหเป็นกลูโคสและฟรักโทส
    3. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสที่ทําใหเกิดไกลโคเจนจะทําใหมีน้ําเกิดขึ้นดวย
    4. ฟรักโทสและไรโบสมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันและมีโครงสร้างเป็นวงขนาด 5 อะตอม
    เหมือนกัน

    เฉลย ตอบข้อ 3.ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสที่ทําใหเกิดไกลโคเจนจะทําใหมีน้ําเกิดขึ้นดวย

    นางสาวสุมิตรา เตจ๊ะมงคล เลขที่27 ม.6/2

  44. ถ้าท่านชอบรับประทานส้มตำมะละกอเป็นประจำท่านจะมีโอกาสเป็นโรคอะไรน้อยที่สุด (o-net 53)
    ก.เบื่ออาหาร
    ข.ตาฟาง
    ค.โลหิตจาง
    ง.เลือดออกตามไรฟัน
    เฉลย ข้อ ง. เพราะส้มตํามะละกอประกอบด้วย มะละกอ มะนาว ผักอื่นๆ ซึ่งจะมีวิตามินซีสูง จึงไม่มีโอกาสเป็นโรคเลือดออกตามไรฟัน

    นาย ธนพล ทัศน์พันธ์เพชร เลขที่ 10 ม.6/2

  45. ข้อความใดต่อไปนี้ถูก (O-net 53)
    ก. สารชีวโมเลกุล คือสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบพบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
    ข. ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล 3 โมเลกุล
    ค. พันธะเปปไทด์พบได้ในโมเลกุลของโปรตีน
    ง. ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาว
    1. ก และ ค
    2. ข และ ค
    3. ค และ ง
    4. ก ข และ ง
    เฉลย ข้อ 3. ค และ ง
    เหตุผล
    (ก) ผิดเพราะ สารชีวโมเลกุล คือสารเคมีที่เป็นองค์ประกอบของสิ่งมีชีวิตพบในสิ่งมีชีวิตเท่านั้น
    (ข) ผิดเพราะ ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบด้วยกลีเซอรอล 1 โมเลกุล กับ กรดไขมัน 3 โมเลกุล
    (ค) ถูก
    (ง) ถูก
    น.ส. ณัฐชา จันต๊ะคาด เลขที่ 22 ม.6/3

  46. นางสาว จริยา คำติ๊บ ม6/8 เลขที่36
    o-net 56
    1.สารจากธรรมชาติใดจัดเป็นโคพอลิเมอร์ ?
    ก.โปรตีน
    ข.เซลลูโลส
    ค.ไกลโคเจน
    ง.ยางธรรมชาติ
    ตอบ.ก
    คำอธิบาย:โปรตีนเป็นสารประกอบชีวเคมี ซึ่งประกอบด้วยพอลิเพปไทด์หนึ่งสายหรือมากกว่า ที่พับกันเป็นรูปทรงกลมหรือเส้นใย โดยทำหน้าที่อำนวยกระบวนการทางชีววิทยา พอลิเพปไทด์เป็นพอลิเมอร์สายเดี่ยวที่เป็นเส้นตรงของกรดอะมิโนที่เชื่อมเข้ากันด้วยพันธะเพปไทด์ระหว่างหมู่คาร์บอกซิลและหมู่อะมิโนของกรดอะมิโนเหลือค้าง (residue) ที่อยู่ติดกัน ลำดับกรดอะมิโนในโปรตีนกำหนดโดยลำดับของยีน ซึ่งเข้ารหัสในรหัสพันธุกรรม โดยทั่วไป รหัสพันธุกรรมประกอบด้วยกรดอะมิโนมาตรฐาน 20 ชนิด อย่างไรก็ดี สิ่งมีชีวิตบางชนิดอาจมีซีลีโนซิสตีอีน และไพร์โรไลซีนในกรณีของสิ่งมีชีวิตโดเมนอาร์เคียบางชนิด ในรหัสพันธุกรรมด้วย ไม่นานหรือระหว่างการสังเคราะห์ สารเหลือค้างในโปรตีนมักมีขั้นปรับแต่งทางเคมีโดยกระบวนการการปรับแต่งหลังทรานสเลชัน (posttranslational modification) ซึ่งเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมี การจัดเรียง ความเสถียร กิจกรรม และที่สำคัญที่สุด หน้าที่ของโปรตีนนั้น บางครั้งโปรตีนมีกลุ่มที่มิใช่เพปไทด์ติดอยู่ด้วย ซึ่งสามารถเรียกว่า โปรสทีติกกรุป (prosthetic group) หรือโคแฟกเตอร์ โปรตีนยังสามารถทำงานร่วมกันเพื่อบรรลุหน้าที่บางอย่าง และบ่อยครั้งที่โปรตีนมากกว่าหนึ่งชนิดรวมกันเพื่อสร้างโปรตีนเชิงซ้อนที่มีความเสถียร

  47. นาย ชนะชัย เฟื่องกิจทวีกุล ม.6/8 เลขที่7
    o-net 50
    สารในข้อใดเมื่อนำมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์แล้วให้ผลการทดสอบที่ถูกต้องที่สุด
    1. เมื่อนำน้ำแป้งมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    2. เมื่อนำน้ำองุ่นมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะเกิดตะกอนสีแดงอิฐ
    3. เมื่อนำน้ำผึ้งมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
    4. เมื่อนำน้ำแอปเปิลมาทดสอบกับสารละลายเบเนดิกต์จะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลง
    เฉลย 2 เพราะ สารละลายเบเนดิกต์นำมาใช้ทดสอบน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยว โดยจะเกิดผลิตภัณฑ์ที่เป็นตะกอนสีแดงอิฐ น้ำองุ่น น้ำผึ้ง และน้ำแอปเปิล มีน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวเป็นองค์ประกอบจึงสามารถทำปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์ได้ ส่วนน้ำแป้งเป็น
    พอลิแซ็กคาไรด์ซึ่งจะไม่เกิดปฏิกิริยากับสารละลายเบเนดิกต์

  48. นางสาว เพ็ชร ชุ่มเย็น ม.6/8 เลขที่ 31
    O-NET 52
    เรื่อง สารชีวโมเลกุล

    21. ขอความใดไม่ถกตอง

    1. กรดไรโบนิวคลีอิกทําหนาที่ในการสรางโปรตีน
    2. คารโบไฮเดรตชวยใหการเผาไหมไขมนเป็นไปอยางสมบูรณ
    3. ปฏิกิริยาการเตรียมสบูจากน้ํามันเรียกวา “สะปอนนิฟเคชัน (saponification)”
    4. โปรตีนเปนแหลงพลังงานขั้นแรกของรางกายโดยโปรตีน 1 กรัม ใหพลังงาน
    4 กิโลแคลอรี

    ตอบ 2. คารโบไฮเดรตชวยใหการเผาไหมไขมันเป็นไปอยางสมบูรณ

  49. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับยางสังเคราะห์
    1. พอลิบิวตาไดอีนเป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    2. ยางเอสบีอาร์เป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    3. ยางเอสบีอาร์เป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น
    4. นีโอพรีนเป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น
    เฉลย
    ตอบ 2
    พอลิบิวตาไดอีน มีมอนอเมอร์ คือ บิวตาไดอีน ส่วนนีโอพรีน มีมอนอเมอร์ คือ คลอโรบิวตาไดอีน จึงเป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    ยางเอสบีอาร์ มีมอนอเมอร์ คือ สไตอีนและบิวตาไดอีน ส่วนยางเอบีเอส มีมอนอเมอร์ คือ อะคริโลไนไตรล์ สไตรีน และบิวตาไดอีน จึงเป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    นางสาว จันทร์จุลี เครื่องไชย เลขที่21 ชั้นม.6/8

  50. นาย ธนินวิชญ์ สุธรรม ม.6/4เลขที่8

    O-NET 52
    เรื่อง สารชีวโมเลกุล
    พันธะที่เชื่อมต่อระหว่าง monosaccharide แต่ละโมเลกุล คือพันธะในข้อใด

    A. พันธะไกลโคซิดิก
    B. พันธะเพปไทด์
    C. พันธะไฮโดรเจน
    D. พันธะซัลไฟด์
    ตอบ A

    O-NET 52
    เรื่องพอลิเมอร์

    เพราะเหตุใดพลาสติกเทอร์มอเซต เมื่อขึ้นรูปด้วยการผ่านความร้อนหรือแรงดันแล้วจะไม่สามารถนำกลับมาขึ้นรูปใหม่ได้อีก ?

    1. เพราะพอลิเมอร์มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่โมเลกุลแบบกิ่ง

    2. เพราะพอลิเมอร์มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่โมเลกุลแบบเส้น

    3. เพราะพอลิเมอร์มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่โมเลกุลแบบร่างแห

    4. เพราะพอลิเมอร์มีการเชื่อมต่อระหว่างโซ่โมเลกุลแบบกิ่งและแบบเส้น

    ตอบ 3.

    O-NET 53
    เรื่อง ปิโตรเลียม
    ก๊าซโซฮอล ( Gasohol ) หรือ เบนโซฮอล์ ( Benzohol ) เป็นของเหลวผสมระหว่างสารใด ?

    ก. เมทานอลกับน้ำมันดีเซล
    ข. เมทานอลกับน้ำมันเบนซิน
    ค. เอทานอลกับน้ำมันเบนซิน
    ง. เอทานอลกับน้ำมันดีเซล

    ตอบ ค

  51. นางสาวแสงคำเมือง นามแก้ว เลขที่ 19 ชั้น ม.6/4
    นาย ก ได้ช่วยลดปัญหาสิ่งแวดล้อมโดยการนำเอารองเท้านักเรียนที่ชำรุดไปติดกาวใหม่ เพื่อนำมาใช้ได้อีก วิธีดังกล่าวเรียกว่าอะไร (O-net 53)

    1. reduce
    2. reuse
    3. recycle
    4. repair

    ตอบข้อ 4. repair
    เหตุผล
    จากหลัก 5R—-> Repair คือ การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆให้สามารถใช้งานต่อได

  52. นางสาว จันทร์ แสงยง ม.6/6 เลขที่ 28.

    สารจากธรรมชาติต่อไปนี้ สารใดจัดเป็นโคพอลิเมอร์
    1.แป้ง
    2.เซลลูโลส
    3.ยางธรรมชาติ
    4.โปรตีน

    ตอบ ข้อ 4. ค่ะ

  53. นางสาว วราพร ศรีทอง ม.6/10 เลขที่17

    องค์ประกอบในข้อใดที่ไม่พบในน้ำมันดิบ
    ก. แอลเคน
    ข. แอลไคน์
    ค. สารประกอบกำมะถัน
    ง. สารประกอบไนโตรเจน
    ตอบ ง. สารประกอบไนโตรเจน

  54. นางสาวจัสมิน ไทยอนันต์ ม6/1 เลขที่ 44
    ข้อ 44 (o-net 52)
    ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
    1. ไกลโคเจนไม่ละลายน้ำแต่เซลลูโลสละลายในน้ำได้เล็กน้อย
    2. มอลเทสเป็นเอนไซม์ที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคสและฟรักโทส
    3. ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสที่ทำให้เกิดไกลโคเจนจะทำให้มีน้ำเกิดขึ้นด้วย
    4. ฟรักโทสและไรโบสมีสูตรโมเลกุลเหมือนกันและมีโครงสร้างเป็นวงขนาด 5 อะตอมเหมือนกัน

    เฉลย ข้อ 3.
    ข้อ 1. ผิด เนื่องจากไกลโคเจนละลายน้ำ ส่วนเซลลูโลสไม่ละลายน้ำ
    ข้อ 2. ผิด เนื่องจากมอลเทสเป็นเอนไซม์ที่สลายน้ำตาลมอลโทสให้เป็นกลูโคส 2 โมลกุล
    ข้อ 3. ถูก เนื่องจากพอลิเมอไรเซชันของกลูโคสจะเป็นแบบควบแน่นน้ำด้วย
    ข้อ 4. ผิด เนื่องจากฟรักโทสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 6 อะตอม มี่สูตร C6H12O6
    ส่วนไรโบสเป็นน้ำตาลที่มีคาร์บอน 5 อะตอม มีสูตร C5H10O5

  55. พอลิเมอร์
    ข้อใดเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติทั้งหมด
    1.แป้ง เซลลูโลส พอลิสไตรรีน
    2.โปรตีน พลลิไอโซพรีน กรดนิวคลิอิค
    3.ยางพารา พอลิเอทิลีน เทฟลอน
    4.ไกลโคเจน ไขมัน ซิลิโคน
    ตอบข้อ 2

    ปิโตเลียม
    น้ำมันเบนซินชนิดหนึ่งมีประสิทธิภาพในการเผาไหม้เหมือนกับของผสมที่มีอัตราส่วนของไอโซออกเทน 36 ส่วน และเฮปเทน 4 ส่วน น้ำมันเบนซินชนิดนี้มีเลขออกเทนเท่าใด
    ตอบ มีค่าออกเทนเท่ากับ 90

    ชีวโมเลกุล
    ข้อความใดต่อไปนี้ถูก
    ก.สารชีวโมเลกุล คือสารประกอบที่มีธาตุคาร์บอนและไฮโดรเจนเป็นองค์ประกอบพบได้ทั้งในสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
    ข.ไตรกลีเซอไรด์หนึ่งโมเลกุลประกอบขึ้นจากกรดไขมัน 1 โมเลกุลและกลีเซอรอล 3 โมเลกุล
    ค.พันธะเปปไทด์พบในโมเลกุลของโปรตีน
    ง.ปุยฝ้ายเกิดจากกลูโคสมาเชื่อมต่อกับสายยาว

    1.กและค
    2.ขและค
    3.คและง
    4.ก ข และง
    ตอบข้อ3. คและง

  56. นางสาว ฐิติพันธ์ ปันทะรส เลขที่ 30 ชั้น ม.6/4
    O-NET 53
    เรื่อง ปิโตรเลียม

    ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมีที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม
    1. มีจุดเดือดสูงกว่าน้ำมันดีเซล
    2. เป็นสารไฮโดรคาร์บอนที่ละลายน้ำได้
    3. มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติ
    4. ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนที่มีจำนวนคาร์บอนน้อยกว่า 5 อะตอม

    เฉลย
    ตอบ ข้อ 3. มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติ
    ข้อ 1 น้ำมันเบนซินมีจุดเดือด 250-340 องซาเซลเซียส
    ข้อ 2 ไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดไม่ละลายน้ำเพราะไม่มีขั้ว
    ข้อ 4 จำนวนคาร์บอนของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมี คือ 6-12

  57. นางสาวฐิติพันธ์ ปันทะรส เลขที่ 30 ชั้น ม.6/4
    O-NET 52
    เรื่อง สารชีวโมเลกุล

    หมูอ้วนและมีไขมันมากเมื่อเลี้ยงด้วยอาหารพวกคาร์โบไฮเดรต ทั้งนี้เพราะร่างกายหมูสามารถ
    1 เปลี่ยนคาร์โบไฮเดรตในอาหารเป็นไขมัน
    2 ดูดซึมที่ลำไส้เล็กเฉพาะไขมัน
    3 เปลี่ยนโปรตีนในอาหารมาเป็นไขมัน
    4 นำคาร์โบไฮเดรตไปเผาผลาญให้เป็นพลังงานแต่สะสมไขมันไว้

    ตอบ ข้อ 1 เมื่อสลายกลูโคสจนได้ acetyI CoA และ acetyI CoA สามารถจะเข้าสู่วงจรการหายใจหรือนําไปสร้างเป็นกรดไขมันและสร้างเป็นไขมันสะสมตามเนื้อเยื่อต่างๆ เช่น adipose tissue ตามหน้าท้องขาอ่อนเป็นต้น

    นางสาว จันทร์ติ๊บ อินคำ เลขที่ 30 ชั้น ม.6/4
    O-NET 53
    เรื่อง ปิโตรเลียม

    ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับสมบัติของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมีที่ได้จากการกลั่นปิโตรเลียม
    1. มีจุดเดือดสูงกว่าน้ำมันดีเซล
    2. เป็นสารไฮโดรคาร์บอนที่ละลายน้ำได้
    3. มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติ
    4. ประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนที่มีจำนวนคาร์บอนน้อยกว่า 5 อะตอม

    เฉลย
    ตอบ ข้อ 3. มีสถานะเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันปกติ
    ข้อ 1 น้ำมันเบนซินมีจุดเดือด 250-340 องซาเซลเซียส
    ข้อ 2 ไฮโดรคาร์บอนทุกชนิดไม่ละลายน้ำเพราะไม่มีขั้ว
    ข้อ 4 จำนวนคาร์บอนของตัวทำละลายในอุตสาหกรรมเคมี คือ 6-12

  58. นางสาวฐิติพันธ์ ปันทะรส ชั้น ม. 6/4 เลขที่ 30
    O-NET 52
    เรื่องพอลิเมอร์
    62. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับยางสังเคราะห์
    1. พอลิบิวตาไดอีนเป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    2. ยางเอสบีอาร์เป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    3. ยางเอสบีอาร์เป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น
    4. นีโอพรีนเป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบควบแน่น

    เฉลย
    ตอบ 2
    พอลิบิวตาไดอีน มีมอนอเมอร์ คือ บิวตาไดอีน ส่วนนีโอพรีน มีมอนอเมอร์ คือ คลอโรบิวตาไดอีน จึงเป็นโฮโมพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม
    ยางเอสบีอาร์ มีมอนอเมอร์ คือ สไตอีนและบิวตาไดอีน ส่วนยางเอบีเอส มีมอนอเมอร์ คือ อะคริโลไนไตรล์ สไตรีน และบิวตาไดอีน จึงเป็นโคพอลิเมอร์ที่เกิดปฏิกิริยาพอลิเมอร์ไรเซชันแบบต่อเติม

  59. นาย สมัชญ รุ้งมณี ม.6/1 เลขที่ 4

    Q: เซลลูโลสและแปงเหมือนกันอยางไร (o-net)
    1) เปนแหลงพลังงานใหรางกาย
    2) ชวยกระตุนใหลําไสใหญเคลื่อนไหว
    3) ชนิดของมอนอแซ็กคาไรดที่เปนองคประกอบ
    4) พันธะเคมีระหวางมอนอแซ็กคาไรดที่เปนองคประกอบ

    เฉลย ตอบ (3) ชนิดของมอนอแซ็กคาไรดที่เปนองคประกอบ
    คำอธิบาย : แปงและเซลลูโลส เกิดจากกลูโคสจํานวนมากมารวมกัน โดยแปงเปนแหลงพลังงาน
    ใหรางกาย สวนเซลลูโลสรางกายคนยอยสลายไมได แตจะชวยกระตุนใหลําไสใหญเคลื่อนไหว
    มีประโยชนตอระบบขับถาย

    • อ้าว มาผิดที่ ขอโต๊ดกาาาบ ครู

  60. นางสาว อมรรัตน์ จันต๊ะ ม.6/8 เลขที่ 15

    Q : มีคำแนะนำให้รับประทานผักบุ้งและน้ำเต้าหู้อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง ถ้าอาหารกลางวันมื้อหนึ่งรับประทานข้าวกับผักบุ้งผัดน้ำมัน และแกงจืดเต้าหู้หมูสับอาหารที่จะได้รับสารชีวะโมเลกุลประเภทให้พลังงานกี่ชนิดอะไรบ้าง
    1. 2 ชนิด โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต
    2. 3 ชนิด ไขมัน โปรตีน และคาร์โบไฮเดรต
    3. 4 ชนิด ไขมัน โปรตีน กรดนิวคลิอิก และเซลลูโลส
    4. 4 ชนิด ไขมัน โปรตีน คาร์โบไฮเดรต และกรดนิวคลิอิก

    คำอธิบายค่ะ
    สิ่ง มีชีวิตทุกชนิดบนโลกนี้มีลักษณะเหมือนกันประการหนึ่ง คือประกอบด้วยธาตุหลายชนิดมารวมอยู่ด้วยกัน ธาตุหลักที่พบมากในสิ่งมีชีวิต คือ คาร์บอน (carbon, C) ไฮโดรเจน (hydrogen, H) ออกซิเจน (oxygen, O)ไนโตรเจน (nitrogen, N) ซัลเฟอร์ (sulfer, S) และฟอสฟอรัส (phosphorus, P) ธาตุ ต่าง ๆ เหล่านี้สามารถจะรวมตัวกันหลายรูปแบบ ก่อกำเนิดเป็นโมเลกุลของสิ่งมีชีวิตขึ้น การที่ธาตุต่าง ๆ สามารถรวมอยู่ด้วยกันได้ เพราะมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอะตอมที่เรียกว่าพันธะโควาเลนต์ (covalent bond) เป็น สำคัญ แต่ก็ยังมีพันธะเคมีอื่น ๆ ซึ่งมีส่วนทำให้การยึดเหนี่ยวภายในโมเลกุล และระหว่างโมเลกุลสมบูรณ์ยิ่งขึ้น พันธะเหล่านี้คือ พันธะไอออนิก (Ionic bond) พันธะไฮโดรเจน (Hydrogen bond) และพันไฮโดรโฟบิก (hydrophobic bond)
    พันธะโควาเลนต์เป็นพันธะเคมีที่ไม่แตกสลายง่าย ดังนั้น โมเลกุลเล็ก ๆ หลายชนิดจึงมีความคงทนเป็นพิเศษ และถูกใช้เป็นหน่วยย่อย (monomer)ในการสร้าง โมเลกุลใหญ่ๆ (polymer) โพ ลิเมอร์หนึ่ง ๆ นั้น ปกติจะประกอบด้วยหน่วยย่อยเหมือน ๆ กันเป็นจำนวนมากต่อกันยาวเป็นโซ่ ในการย่อยสลายโพลิเมอร์ลงเป็นหน่วยย่อยเหมือนๆ กันเป็นจำนวนมากต่อกันยาวเป็นโซ่ ในการย่อยสลายโพลิเมอร์ลงเป็นหน่วยย่อยนั้นทำได้ง่ายมากกว่าการสลายหน่วย ย่อยเอง

    เราสามารถจำแนกชีวโมเลกุลได้โดยดูที่หมู่ฟังก์ชันของโมเลกุลนั้นเป็นสำคัญ หมู่ฟังก์ชันเหล่านี้ ได้แก่ โมเลกุลใดมีหมู่คาร์บอกซิล ก็จัดเป็นกรด ตัวอย่างเช่น กรดไขมัน จะมีหมู่คาร์บอกซิลและสายคาร์บอน–ไฮโดรเจน หนึ่งสาย หรือกรดอะมิโน ก็มีทั้งหมู่อะมิโนและหมู่คาร์บอกซิล อยู่ในโมเลกุลเดียวกัน สำหรับคาร์โบไฮเดรต เช่น มอโนแซ็กคาไรด์ จะมีหมู่อัลดีไฮด์หรือหมู่คีโตน และหมู่ไฮดรอกซิล การศึกษาสมบัติทางเคมีของชีวโมเลกุล ตั้งแต่โมเลกุลหน่วยย่อย เช่น กรดอะมิโน มอโนแซ็กคาไรด์ และลิพิดตามลำดับนั้น เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีวเคมี (biochemistry)

    สารชีวโมเลกุล (biomolecule) เป็นสารเคมีที่มีอยู่ในสิ่งมีชีวิต อยู่ในกลุ่มของสารอินทรีย์ มีหลายชนิด ทำหน้าที่ต่างๆ กันในร่างกาย เช่น เป็นองค์ประกอบของอวัยวะต่างๆ ใช้ในการสร้างพลังงาน ทำให้ร่างกายเจริญเติบโต ทำให้ร่างกายทำงานเป็นปกติ เป็นน้ำย่อย รวมทั้งเป็นสารพันธุกรรม

    สาระสำคัญ

    1. คาร์โบไฮเดรต (carbohydrate)

    2. โปรตีน (protein)

    3. ลิพิด (lipid)

    4. กรดนิวคลีอิก (nucleic acid)

    ตอบ ข้อ 4

  61. นายธีระ แซ่หม่า ม.6/1 เลขที่ 17
    ข้อ 30 (o-net 50)
    พิจารณาข้อความต่อไปนี้
    ก.ไนลอนและอีพอกซีจัดเป็นเทอร์มอพลาสติก
    ข.เอทิลีนจัดเป็นมอนอเมอร์ที่มีขาดเล็กที่่สุดในการผลิตพอลิเมอร์
    ค.ซิลิโคน ที่ใช้ในงานศัลยกรรมเป็นพอลิเมอร์ชนิดหนึ่ง
    ง.ยางธรรมชาติ และยางเทียม IR ต่างมีไอโซปรีนเป็นมอนอเมอร์
    ข้อใดถูก
    1. ก. ข. และค.
    2. ข. ค. และง.
    3. ก. ข. และง.
    4. ก. ค. และง.

    เฉลย
    ข้อ 2.
    ข้อ ก. ผิดเนื่องจากอีพอกซีจะเป็นพลาสติกเทอร์มอเซต
    ข้อ ข. ถูกต้อง
    ข้อ ค. ถูกต้อง เนื่องจากซิลิโคนเกิดจาก SiO2 รวมกับอัลคิลคลอไรด์ (RCl) จะได้สารที่เป็นมอนอเมอร์
    ข้อ ง. ถูกต้อง เนื่องจากยางธรรมชาติ และยางเทียม IR (Isoprene rubber) ต่างมีไอโซปรีนเป็นสารตั้ง
    ต้นเหมือนกัน

    • ครูครับ
      ลบไม่ได้อ่ะครับ
      ขอโทษครับ

  62. อย่าลืมส่งนะค่ะ
    ครูนิดค่ะ