วรรณกรรมเรื่องใดเป็นพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 2

ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์   พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงได้รับการวางรากฐานอันมั่นคงในแทบทุกด้านจากสมเด็จพระบรมชนกนาถ  ทรงได้รับพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้โดยเสด็จอย่างใกล้ชิด   ทั้งยังทรงได้รับความไว้วางพระราชหฤทัยให้ปฏิบัติพระราชกิจต่าง ๆ แทนพระองค์อยู่เสมอ   ทรงได้รับการศึกษาอย่างดียิ่งทั้งตามแบบราชประเพณีและตามแบบแผนตะวันตก

เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงครองราชย์ตั้งแต่ยังทรงพระเยาว์  จึงต้องมีผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์จนกว่าจะทรงบรรลุนิติภาวะคือ   สมเด็จเจ้าพระยามหาศรีสุริยวงค์ (ช่วง  บุนนาค)  เป็นผู้สำเร็จราชการแผ่นดินซึ่งมีอำนาจสูงสุด   ส่วนสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ  เจ้าฟ้ามหามาลา  กรมขุนบำราบปรปักษ์ทรงเป็นผู้สำเร็จราชการในราชสำนัก   โดยมีสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ  กรมพระยาสุดารัตนราชประยูรทรงช่วยบัญชาการฝ่ายใน  ดังนั้นในช่วงเวลาก่อนที่จะทรงพระราชอำนาจสิทธิ์ขาดในการบริหารราชการแผ่นดินด้วยพระองค์เอง   จึงมีพระราชวโรกาสได้ทรงศึกษาความเป็นไปของบ้านเมืองและของโลก  ได้เสด็จประพาสทั้งภายในและภายนอกประเทศ

ในรัชกาลที่  5 ประเทศสยามได้รับการปฏิรูปให้อยู่ในภาวะที่เรียกว่า  “ศิวิไลซ์” ทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ  ทั้งในด้านการศึกษา  การเมือง  การปกครอง  และสังคม  และวัฒนธรรม พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงเป็นที่จงรักภักดีและเทิดทูนของพสกนิกรอย่างยิ่ง   จึงทรงได้รับพระราชสมัญญาว่า “สมเด็จพระปิยมหาราช” ใน พ.ศ. 2546 เนื่องในวาระฉลองวันพระราชสมภพครบ 150 ปี องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO)  ได้ประกาศพระเกียรติคุณให้ทรงเป็นบุคคลสำคัญของโลกสาขาการศึกษา  วัฒนธรรม  สังคมศาสตร์   มานุษยวิทยา  และการพัฒนาสังคมและการสื่อสาร ประจำปี 2545-2546

พระราชนิพนธ์

วรรณกรรม

1. ไกลบ้าน*  

2. พระราชพิธีสิบสองเดือน*  

3. พระราชวิจารณ์เรื่องจดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี  

4. ลิลิตนิทราชาคริต*

5. บทละครนิทราชาคริต*

6. บทละครเรื่องเงาะป่า*

7. วงศ์เทวราช*  

8. กาพย์เห่เรือ*  

9. โคลงสุภาษิต*  

10. โคลงพระราชพิธีแห่โสกันต์*  

11. พระราชกรัณยานุสร*  

12. โคลงนิราศของท้าวสุภัติการภักดี* 

13.  คำจารึก ณ พระราชานุสาวรีย์สมเด็จพระนางเจ้าสุนันทากุมารีรัตน์ พระบรมราชเทวี*

14.  ตามเสด็จไทรโยค*

15.  โคลงภาพพระราชพงศาวดาร*

โคลงประกอบรูปที่  1  แผ่นดินสมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1  ภาพสร้างกรุงศรีอยุธยา

โคลงประกอบรูปที่ 10  แผ่นดินสมเด็จพระมหาจักรพรรดิ  ภาพพระสุริโยทัยขาดคอช้าง

โคลงประกอบรูปที่ 19  แผ่นดินพระมหินทราธิราช ครั้งที่ 2  ภาพพระมหาธรรมราชาอาสาเจรจาความเมือง

โคลงประกอบรูปที่  21  แผ่นดินสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช  ภาพสมเด็จพระนเรศวรตามจับพระยาจีนจันตุ

โคลงประกอบรูปที่  22  แผ่นดินสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช  ภาพสมเด็จพระนเรศวรทรงปืนข้ามแม่น้ำสโตง

โคลงประกอบรูปที่  62  จลาจลสมัย  ภาพพระยาวชิรปราการกับทหาร 5 ม้า  รบพม่า 30  ม้า

โคลงประกอบรูปที่  72  ภาพเมื่อจลาจลในกรุงธนบุรี  พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าเสด็จกลับจากเมืองเขมร

โคลงประกอบรูปที่  79  แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช  ภาพค่ายปีกกาพม่าที่เมืองทวาย

โคลงประกอบรูปที่  86  แผ่นดินพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช  ภาพอุปราชาภิเศกกรมหลวงอิศรสุนทรเป็นกรมพระราชวังบวรฯ

16. กลอนไดเอรีซึมทราบ*

17. โคลงพระราชพิธีศรีสัจปานกาลแลคเชนทรัศวสนาน*

18. บทโคลงและฉันท์ร.ศ.112*

19. บทละครเบ็ดเตล็ดเรื่องรามเกียรติ์*

20. โคลงภาพเรื่องรามเกียรติ์ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม*

ห้องที่ 90 รวมโคลง 28 บท เนื้อความตั้งแต่ทศกัณฐ์ทำพิธีอุมงค์จนถึงหนุมานทำลายพิธีอุมงค์  

ห้องที่ 94 รวมโคลง 28 บท เนื้อความตั้งแต่หนุมานเกี้ยวนางวานรินจนถึงหนุมานสังหารวิรุญจำบัง  

ห้องที่ 102 – 107 รวมโคลง 168 บท เนื้อความตั้งแต่ทศกัณฐ์ยกทัพเข้าเมืองจนถึงหนุมานคืนสมบัติให้ทศกัณฐ์

21. วชิรญาณสุภาษิต*

22. เสด็จประพาสต้น*

23. บทเจรจาเรื่องอิเหนา*

ฯลฯ

พระราชหัตถเลขา

1. พระราชหัตถเลขาถึงสมเด็จพระบรมราชินีนาถ

2. พระราชหัตถเลขาพระราชทานสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ  ในเวลาเสด็จพระราชดำเนินประพาสยุโรปครั้งที่ 2  ใน พ.ศ.2450

3. พระราชหัตถเลขาทรงมีไปมากับสมเด็จพระมหาสมณเจ้า  กรมพระยาวชิรญาณวโรรส

4. พระราชหัตถเลขาและหนังสือกราบบังคมทูลของเจ้าพระยาพระเสด็จสุเรนทราธิบดี  แต่ยังมีบรรดาศักดิ์เป็นพระมนตรีพจนกิจและพระยาวิสุทธิสุริยศักดิ์

5. พระราชหัตถเลขาพระราชทานพระยาบุรุษรัตนราชพัลลภ (นพ  ไกรฤกษ์)

6. พระราชหัตถเลขารัชกาลที่ 5  ที่เกี่ยวกับภารกิจของกระทรวงมหาดไทย  เล่ม 1 – 2

7. พระราชหัตถเลขาเรื่องเสด็จประพาสลำน้ำมะขามเฒ่าเมื่อ พ.ศ. 2451

ฯลฯ

พระบรมราโชวาท พระราชดำรัส พระบรมราชาธิบาย และจดหมายเหตุบันทึกรายวัน

1. พระบรมราโชวาทในรัชกาลที่ 5  เช่น  พระบรมราโชวาทพระราชทานพระเจ้าลูกยาเธอทั้ง 4 พระองค์*

2. พระราชดำรัสในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (ตั้งแต่ พ.ศ. 2417 ถึง พ.ศ. 2453)  เป็นเวลารวม  36  ปี

3. พระราชนิพนธ์พระบรมราชาธิบายเรื่องสามัคคี

4. จดหมายเหตุพระราชกิจรายวันในรัชกาลที่ 5 ปีมะโรง  พ.ศ. 2411  ถึงปีระกา พ.ศ. 2416

ดำรงราชานุภาพ,  สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ  กรมพระยา.   พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์  รัชกาลที่ 5.  กรุงเทพฯ  :  บัวหลวงการพิมพ์,  2522.  (พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ  น.ส.ธิติ   บุนนาค  ณ  เมรุวัดเทพศิรินทราวาส   วันที่  26  เมษายน  พุทธศักราช  2522)

ณัฐวุฒิ  สุทธิสงคราม.  พระราชประวัติ  42  ปีแห่งการครองราชย์สมเด็จพระปิยมหาราช.  กรุงเทพ ฯ  : ส่งเสริมบัณฑิตย์,  2529 .

ยุพร  แสงทักษิณ.  ยิ่งยศพระปิยมหาราชเรื้อง  โลกซ้องสดุดี.  กรุงเทพ ฯ  :  สถาบันภาษาไทย  กรมวิชาการ  กระทรวงศึกษาธิการ , 2546.

วรรณกรรมเรื่องใดเป็นพระราชนิพนธ์ของรัชกาลที่ 2

- นิทาน ๕ เรื่อง ได้แก่ โคบุตร พระอภัยมณี พระไชยสุริยา ลักษณวงศ์ และ สิงหไกรภพ - สุภาษิต ๓ เรื่อง ได้แก่ สวัสดิรักษา เพลงยาวถวายโอวาท และสุภาษิตสอนหญิง - บทละคร ๑ เรื่อง คือ เรื่องอภัยนุราช - บทเสภา ๒ เรื่อง ได้แก่ ขุนช้างขุนแผน ตอนกำเนิดพลายงาม และเรื่องพระราชพงศาวดาร

วรรณกรรมเรื่องใดเป็นบทพระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่

พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย 1. บทละครเรื่องอิเหนา 2. บทละครเรื่องรามเกียรติ์ 3. บทละครนอก 5 เรื่อง คือ ไชยเชษฐ์ มณีพิไชย คาวี สังข์ทอง ไกรทอง 4. กาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวานและว่าด้วยงานนักขัตฤกษ์

เรื่องใดเป็นวรรณกรรมที่รัชกาลที่ 2 ทรงพระราชนิพนธ์และได้รับการยกย่องมากที่สุด

ผู้แต่ง พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยแต่งเอง รวมถึง โปรดให้กวีที่ไว้วางพระราชหฤทัยรับบางตอนไปแต่ง ทานองแต่ง แต่งเป็นกลอนสุภาพ • วัตถุประสงค์ในการแต่งเพื่อใช้ขับเสภา Page 7 • ขุนช้างขุนแผนเป็นเรื่องที่ได้รับความนิยมมากที่สุด ได้รับการ ยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของกลอนสุภาพ

วรรณกรรมเรื่องใดที่เป็นพระราชนิพนธ์ที่มีความสำคัญที่สุดในพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย นับเป็นยุดที่วรรณกรรมด้านร้อยกรองมีความเจริญสูงสุด เนื่องจากในสมัยนี้มีกวีเอกหลายท่าน ได้เขียนผลงานทางวรรณกรรมที่มีคุณค่าไว้หลายเล่ม เช่น ๏ พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย - บทละครเรื่อง รามเกียรติ์ - บทละครเรื่อง อิเหนา (ได้รับยกย่องเป็นบทละครที่ไพเราะที่สุด)