เพลงประจำ “กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด

เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด

Toggle Navigation

  • วัดทองHome
  • ประวัติวัดทองHistory
  • คณะกรรมการBoard

    • เจ้าอาวาสวัดทอง
    • พระภิกษุ-สามเณร
    • สามเณรภาคฤดูร้อน รุ่นที่ ๑
    • สามเณรภาคฤดูร้อน รุ่นที่ ๒
    • สามเณรภาคฤดูร้อน รุ่นที่ ๓
    • ไวยาวัจกรการวัดทอง
    • คณะกรรมการวัดทอง
    • คณะกรรมการชุมชนวัดทอง

  • ข่าวประชาสัมพันธ์News & Information

    • ประชาสัมพันธ์งานบุญของวัด
    • สมัครประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง
    • ผลการประกวดร้องเพลง
    • ครั้งที่๑๐-๒๕๖๒-เมษายน
    • ครั้งที่๙-๒๕๖๑-เมษายน
    • ครั้งที่๘-๒๕๖๐-ตุลาคม
    • ครั้งที่๗-๒๕๖๐-เมษายน
    • ครั้งที่๖-๒๕๕๙-เมษายน
    • ครั้งที่๕-๒๕๕๘-พฤศจิกายน
    • ครั้งที่๔-๒๕๕๘-เมษายน
    • ครั้งที่๓-๒๕๕๗-พฤศจิกายน
    • ครั้งที่๒-๒๕๕๗-เมษายน
    • ครั้งที่๑-๒๕๕๖-กรกฎาคม

  • กิจกรรมของวัดEvents

    • กิจกรรม พ.ศ. ๒๕๖๑
    • กิจกรรม พ.ศ. ๒๕๖๐
    • กิจกรรม พ.ศ. ๒๕๕๙
    • กิจกรรม พ.ศ. ๒๕๕๘
    • กิจกรรม พ.ศ. ๒๕๕๗/๑
    • กิจกรรม พ.ศ. ๒๕๕๗/๒
    • กิจกรรม พ.ศ. ๒๕๕๗/๓
    • กิจกรรม พ.ศ. ๒๕๕๖/๑
    • กิจกรรม พ.ศ. ๒๕๕๖/๒
    • กิจกรรม พ.ศ. ๒๕๕๕

  • สนทนาธรรมForum
  • สมุดเยี่ยมGuestBook
  • ติดต่อวัดContract Us

    • ติดต่อวัดทองทางโทรศัพท์
    • ติดต่อวัดทองทางอีเมล์
    • แผนที่การเดินทางมาวัดทอง

เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด

กัณฑ์ที่ ๑๓ นครกัณฑ์

 

เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด
เพลงประจำ กัณฑ์นครกัณฑ์” คือเพลงใด

หกกษัตริย์นำพยุหโยธาเสด็จกลับสู่พระนคร
แล้วขึ้นครองนครเชตุดรแทนพระราชบิดา 

มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์ที่ ๑๓ กัณฑ์นครกัณฑ์

 

การทำความดีย่อมได้รับผลดีตอบแทน การใช้ธรรมะในการปกครอง จะทำให้บ้านเมืองมีแต่ความสงบและร่มเย็น

เป็นพระนิพนธ์ใน สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม กรุงเทพมหานคร

กัณฑ์นครกัณฑ์ ประดับด้วยคาถา ๔๘ พระคาถา

เพลงประจำกัณฑ์ คือ เพลง “กลองโยน”

 

                  ประกอบกิริยาการยกขบวนพยุหยาตราของ พระเวสสันดร พรั่งพร้อมด้วยขบวนพระอิสริยยศอย่างสมพระเกียรติ กัณฑ์นี้ประดับด้วยคาถา ๔๘ พระคาถา ข้อคิดจากกัณฑ์ การทำความดีย่อมได้รับผลดีตอบแทน การใช้ธรรมะในการปกครอง จะทำให้บ้านเมืองมีแต่ความสงบและร่มเย็น สาระน่ารู้สู่ผู้สดับนครกัณฑ์ เป็นกัณฑ์สุดท้ายของมหาชาติเวสสันดรชาดก ถือว่าเป็นกัณฑ์สวัสดีมีชัย เพราะเป็นตอนที่ พระเวสสันดร เสด็จกลับเมือง เนื้อความโดยย่อ เมื่อพระเวสสันดรราชฤาษีได้สดับคำพระราชดำรัสเชื้อเชิญให้ลาผนวชออกไปครองราชย์สมบัติ ก็รับสั่งทูลพ้อพระราชบิดา ประวิงการรับอาราธนาไว้พลางก่อนว่าเมื่อกระหม่อมฉันปฎิบัติราชกรณียกิจโดยทศพิธราชธรรม ไฉนพระราชบิดาจึงลงโทษเนรเทศจากพระนคร มารับความทุกข์ยากแค้นแสนสาหัสในพงไพรไม่สมควรเลยพระเจ้าข้า?

                พระเจ้ากรุงสัญชัยตรัสสารภาพรับผิด เป็นด้วยพ่อเขลาหลงเชื่อคนยุยงลงโทษลูกซึ่งหาความผิดมิได้ ตรัสขอขมาโทษ แลตรัสวอนพระราชโอรส ให้ลาผนวชออกไปรับราชสมบัติ

                ต่อนั้นพระเวสสันดรจึงทรงรับเชิญ ทรงลาผนวชพร้อมทั้งพระนางมัทรี เสด็จเข้ามงคลพระราชพิธีราชาภิเษก ในมงคลสถานซึ่งเจ้าพนักงานจัดสร้างขึ้นในบริเวณอาศรมนั้น ครั้นได้ฤกษ์กำหนดกาลกลับคืนเข้าพระนคร ก็ทรงเครื่องราชูปโภคแบบพระมหากษัตริย์เสด็จนิวัติกลับพระนคร พร้อมด้วยพระเกียรติยศอันยิ่งใหญ่ด้วยจาตุรงคเสนาพร้อมด้วยสรรพาวุธเสด็จขึ้นคชสารปัจจัยนาคช้างพระที่นั่งท่ามกลางเสนามาตย์ราชบริพาร เดินทางรอนแรมมาอย่างสบายมิได้เร่งร้อน เป็นเวลาสองเดือนก็ถึงพระนครสีพีซึ่งได้รับการตกแต่งให้งดงามเป็นอย่างด้วยธงชัย และต้นกล้วยต้นอ้อยสองข้างมรรค ประชาชนพากันมาต้อนรับเนืองแน่นโห่ร้องถวายพระพรชัยให้ทรงพระเจริญในพระราชสมบัติอย่ารู้โรยรา ทั้งพระนางมัทรีราชชายา และพระชาลีพระนางกัณหาตลอดพระบรมวงศานุวงศ์ทั่วกัน

                เมื่อพระเวสสันดรเสด็จขึ้นปราสาทแล้วรับสั่งประกาศให้ชาวเมืองปล่อยสัตว์ที่กักขังไว้ให้หมด ครั้นเวลาราตรีก็ทรงรำพึงว่า พรุ่งนี้ประชาชีต่างก็จะแตกตื่นกันมาคอยรับพระราชทานแล้วจะได้สิ่งใดแจกจ่ายให้แก่ประชาชนทั้งหลายเหล่านั้นทันใดนั้นท้าวโกสีย์ทรงทราบความปริวิตกของพระเวสสันดรแล้ว ก็ทรงบันดาลฝนแก้ว ๗ ประการให้ตกลงในพระนครสีพีสูงถึงหน้าแข้ง เฉพาะในพระราชวังท่วมถึงเอวพระเวสสันดรทรงประกาศให้ประชาชนมาขนเอาไปตามปรารถนาเหลือนั้นก็ให้ขนเข้าท้องพระคลังหลวง

                พระเวสสันดรเสด็จเถลิงราชสมบัติปกครองพระนครสีพีโดยทศพิธราชธรรมให้บ้านเมืองเป็นสุขตลอดพระชนมายุ เมื่อสิ้นพระชนแล้วก็ขึ้นไปบังเกิดในสวรรค์ชั้นดุสิตเทวโลก

                ผู้บูชากัณฑ์นครกัณฑ์ จะได้เป็นผู้บริบูรณ์ด้วยวงศาคณาญาติ ข้าทาส ชายหญิง ธิดา สามี หรือบิดามารดาเป็นต้น อยู่พร้อมหน้ากันโดยความผาสุก ปราศจากโรคาพาธทั้งปวง จะทำการใดๆก็พร้อมเพรียงกันยังการงานนั้นๆให้สำเร็จลุล่วงไปด้วยดี

              ตัวละครสะท้อนคุณธรรม ชาวเมืองสิพี เป็นตัวอย่างของผู้รักษาสิทธิ์ ตามระบอบประชาธิปไตย เมื่อไม่พอใจก็แสดงความคิดเห็น คัดค้านและเรียกร้องให้มีการลงโทษ เมื่อพอใจก็ยอมรับ และยุติ พร้อมกับรู้จักขอโทษในสิ่งที่ได้กระทำผิดไป