ความสำคัญของข้อมูลและสารสนเทศคืออะไร

       �ҡ������������� ��������� ����稨�ԧ�����˵ء�ó�����ǡѺ��觵�ҧ � �� �� ʶҹ��� ��觢ͧ��ҧ � ����ա�����Ǻ��������� �������ö���¡�������ª����������ѧ �����Ũ֧���� ��ͧ�繢����ŷ����� �����١��ͧ�����
        ����Ѻ���ʹ�� ���¶֧ ��觷����ҡ��ù���Ң����ŷ�����Ǻ�������һ����ż� ���͹�����

   ����ª�����ѵ�ػ��ʧ�� ���ʹ�Ȩ֧���¶֧�����ŷ���ҹ������͡����������СѺ�����ҹ��ѹ�������������ٻẺ
������� ���ʹ�ȷ��յ�ͧ�Ҩҡ�����ŷ��� ��èѴ�红�����������ʹ�� �е�ͧ�ա�äǺ��� ���������ҧ�� �� �Ҩ���ա�á�˹� �����㴺�ҧ�繼�����Է������������ �����ŷ���繤����Ѻ �е�ͧ���к���鹵͹��äǺ�����˹��Է���㹡��������͡�á�зӡѺ��������ҨС�з������ú�ҧ �͡�ҡ�������ŷ����������ǵ�ͧ����Դ����٭������Ͷ١���������������

รหสั วชิ า: 36022004 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการทางธุรกจิ (Management Information Systems for Business) อาจารยผ์ สู้ อน: อาจารยส์ ุภาพร พรมโล ช่ือหน่วยเรยี น: ความสาคัญของขอ้ มลู และระบบสารสนเทศ ช่ือบทเรยี น 1.1 ความหมาย และความสาคัญของข้อมูลและสารสนเทศ 1.2 สาเหตทุ ่ที าให้เกดิ สารสนเทศ 1.3 ลักษณะของสารสนเทศที่ดี 1.4 องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศ 1.5 ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ 1.6 แนวโน้มและทิศทางของระบบสารสนเทศ จดุ ประสงค์การสอน 1.1 รู้ความหมาย และความสาคัญของข้อมูลและสารสนเทศ 1.1.1 บอกความหมายของข้อมลู 1.1.2 บอกคณุ สมบัติของข้อมูล 1.1.3 บอกความหมายของสารสนเทศ 1.1.4 บอกความหมายของระบบสารสนเทศ 1.1.5 บอกการทาขอ้ มูลให้เปน็ สารสนเทศ 1.2 รู้สาเหตทุ ่ีทาใหเ้ กิดสารสนเทศ 1.2.1 บอกสาเหตทุ ีท่ าให้เกิดสารสนเทศ 1.3 รู้ลักษณะของสารสนเทศทีด่ ี 1.3.1 บอกลกั ษณะของสารสนเทศทดี่ ีด้านเวลา 1.3.2 บอกลักษณะของสารสนเทศที่ดีด้านเนอ้ื หา 1.3.3 บอกลักษณะของสารสนเทศที่ดีด้านรูปแบบ 1.3.4 บอกลักษณะของสารสนเทศทด่ี ีดา้ นกระบวนการ 1.4 รู้องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ 1.4.1 บอกองคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศดา้ นฮารด์ แวร์ 1.4.2 บอกองคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศด้านซอฟต์แวร์ 1

1.4.3 บอกองคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศดา้ นบุคลากร 1.4.4 บอกองค์ประกอบของระบบสารสนเทศด้านข้อมูล 1.4.5 บอกองคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศดา้ นขั้นตอนการดาเนินงาน 1.4.6 บอกองคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศดา้ นเครอื ขา่ ย 1.5 ร้ปู ระโยชนข์ องระบบสารสนเทศ 1.5.1 บอกประโยชนข์ องระบบสารสนเทศด้านการเพม่ิ ประสิทธิภาพ 1.5.2 บอกประโยชนข์ องระบบสารสนเทศดา้ นการมีประสทิ ธิผล 1.5.3 บอกประโยชนข์ องระบบสารสนเทศด้านการเพมิ่ ประสทิ ธภิ าพ 1.6 รู้แนวโน้มและทศิ ทางของระบบสารสนเทศในอนาคต 1.6.1 บอกแนวแนวโน้มและทศิ ทางของระบบสารสนเทศในอนาคต วธิ สี อนและกิจกรรมการเรียนการสอนประจาหนว่ ยเรยี น ในหน่วยเรยี นท่ี 1 มวี ิธสี อนและกิจกรรมการเรียนการสอน ดงั ต่อไปน้ี 1. วิธสี อน ผู้สอนใช่วธิ ีการสอนแบบบรรยาย เปดิ วดี ที ศั น์ และวธิ กี ารสอนแบบถาม-ตอบ 2. กิจกรรมการเรยี นการสอน สามารถจาแนกได้ดงั น้ี 2.1 กจิ กรรมกอ่ นเรียน ผู้เรยี นศึกษาบทเรยี นในหน่วยเรยี นท่ี 1 2.2 กจิ กรรมในห้องเรยี น มดี งั ตอ่ ไปนี้ 2.2.1 ผู้สอนปฐมนิเทศรายวิชา โดยการอธิบายแผนการจัดการเรียนการสอน ตลอดจนกจิ กรรมตา่ ง ๆ ตามแผนบรหิ ารการสอนประจาหน่วย 2.2.2 ผู้สอนบรรยายเน้ือหาหน่วยเรียนที่ 1 และมีกิจกรรมพร้อมยกตัวอย่าง ประกอบถาม-ตอบ จากบทเรียน 2.3 กิจกรรมหลังเรียน ผู้เรียนทบทวนเนื้อหาท่ีได้เรียนในหน่วยที่ 1 โดยใช้คาถามจาก คาถามทบทวนท้ายบท ตลอดจนการศกึ ษาหน่วยตอ่ ไปล่วงหนา้ หน่ึงสปั ดาห์ 2.4 ใหผ้ ้เู รยี นสืบค้นข้อมลู จากแหล่งเรียนรตู้ ่าง ๆ เช่น ห้องสมุดหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อการเรยี นการสอนประจาบท สอ่ื ท่ใี ช้สาหรับการเรียนการสอน เรือ่ ง ความสาคญั ของขอ้ มูลและสารสนเทศ มีดงั ตอ่ ไปนี้ 1. เอกสารประกอบการสอน และ มคอ.3 2. เครื่องคอมพวิ เตอร์ 3. ระบบอนิ เทอรเ์ นต็ 4. พาวเวอรพ์ อยส์ 2

การวดั ผลและการประเมนิ ผลประจาหนว่ ยเรยี น 1. สังเกตการณต์ อบคาถามทบทวนเพอื่ นาเขา้ สูเ่ นื้อหาในหนว่ ยเรยี น 2. สังเกตการณ์ตง้ั คาถาม และการตอบคาถามของผู้เรียน หรือการทาแบบฝึกหดั ใน ชัน้ เรยี น 3. วัดเจตคติจากพฤติกรรมการเรียน การเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนการสอน และความ กระตือรือร้นในการทากิจกรรม 4. ความเขา้ ใจและความถูกตอ้ งในการทาแบบฝกึ หัด 3

หนว่ ยเรียนที่ 1 ความสาคัญของข้อมลู และสารสนเทศ ในปัจจุบันการแข่งขันทางธุรกิจต้องอาศัยข้อมูลเป็นหลัก จึงมีการนาเทคโนโลยีมาช่วย จัดการข้อมูลอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากการแข่งขันการให้บริการของธนาคารพาณชิ ย์ การใช้ขอ้ มูลใน การตัดสินใจลงทุนซื้อขายหลักทรัพย์ ข้อมูลเป็นหัวใจของการดาเนินงานเป็นแหล่งความรู้ท่ีใช้ ประกอบการตัดสินใจ บริษัทหรือองค์การจึงดาเนินการอย่างจริงจังให้ได้มาซ่ึงข้อมูล และปกป้องดูแล ข้อมูลของตนเป็นอย่างดี เพราะข้อมูลเป็นส่ิงมีค่ามีราคา การโจรกรรมข้อมูลโดยใช้เทคโนโลยีใหม่ ๆ จึงเป็นปญั หาสาคัญที่เกดิ ขนึ้ ดงั ทปี่ รากฎเปน็ ข่าวท้งั ในประเทศและต่างประเทศ ในบทน้ีจึงจะนาเสนอเน้ือหาเกี่ยวกับ ความหมายของระบบสารสนเทศ ความหมายข้อมูล และสารสนเทศ สาเหตุที่ทาให้เกิดสารสนเทศ ลักษณะของสารสนเทศที่ดี ประโยชน์ของระบบ สารสนเทศ ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และเทคโนโลยีสารสนเทศในอนาคต เพ่ือให้ เกิดความเข้าใจเก่ยี วกับระบบสารสนเทศเพือ่ การจดั การมากยิง่ ข้ึน 1.1 ความหมาย และความสาคัญของข้อมลู และสารสนเทศ 1.1.1 ความหมายของข้อมลู ข้อมูล (Data) หมายถึง สิ่งที่สามารถส่ือความหมายให้บุคคลได้รับรู้เรื่องราวและ ขอ้ เท็จจริง หรือ เหตุการณ์ที่เกย่ี วข้องกับสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัวเรา เช่น คน สัตว์ ส่ิงของ สถานที่ฯลฯ ซ่ึงอาจจะอยู่ในรูปแบบต่าง ๆ เช่น จานวนตัวเลข ตัวอักษร เสียงและภาพเคลื่อนไหว การได้มาซึ่ง ข้อมูลอาจได้มาจาก การสังเกต รวบรวมจากแหล่งท่ีให้ข้อมูลโดยตรง เราเรียกข้อมูลชนิดนี้ว่า ข้อมูล ปฐมภมู ิ (Primary Data ) เช่น การสารวจ การทาสามะโนประชากร การสมั ภาษณ์ การเก็บข้อมูลจาก การทดลอง แต่บางคร้ังเราอาจเก็บรวบรวมข้อมูลได้จากแหล่งข้อมูลอื่นๆ อีกทอดหน่ึงเราเรียกข้อมูล ชนิดน้ีว่า ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) การได้ข้อมูลจาเป็นต้องมีกระบวนการเก็บรวบรวมจาก แหลง่ ข้อมูลท่ีน่าเชอื่ ถอื ตลอดจน ตรวจสอบความถูกตอ้ ง และความสอดคล้องกบั วัตถปุ ระสงค์การใชง้ าน เช่น ถ้าเราต้องการสารวจความคิดเห็นเก่ียวกับเคร่ืองครีมท่ีใช้กาจัดสิว ก็ควรเก็บข้อมูลจากเด็กวัยรุ่น ไม่ควรเกบ็ จากผสู้ งู อายุ เปน็ ตน้ 4

1.1.2 คณุ สมบัตขิ องข้อมลู การจดั เก็บขอ้ มลู จาเปน็ ตอ้ งมีความพยายามและตั้งใจดาเนินการ หรอื กล่าวได้ว่าการ ได้มาซ่ึงข้อมูลที่จะนามาใช้ประโยชน์ องค์การจาเป็นต้องลงทุน ทั้งในด้านตัวข้อมูล เครื่องจักร และ อุปกรณ์ ตลอดจนการพัฒนาบุคลากรขึ้นมารองรับ เพื่อให้ใช้งานอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดการ ระบบข้อมลู จึงต้องคานึงถึงปญั หาเหล่านี้ และพยายามมองปัญหาแบบทเ่ี ป็นจรงิ สามารถดาเนนิ การได้ ให้ประสิทธิผลคุ้มค่ากับการลงทุน ดังนั้นการดาเนินงานเพ่ือให้ได้มาซึ่งสารสนเทศท่ีดี ข้อมูลจะต้องมี คุณสมบตั ขิ ้นั พ้ืนฐาน ดังนี้ 1) ความถูกต้อง หากมีการเก็บรวบรวมขอ้ มลู แล้วข้อมูลเหล่าน้นั เชื่อถอื ไมไ่ ด้จะทาให้ เกิดผลเสียอย่างมาก ผู้ใช้ไม่กล้าอ้างอิงหรือนาเอาไปใช้ประโยชน์ ซ่ึงเป็นเหตุให้การตัดสินใจของ ผู้บริหารขาดความแม่นยา และอาจมีโอกาสผิดพลาดได้ โครงสร้างข้อมูลท่ีออกแบบต้องคานึงถึง กรรมวธิ ีการดาเนินงาน เพื่อให้ได้ความถูกต้องแม่นยามากที่สุด โดยปกตคิ วามผิดพลาดของสารสนเทศ สว่ นใหญ่มาจากขอ้ มูลท่ีไมม่ ีความถูกตอ้ ง ซึ่งอาจมีสาเหตุมาจากคนหรอื เคร่ืองจักร การออกแบบระบบ จงึ ต้องคานงึ ถงึ ในเรือ่ งน้ี 2) ความรวดเร็วและเป็นปัจจุบัน การได้มาของข้อมูลจาเป็นต้องให้ทันต่อความ ต้องการของผู้ใช้ มีการตอบสนองต่อผู้ใช้ได้เร็ว ตีความหมายสารสนเทศได้ทันต่อเหตุการณ์หรือความ ต้องการ มีการออกแบบระบบการเรียนค้น และรายงานตามผใู้ ช้ 3) ความสมบูรณ์ ความสมบูรณ์ของสารสนเทศข้ึนกับการรวบรวมข้อมูลและวิธีการ ทางปฏิบัติด้วย ในการดาเนินการจัดทาสารสนเทศต้องสารวจและสอบถามความต้องการใช้ข้อมูล เพื่อให้ไดข้ ้อมูลทีส่ มบูรณใ์ นระดับหน่ึงที่เหมาะสม 4) ความชัดเจนและกะทัดรัด การจัดเก็บข้อมูลจานวนมากจะต้องใช้พื้นท่ีในการ จัดเก็บข้อมูลมากจึงจาเป็นต้องออกแบบโครงสร้างข้อมูลให้กะทัดรัดสื่อความหมายได้ มีการใช้รกัส หรอื ย่นยอ่ ข้อมลู ใหเ้ หมาะสมเพอื่ ท่จี ะจดั เก็บเขา้ ไว้ในระบบคอมพวิ เตอร์ 5) ความสอดคล้องความต้องการเป็นเร่ืองที่สาคัญ ดังน้ันจึงต้องมีการสารวจเพื่อหา ความต้องการของหนว่ ยงานและองค์การ ดูสภาพการใช้ข้อมูล ความลึกหรือความกว้างของขอบเขต ของข้อมูลทีส่ อดคลอ้ งกบั ความต้องการ 1.1.3 ความหมายของสารสนเทศ สารสนเทศ (Information) หมายถึงข้อมลู ท่ีไดผ้ า่ นการประมวลผลบางอยา่ งเพอ่ื ให้ท่ี มีความหมายมากข้ึน และแสดงออกในรูปของโครงสร้าง ลักษณะ แนวคิด แนวโน้ม สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ต่อ การดาเนินชีวติ ของมนุษย์ได้มากยง่ิ ขึ้น เชน่ ถ้าเราพูดถึงความสูงของนกั เรียนแต่ละคนใน 5

ห้องเรียนเรา จะหมายถึงความสูงน้ันเป็นข้อมูล แต่ถ้าเรานาความสูงของทุกคนมาเฉล่ียได้ค่าความสูง เฉล่ียของทุกคน ความสูงเฉล่ียนี้เราเรียกว่า สารสนเทศ หรือการท่ีเรานาข้อมูลนักเรียนในห้องมา แบ่งแยกออกวาเป็นชายก่ีคน หญิงกี่คน จานวนผู้ชาย ผู้หญิงที่ได้นี้เราเรียกว่าสารสนเทศ เพราะ สามารถบอกภาพรวมหรือ ลักษณะของข้อมูลได้ชัดเจนดีย่ิงข้ึน เช่น ความสูงเฉลี่ยสามารถนาไปใช้ ประกอบวางแผนท่ีเก่ียวข้องกับการพัฒนาร่างกายนักเรียน ส่วนจานวนชายหญิงสามารถนาไป กาหนดการเข้าช้ันเรียนของนักเรยี นได้ ปัจจบุ ันชีวิตประจาวันเก่ียวข้องกบสารสนเทศที่ไดจ้ ากหลายๆ แหล่งเชน่ วิทยโุ ทรทัศนแ์ ต่ในปัจจบุ นั ที่ ได้รับความนิยมมากไดแ้ ก่โทรศัพท์มอื ถือ อนิ เทอร์เนต็ การได้มาซ่ึงสารสนเทศท่ีดี มีความเก่ียวเนืองกับการได้มาซึ่งข้อมูลท่ีดีด้วยเช่นกัน เพราะถ้าเราได้ข้อมูลท่ีไม่มีคุณภาพมาประมวลผล กจ็ ะไดส้ ารสนเทศที่ไม่ดีไปด้วยเช่นกัน ฉะนั้นเราจึง ให้ความสาคัญของเก็บข้อมูลให้ถูกต้องด้วยเช่นกัน ปัจจุบันมีเทคโนโลยีท่ีอานวยความสะดวกในการ เก็บข้อมูลท่ีถูกต้องรวดเร็วหลายอย่างเช่น การอ่านข้อมูลที่เป็นรหัสแท่ง (Barcode) การแลกเปล่ียน ขอ้ มลู ดว้ ยคล่นื ความถ่ีวทิ ย(ุ RFID) เปน็ ต้น การได้มาซงึ่ สารสนเทศจาเปน็ ต้องนาขอ้ มูลท่เี กบ็ รวบรวมมาผ่านการประมวลผลเพอื่ ให้ ได้ สารสนเทศตามต้องการ ดงั น้ัน จึงสรุปความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งขอ้ มลู และสารสนเทศไดด้ งั ภาพท่ี 1.1 ขอ้ มูล การประมวลผล สารสนเทศ ภาพท่ี 1.1 ความสัมพนั ธ์ของข้อมลู และสารสนเทศ ท่ีมา (ผูเ้ ขียน) 1.1.4 ความหมายของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ (Information System) เป็นการนาองค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์กันของ ระบบมาใช้ในการรวบรวม บนั ทึก ประมวลผล และแจกต่ายสารสนเทศเพ่ือใช้ในการวางแผน ควบคุม จัดการและสนับสนุนการตัดสินใจ ซ่ึงกระบวนการทางานของระบบสารสนเทศ จะประกอบด้วย ส่วนประกอบหลัก 3 ส่วน ไดแ้ ก่ 1) การนาข้อมลู เขา้ สรู่ ะบบ เปน็ กิจกรรมการรวบรวมขอ้ มลู เข้าสรู่ ะบบ เพื่อการประมวลผล 2) การประมวลผล เป็นการนาทรัพยากรท่ีได้นาเข้าสู่ระบบมาปรับเปลี่ยนให้อยู่ในรูปท่ีมี ความหมาย เพ่ือใช้ประโยชน์ในการตัดสินใจ วางแผน ควบคุม และดาเนินงานด้านต่าง ๆ ในการ ประมวลผลสามารถกระทาดว้ ยมอื หรอื จะใช้คอมพวิ เตอร์เขา้ มาช่วย 6

3) ผลลัพธ์ เป็นผลผลิตที่ได้จากการประมวลผล โดยทั่วไปจะอยู่ในรูปของเอกสาร หรือ รายงานสารสนเทศ 1.1.5 การทาขอ้ มูลให้เป็นสารสนเทศ การทาข้อมูลให้เป็นสารสนเทศท่ีจะเป็นประโยชน์ต่อการใช้งาน จาเป็นต้องอาศัย เทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการดาเนินการ เริ่มตั้งแต่การรวบรวมและตรวจสอบข้อมูล การดาเนินการ ประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ และการดูแลรักษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน การรวบรวม และตรวจสอบข้อมลู ประกอบดว้ ย 1) การเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นเรื่องของการเก็บรวบรวมข้อมูลซ่ึงมีจานวนมาก และ ต้องเก็บให้ได้อย่างทันเวลา เช่น ข้อมูลการลงทะเบียนเรียนของนักเรียน ข้อมูลประวัติบุคลากร ปัจจุบันมีเทคโนโลยีช่วยในการจัดเก็บอยู่เป็นจานวนมาก เช่น การป้อนข้อมูลเข้าเคร่ืองคอมพิวเตอร์ การอ่านข้อมลู จากรหัสแทง่ การตรวจใบลงทะเบียนทม่ี ีการฝนดินสอดาในตาแหน่งต่าง ๆ เปน็ วิธกี าร เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลเชน่ กัน 2) การตรวจสอบข้อมูล เมื่อมีการเก็บรวบรวมข้อมูลแล้วจาเป็นต้องมีการตรวจสอบ ข้อมูล เพื่อตรวจสอบความถูกต้อง ข้อมูลท่ีเก็บเข้าในระบบจะต้องมีความเชื่อถือได้ หากพบท่ี ผิดพลาดต้องแก้ไข การตรวจสอบข้อมูลมีหลายวิธี เช่น การใช้ผู้ป้อนข้อมูลสองคนป้อนข้อมูลชุด เดียวกนั เข้าเครอื่ งคอมพิวเตอร์แล้วเปรียบเทียบกัน การดาเนินการประมวลผลข้อมูลให้กลายเป็นสารสนเทศ อาจประกอบด้วยกิจกรรม ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) การจัดแบ่งข้อมูล ข้อมูลที่จัดเก็บจะต้องมีการแบ่งแยกกลุ่ม เพ่ือเตรียมไว้สาหรับ การใช้งาน การแบ่งแยกกลุ่มมีวิธีการท่ีชัดเจน เช่น ข้อมูลในโรงเรียนมีการแบ่งเป็นแฟ้มประวัติ นักเรียน และแฟ้มลงทะเบียน สมุดโทรศัพท์หน้าเหลืองมีกรแบ่งหมวดหมู่สินค้า และบริการ เพ่ือ ความสะดวกในการค้นหา 2) การจัดเรยี งข้อมูล เมอื่ จดั แบ่งกลมุ่ เปน็ แฟม้ แล้ว ควรมกี ารจดั เรียงขอ้ มูลตามลาดับ ตัวเลข หรือตัวอักษร หรือเพ่ือให้เรียกใช้งานได้ง่ายประหยัดเวลา ตัวอย่างการจัดเรียงข้อมูล เช่น การจัดเรียงบัตรข้อมูลผู้แต่งหนังสือในตู้บัตรรายการของห้องสมุดตามลาดับตัวอักษร การจัดเรียงชื่อ คนในสมุดรายนามผู้ใชโ้ ทรศพั ท์ ทาให้คน้ หาได้ง่าย 3) การสรุปผล บางครัง้ ขอ้ มูลทจ่ี ัดเก็บมีเป็นจานวนมาก จาเป็นต้องมีการสรุปผลหรือ สร้างรายงานย่อ เพอ่ื นาไปใช้ประโยชน์ ขอ้ มูลที่สรุปไดน้ อี้ าจสื่อความหมายไดด้ กี ว่า เช่นสถติ จิ านวน นกั เรียนแยกตามชน้ั เรยี นแต่ละช้นั 7

4) การคานวณข้อมลู ทีเ่ กบ็ มีเปน็ จานวนมาก ขอ้ มูลบางส่วนเปน็ ขอ้ มูลตวั เลขที่สามารถ นาไปคานวณเพ่ือหาผลลัพธ์บางอย่างได้ ดังน้ันการสร้างสารสนเทศจากข้อมูลจึงอาศัยการคานวณ ขอ้ มลู ทีเ่ ก็บไว้ด้วย การดูแลรกั ษาสารสนเทศเพื่อการใช้งาน ประกอบดว้ ย 1) การเก็บรักษาข้อมูล การเก็บรักษาข้อมูลหมายถึงการนาข้อมูลมาบันทึกเก็บไว้ใน ส่ือบันทึกต่างๆ เช่น แผ่นบันทึกข้อมูล นอกจากนี้ยังรวมถึงการดูแล และทาสาเนาข้อมูล เพ่ือให้ใช้ งานตอ่ ไปในอนาคตได้ 2) การค้นหาข้อมูล ข้อมูลท่ีจัดเก็บไว้มีจุดประสงค์ที่จะเรียกใช้งานได้ต่อไปการค้นหา ขอ้ มูลจะต้องค้นได้ถูกต้องแม่นยา รวดเรว็ จงึ มีการนาคอมพิวเตอร์เขา้ มามีส่วนช่วยในการทางาน ทา ให้การเรยี กคน้ กระทาไดท้ ันเวลา 3) การทาสาเนาข้อมูล การทาสาเนาเพ่ือที่จะนาข้อมูลเก็บรักษาไว้ หรือนาไป แจกจ่ายในภายหลัง จึงควรจดั เกบ็ ข้อมลู ใหง้ ่ายตอ่ การทาสาเนา หรือนาไปใชอ้ ีกครั้งไดโดยงา่ ย 4) การสื่อสาร ขอ้ มูลต้องกระจายหรือสง่ ตอ่ ไปยงั ผใู้ ช้งานทีห่ ่างไกลได้งา่ ย การสื่อสาร ข้อมูลจึงเป็นเร่ืองสาคัญและมีบทบาทที่สาคัญยิ่งท่จะทาให้การส่งข่าวสารไปยังผู้ ใช้ทาได้รวดเร็วและ ทันเวลา 1.2 สาเหตทุ ่ที าให้เกิดสารสนเทศ การเกดิ ขนึ้ ของสารสนเทศ มสี าเหตุมาจากปจั จัยดังตอ่ ไปน้ี (Stair & Reynold, 1999) 1) พฒั นาการของความรู้ สง่ิ ประดษิ ฐ์ หรอื ผลติ ภณั ฑใ์ หม่ๆ เมอ่ื วทิ ยาการความรู้ ส่ิงประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ เกิดข้ึน สารสนเทศก็จะเกิดขึ้นตามมาด้วยจากน้ันก็จะมีการเผยแพร่สารสนเทศ ไปยังแหลง่ ตา่ ง ๆ 2) พัฒนาการของเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือสาคัญอย่าง หน่งึ ในการผลิตสารสนเทศ เมื่อเทคโนโลยคี อมพิวเตอร์พัฒนาอย่างรวดเร็ว มีประสิทธภิ าพเพ่มิ มากขึ้น กส็ ามารถที่จะนามาใชใ้ นการผลิตสารสนเทศได้สะดวกและรวดเรว็ ข้นึ เน่ืองจากมี ความสะดวกในการ ป้อน ขอ้ มูล การปรับปรุงแก้ไข การทาซ้า การเพ่ิมเติม ฯลฯ ทาให้มีความ สะดวกและงา่ ยต่อการผลิต สารสนเทศ 3) การพัฒนาด้านเทคโนโลยีการสื่อสาร เทคโนโลยีสื่อสารยุคใหม่มีความเร็วในการสื่อสาร สูงข้ึน สามารถเผยแพร่สารสนเทศ จากแหล่งหนึ่ง ไปยัง สถานท่ีต่างๆ ท่ัวโลกในเวลาเดียวกันกับ เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นจริง อีกทั้งสามารถส่งผ่านข้อมูลได้อย่างหลากหลาย รูปแบบ พร้อมๆ กันในเวลา เดียวกนั 4) ความก้าวหนา้ ของเทคโนโลยีการพิมพ์ เทคโนโลยีการพมิ พน์ บั เป็นเทคโนโลยีดา้ นหน่ึงที่มี การพัฒนาควบคู่ไปกับเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และการส่ือสาร เทคโนโลยีการพิมพ์ที่มีความสามารถ 8

และประสิทธิภาพสูงชว่ ยใหก้ ารผลิตสารสนเทศกระทาได้ในปริมาณมากในเวลาอนั สนั้ ส่งผลให้ปริมาณ ของสารสนเทศเพิ่มข้ึนอยา่ งรวดเรว็ เชน่ กนั 5) ความจาเป็นในการใช้สารสนเทศ ในการดาเนินชีวิตปัจจุบัน หรือแม้แต่การทางานใดๆก็ ตาม การศึกษาค้นคว้าวิจัยเพ่ือพัฒนาคุณภาพชีวิต จาเป็นต้องใช้สารสนเทศท่ีมีคุณค่าเพ่ือแก้ปัญหา ต่างๆ รวมทง้ั เป็นขอ้ มูลเบื้องต้นสาหรบั การตัดสนิ ใจ สารสนเทศจึงเกิดขึ้นอยา่ งมหาศาลเพอ่ื ตอบสนอง ความตอ้ งการดังกล่าว 1.3 ลกั ษณะของสารสนเทศท่ดี ี สารสนเทศที่มีคุณภาพจะช่วยให้ผู้บริหารสามารถใช้สารสนเทศนั้น ๆ ในการตัดสินใจได้ อย่างมีประสิทธิภาพ คุณลักษณะของสารสนเทศที่ดีมีคุณภาพสรุปได้ 4 ด้าน ได้แก่ ด้านเวลา ด้าน เน้อื หา ดา้ นรูปภาพ ดา้ นกระบวนการ โดยมรี ายละเอียดดงั นี้ 1.3.1 ด้านเวลา (Time) สารสนเทศทดี่ ี ควรมลี ักษณะดังตอ่ ไปนี้ 1) การทันเวลา (Timeliness) สารสนเทศที่ดคี วรจะสามารถหาไดร้ วดเร็ว ทนั เวลาท่ี ตอ้ งการ 2) ความเปน็ ปัจจุบนั (Up-to-date) ได้แก่ สารสนเทศทีม่ กี ารปรบั ปรุงให้เป็นปจั จบุ ัน อยู่เสมอ สารสนเทศท่ีมีความล้าสมัยจะไม่เป็นประโยชน์ในการใช้งานในยุคที่มีการเปลี่ยนแปลงอย่าง รวดเร็ว 3) (Time Period) มีข้อมูลท้ังในอดีต ปัจจุบันและอนาคต สารสนเทศที่ดีควรมีการ ประมวลข้อมูลในอดีต และปัจจุบันเพ่ือท่ีจะใช้ข้อมูลเหล่านี้เป็นฐานในการพยากรณ์อนาคตได้ ซ่ึงเป็น ประโยชนต์ ่อการวางแผนและการตัดสินใจ 1.3.2 ดา้ นเนอ้ื หา (Content) เน้ือหาของสารสนเทศถอื ได้ว่าเป็นลักษณะทีส่ าคญั ท่ีสุดซึ่ง เกี่ยวขอ้ งกบั ลักษณะดงั ต่อไปนี้ 1) ความถูกต้องเที่ยงตรง (Accuracy) ได้แก่ สารสนเทศซ่ึงไม่มีข้อผิดพลาดมีการ ประมวลผลอย่างถกู ต้อง 2) ความสัมพันธ์กับเรื่อง (Relevance) สารสนเทศท่ีสอดคล้องกับเรื่องที่ต้องการใช้ และมปี ระโยชน์กบั ผ้ใู ช้ 3) ความสมบูรณ์ (Completeness) สารสนเทศที่ครอบคลุมรายละเอียดที่สาคัญทุก เรอ่ื งในส่งิ ท่ีตอ้ งการทราบ 4) ความน่าเช่ือถือ (Reliability)ได้ สารสนเทศที่มีความเช่ือถือได้ ซึ่งอาจข้ึนอยู่กับ กระบวนการเกบ็ ข้อมลู และแหล่งท่ีมาของขอ้ มูล 5) ตรวจสอบได้ (Verifiability) สารสนเทศท่ีดีต้องสามารถตรวจสอบได้ว่ามีความ ถกู ตอ้ ง โดยอาจตรวจสอบกบั แหลง่ ขอ้ มลู หลายแหล่งทีม่ สี ารสนเทศเดียวกนั 9

1.3.3 ดา้ นรูปแบบ (Format) ได้แก่ ลักษณะของสารสนเทศ ดังนี้ 1) ความชัดเจน (Clarity) สารสนเทศควรมีความชัดเจน ง่ายต่อความเข้าใจ 2) ระดับของการนาเสนอรายละเอียด (Level of Detail) ที่เหมาะสมกับผู้ใช้ เน่ืองจากบางครงั้ ผู้ใช้อาจจะต้องการรายละเอียดต่างๆอย่างครบถว้ น แต่บางครั้งผู้ใชใ้ นระดับผู้บรหิ าร อาจต้องการสารสนเทศในลกั ษณะสรุป เพื่อให้เหน็ ภาพรวมกไ็ ด้ ดังนั้นสารสนเทศ 3) รูปแบบการนาเสนอ (Presentation) รูปแบบการนาเสนอที่เหมาะสมได้แก่ การ เสนอสารสนเทศซ่ึงอาจเป็นรูปแบบกราฟิก ข้อความหรือตารางเพื่อให้เป็นที่น่าสนใจแก่ผู้ใช้หรือผู้ท่ี เกี่ยวขอ้ ง 4) สื่อในการนาเสนอ (Medea) จะใช้เสนอเป็นรูปแบบพิมพ์เอกสารแผ่นใส สไลด์ ภาพการฟิกบนจอ หรือใชว้ ดี ีโอเทป ตามความเหมาะสมของสถานทแ่ี ละผฟู้ ัง 5) ความยดื หยุ่น (Flexibility) สารสนเทศทมี่ ีความยดื หยุน่ ช่วยให้ผู้ใชส้ ามารถปรับใช้ เพ่อื สนองความตอ้ งการได้หลายแบบ 6) ประหยัด (Economy) สารสนเทศควรมีการสร้างขึ้นมาโดยใช้ต้นทุนท่ีไม่สูง จนเกนิ ไป 1.3.4 ด้านกระบวนการ (Process) ด้านกระบวนการมีความสาคัญอีกอย่างหน่ึง เพราะ หากหน่วยงานมีสารสนเทศทดี่ ีตาม สามดา้ นท่ีกลา่ วถึงข้างต้นแล้ว หากหน่วยงานมีสารสนเทศที่ดตี าม มิติทั้งสามข้างต้นแล้ว ควรต้องพิจารณามิติด้านกระบวนการเพ่ือให้เกิดความโปร่งใสตรวจสอบได้ ดังนัน้ ควรมกี ระบวนการเพิม่ ดงั นี้ 1) ความสามารถในการเข้าถึง (Accessibility) สารสนเทศท่ีดีควรมีการเข้าถึงได้ง่าย โดยผใู้ ช้ท้งั ภายในและภายนอกหน่วยงาน รวมทัง้ ลกู คา้ หรอื ประชาชนท่ีมีสิทธิส์ ามารถรับสารสนเทศใน รปู แบบท่เี หมาะสมในเวลาตอ้ งการ เชน่ การนาสารสนเทศเสนอบนเวบ็ เพจ 2) การมีส่วนร่วม (Participation) การให้บุคคลหรือหน่วยงานต่างๆ ท้ังภายในและ ภายนอกทเ่ี กย่ี วข้องเข้ามามีส่วนร่วมในกระบวนการข้อมลู ต้ังแต่การเกบ็ ขอ้ มูลการประมวลข้อมูลและ การเผยแพรส่ ารสนเทศ 3) การเชื่อมโยง Connectivity) หมายถึง ระดับความสามารถในการเชื่อมระหว่าง ฐานข้อมูลต่างๆเพ่ือใช้เป็นเครือข่ายในการปฏิบัติการมีสารสนเทศท่ีดีตามมิติดังกล่าวจะเป็นส่ิงท่ีช่วย ให้การใช้สารสนเทศเกิดประโยชน์อย่างเต็มท่ีเนื่องจากมีเนื้อหาสาระของสารสนเทศทีดีในเวลาที่ ต้องการและในรูปแบบและกระบวนการที่ต้องการด้วย (ทิพวรรณ หล่อสุวรรณรัตน์,พิมพ์ คร้ังท่ี12, หน้า 12-15) 10

1.4 องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ ระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่ช่วยเสริมประสิทธิภาพการทางานโดยใช้ระบบสารสนเทศและ การส่ือสาร องค์ประกอบของระบบสารสนเทศท่ีทาให้การจัดการข้อมูลมีประสิทธิภาพ และได้ สารสนเทศทน่ี ามาใชป้ ระโยชน์ได้ ดังภาพท่ี 1.2 ซึ่งมีรายละเอยี ดดังต่อไปนี้ องคป์ ระกอบของ ฮารด์ แวร์ (Hard ware) ซอฟต์แวร์ ระบบสารสนเทศ ซอฟตแ์ วร์ (Software) ระบบ บุคลากร (People) ข้อมูล/สารสนเทศ (Information) ซอฟตแ์ วร์ กระบวนการแปลงข้อมลู ประยุกต์ เครอื ขา่ ย (Network) ภาพท่ี 1.2 องคป์ ระกอบของระบบสารสนเทศ ทมี่ า (ผเู้ ขยี น) 1.4.1 ฮารด์ แวร์ (Hardware) ฮาร์ดแวร์ หมายถึง เคร่ืองมือหรืออุปกรณ์ต่างๆ ที่ใช้งานในระบบสารสนเทศ เช่น อุปกรณ์สานกั งานและเครอื่ งมืออเิ ลก็ ทรอนิกส์ตา่ งๆ โดยฮารด์ แวรท์ สี่ าคัญท่ีสดุ ในระบบสารสนเทศ คือ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ ฮารด์ แวรข์ องเคร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถแบง่ ได้ตามหน่วยการทางาน ดงั น้ี (1) หน่วยรับข้อมูล (Input Unit) เป็นฮาร์ดแวร์ท่ีทาหน้าท่ีในหน่วยรับข้อมูล เรียกว่า อุปกรณ์รับข้อมูล (Input Devices) ได้แก่ แป้นพิมพ์ (Keyboard) เมาส์ (Mouse) กล้องดิจิทัล (Digital Camera) สแกนเนอร์ (Scanner) และไมโครโฟน (Microphone) (ภาพที่ 1.3) 11

ภาพที่ 1.3 อุปกรณ์รับเข้า (Input device) ท่มี า (วิโรจน์ ชยั มลู , สพุ รรษา ยวงทอง, 2558, หน้า 68) (2) หน่วยประมวลผลกลางหรือซีพียู (CPU : Central Processing Unit) มีลักษณะเป็น วงจรอิเล็กทรอนิกส์หรือชิป (Chip) ภายในประกอบดว้ ยทรานซิสเตอร์ (Transistor) และอุปกรณอ์ ื่นๆ รวมอยู่ด้วยกันจานวนมากภายในคอมพิวเตอร์ เรียกว่าอุปกรณ์ส่งออก (Output device) ทาหน้าที่ นาเสนอผลจากการประมวลผลให้กับผู้ใช้ อุปกรณ์ส่งออกมีหลากหลายประเภทเช่นกัน สารสนเทศท่ี นาเสนอผ่านอุปกรณ์แสดงผลจะเรียกว่า สาเนาอิเล็กทรอนิกส์ อุปกรณ์ในกลุ่มของอุปกรณ์แสดงผล ได้แก่ จอมอนิเตอร์ รุ่นและแบบต่างๆ เช่น ซีอาร์ที มอนิเตอร์ จอมอนิเตอร์รุ่นใหม่ๆ จะเป็นจอภาพ ผลึกเหลว หรือแอลซีดี ทาให้มีขนาดท่ีแบนลงอย่างมาก อุปกรณ์ส่งออกกลุ่มต่อมาคือเคร่ืองพิมพ์ ซ่ึงมี หลากหลายรุ่นได้แก่ เครื่องพิมพ์แบบจุด เครื่องพิมพ์รายบรรทัด เครื่องพิมพ์แบบหมุกฉีด เคร่ืองพิมพ์ ภาพ เคร่ืองพิมพ์เลเซอร์ ในกลุ่มน้ีได้รวมถึงเครื่องพล๊อตเตอร์สาหรับสารสนเทศท่ีนาเสนอในลักษณะ ของเสยี ง อุปกรณ์ส่งออกจะเปน็ เคร่ืองขยายเสียง หฟู งั (ภาพที่ 1.4) ภาพที่ 1.4 อปุ กรณส์ ่งออก (Output device) ทมี่ า (วโิ รจน์ ชัยมูล,สพุ รรษา ยวงทอง,2558,หน้า 91) 12

(3) หน่วยความจา (Memory Unit) หรือ อุปกรณ์หน่วยเก็บข้อมูล (Storage device) (ภาพท่ี 1.5) หมายถึง ฮาร์ดแวร์สาหรับบนั ทึกและจดั เกบ็ ข้อมูลคาสั่งงานต่าง ๆ เพื่อการใช้งานใหม่ใน อนาคต เปน็ หน่วยที่ทางานในเครอ่ื งคอมพิวเตอรด์ ้วยความเร็วมากท่สี ุด มีหลายแบบทงั้ แบบท่ตี ิดตั้งใน เครือ่ งคอมพิวเตอรแ์ ละแบบพกพา หนว่ ยความจาแบ่งตามลักษณะการทางานเป็น 2 ประเภท ได้แก่ ก. หน่วยความจาหลัก (Main Memory) ได้แก่ แรม (RAM : Random Access Memory) รอม (ROM : Read-Only Memory) และซีมอส (CMOS : Complementary Metal Oxide Semiconductor) ข. หน่วยความจาสารอง เป็นฮาร์ดแวร์สารองข้อมูล ได้แก่ ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) แผ่นซีดี (CD : Compact Disc) แผ่นดวี ดี ี (DVD : Digital Versatile Disc) เป็นตน้ ภาพที่ 1.5 อุปกรณห์ นว่ ยเกบ็ ข้อมูล (Storage device) ท่มี า (วิโรจน์ ชัยมลู ,สพุ รรษา ยวงทอง,2558,หนา้ 85-89) 1.4.2 ซอฟตแ์ วร์ (Software) ซอฟต์แวร์ หรือ โปรแกรม (Program) คือ ชุดคาสั่งที่เรยี งเป็นลาดบั ขนั้ ตอนเพือ่ สงั่ ให้ คอมพิวเตอร์ทางานและประมวลผลข้อมูลให้ได้สารสนเทศที่ต้องการ ปัจจุบันซอฟต์แวร์ที่ใช้ในการทา งานระดับบคุ คล ระดับกลมุ่ และระดับองคก์ ร มี 2 ประเภท (ภาพที่ 1.6) และมรี ายละเอยี ดดงั น้ี ภาพที่ 1.6 การจาแนกประเภทของซอฟต์แวร์ ท่ีมา (ผู้เขยี น) 13

1) ซอฟตแ์ วร์ระบบ ทาหน้าทีค่ วบคมุ การทางานของคอมพวิ เตอร์ ตั้งแต่การรบั ข้อมูล การประมวลผลข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล และการแสดงผลข้อมูล ซอฟต์แวร์ระบบประกอบด้วย ระบบปฏิบัติการและตัวแปรภาษา เช่น Microsoft Windows XP, Microsoft Windows Vista, Microsoft Windows 7,Macintosh, Linux, Open Solaris, Chrome OS เปน็ ต้น (ภาพท่ี 1.7) ภาพที่ 1.7 ซอฟต์แวร์ระบบ (System software) ท่มี า (วโิ รจน์ ชยั มูล,สุพรรษา ยวงทอง,2558,หนา้ 49 2) ซอฟต์แวร์ประยุกต์ ทาหน้าท่ีอานวยความสะดวกในการทางานให้แก่ผู้ใช้งาน ระดับบุคคลอย่างกว้างขวาง และส่งเสริมการทางานกลุ่มให้มีประสิทธิภาพ สาหรับในระดับองค์กร มักจะมีการพัฒนาซอฟต์แวร์ให้เหมาะสมกับลักษณะงานของแต่ละองค์กร โดยนักเขียนโปรแกรมใน ฝ่ายคอมพิวเตอร์ขององค์กรนั้นๆ สามารถติดตั้งได้ภายหลังจากท่ีติดต้ังระบบปฏิบัติการแล้วมุ่งใช้กับ งานเฉพาะอย่าง เช่น งานด้านบัญชี งานด้านเอกสาร งานควบคุมสนิ ค้าคงเหลือ หรืองานกราฟิกต่างๆ สามารถเขียนโปรแกรมข้ึนใช้เอง, จ้างนักพัฒนาซอฟต์แวร์มาเขียนโปรแกรมให้โดยเฉพาะ, ซ้ือจาก บริษัทผู้ผลติ โดยตรง หรือดาวน์โหลดโปรแกรมฟรีมาใช้ก็ได้ ตัวอยา่ งซอฟต์แวรป์ ระยุกต์แสดงดังภาพท่ี 1.8 14

ภาพที่ 1.8 ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ (Application Software) ทม่ี า (วิโรจน์ ชยั มูล,สพุ รรษา ยวงทอง,2558,หนา้ 49) 1.4.3 บคุ ลากร (People) เนื่องจากทุก ๆ งานที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์จะต้องกระทาโดยบุคลากรหรือ ผู้ใช้ (User) ทั้งสิน้ ดังนั้นบคุ ลากรจึงเป็นองคป์ ระกอบทส่ี าคญั ที่สุดของระบบสารสนเทศ คือบุคคลที่ใช้งาน จัดการ และควบคุมระบบสารสนเทศ ซ่ึงหากบุคลากรมีความรู้ความสามารถในการใช้ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และปฏิบัติงานตามขั้นตอนที่ถูกต้อง ส่งผลให้ระบบสารสนเทศ ทางานได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพและไดผ้ ลงานทมี่ ีคณุ ภาพ บุคลากรทเี่ ก่ยี วข้องในระบบสารสนเทศแบ่งได้ 3 ประเภท 1) ผู้บริหาร ผู้บริหารสูงสุดด้านสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ (CIO:Chief Information Office) ตาแหน่งสูงสุดทางด้านการบริหาร งานคอมพิวเตอร์ในองค์กร ทาหน้าที่กาหนดทิศทาง นโยบาย และแผนงานทางคอมพิวเตอร์ ท้ังหมดมักพบเห็นในองค์กรขนาดใหญ่เท่านั้น สาหรับใน องค์กรขนาดเล็กอาจจะไม่มีตาแหน่งนี้ 2) บุคลากรด้านระบบสารสนเทศ (Information system personal) หรือกลุ่ม ผู้เชี่ยวชาญ ช่างเทคนิคคอมพิวเตอร์ (Computer Operator/Computer Technician) มีความ ชานาญทางด้านเทคนิคโดยเฉพาะมีทักษะและประสบการณ์ในการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี หน้าที่หลักคือ แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นกับระบบในหน่วยงานให้ใช้งานได้ตามปกติ เช่น นักวิเคราะห์ระบบ นักโปรแกรมเมอร์ ชา่ งเทคนคิ คอมพวิ เตอร์ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ผูด้ ูแลเน็ตเวริ ก์ 3) บุคลากร – กลมุ่ ผใู้ ชง้ านทวั่ ไป (User/End User) เปน็ ผู้ใชง้ านทว่ั ไป ไมจ่ าเป็นตอ้ งมี ความเชี่ยวชาญ บุคลากรกลุม่ น้มี ีจานวนมากที่สดุ ในหน่วยงานเข้ารบั การอบรมบ้างเล็กนอ้ ย หรือศึกษา จากคู่มือการปฏิบัติงานก็สามารถใช้งานได้ลักษณะงานมักเก่ียวข้องกับการใช้งานคอมพิวเตอร์ท่ัวไป เชน่ งานธุรการสานกั งาน งานป้อนขอ้ มลู งานบริการลูกค้าสมั พันธ์ (Call Center) 15

บุคคลท่ีเก่ียวขอ้ งในการจัดการระบบสารสนเทศ มดี ังน้ี 1) นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst) คือ ผู้ทาหน้าที่วิเคราะห์ระบบการทางาน ของเคร่ืองคอมพิวเตอร์หรือระบบสารสนเทศที่ต้องการ โดยศึกษาปัญหาท่ีเคยเกิดข้ึนในระบบ สารสนเทศ ตลอดจน หาแนวทางในการแก้ไขและปรับปรงุ ระบบสารสนเทศให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยนักวเิ คราะหร์ ะบบแบ่งเป็น 2ประเภท ดังน้ี ก. นักวิเคราะห์ระบบที่เป็นบุคลากรภายในองค์กร (Staff employee within the organization) ข. นักวิเคราะห์ระบบที่เป็นท่ีปรึกษาจากภายนอก ( Outside or external consultant) 2) โปรแกรมเมอร์ (Programmer) คือ ผู้ที่ทาหน้าที่รับระบบสารสนเทศจาก นกั วิเคราะห์ระบบท่ีได้จดั ทาไว้มาเขียนหรือสร้างให้เป็นโปรแกรม เพ่ือสั่งงานเคร่ืองคอมพวิ เตอร์ให้ทา หน้าทไ่ี ดผ้ ลลพั ธ์ตามท่อี อกแบบมา 3) เจ้าหน้าท่ีฝ่ายปฏิบัติงานเคร่ือง (Operator) คือ ฝ่ายท่ีทาหน้าท่ีติดต้ังโปรแกรม คอมพิวเตอร์ลงในเครื่องคอมพิวเตอร์ เพ่ือให้เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถใช้งานได้ตรงตามความ ตอ้ งการอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ 4) ผู้ใช้ (User) เป็นผู้ใช้งานระบบสารสนเทศโดยตรง ผู้ใช้ระบบสารสนเทศทดี่ จี ะต้องมี ความรู้เกยี่ วกบั การใช้เครื่องคอมพิวเตอรแ์ ละซอฟต์แวรท์ ี่ใช้ 1.4.4 ข้อมลู (Data) ข้อมูลเป็นองค์ประกอบท่ีสาคัญอีกประการหน่ึงของระบบสารสนเทศ เป็นตัวชี้ ความสาเร็จหรือความล้มเหลวของระบบได้ เนื่องจากต้องมีการเก็บข้อมูลจากแหล่งกาเนิด ข้อมูล จะต้องมีความถูกต้องและทันสมัย มีการกล่ันกรองและตรวจสอบแล้วเท่าน้ันจึงจะมีประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างยง่ิ เมื่อใชง้ านในระดับกลุ่มหรือระดบั องค์กร ข้อมูลตอ้ งมีโครงสร้างในการจัดเก็บที่เป็น ระบบระเบียบเพอื่ การสืบคน้ ทีร่ วดเรว็ และมีประสิทธภิ าพ 1.4.5 ข้นั ตอนการดาเนนิ งาน (Procedure) เป็นกฎหรือแนวทางสาหรับบุคลากรในการใช้ซอฟแวร์ ฮาร์ดแวร์ และข้อมูล ระเบียบ ปฏิบัตกิ ารอาจรวมถงึ คู่มอื การใชซ้ อฟต์แวรแ์ ละฮารด์ แวร์ ท่ผี ู้ชานาญดา้ นคอมพวิ เตอรเ์ ขยี นข้นึ ก็ได้ ขั้นตอนการปฏิบัติงานท่ีชัดเจนของผู้ใช้หรือบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องก็เป็นเร่ืองสาคัญอีก ประการหนึ่ง เม่ือได้พัฒนาระบบงานแล้วจาเป็นต้องปฏิบัติงานตามลาดับขั้นตอน ในขณะใช้งานก็ 16

จาเป็นต้องคานึงถึงลาดับขั้นตอนการปฏิบัติของคนและความสัมพันธ์กับเครื่อง ทั้งในกรณีปกติและ กรณฉี ุกเฉิน เช่น ข้นั ตอนการบันทึกข้อมลู ข้ันตอนการประมวลผล ข้ันตอนปฏิบัติเมื่อเครื่องชารุดหรือ ข้อมูลเสียหาย และขั้นตอนการทาสาเนาข้อมูลสารองเพ่ือความปลอดภัย เป็นต้น สิ่งเหล่าน้ีจะต้องมี การซกั ซ้อม มีการเตรียมการ และการทาเอกสารคมู่ อื การใชง้ านท่ีชดั เจน 1.4.6 เครือขา่ ย (Network) เครือข่าย หมายถึง การเช่ือมโยงคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกันเพ่ือช่วยให้ติดต่อส่ือสารกัน ไดส้ ะดวก สามารถแลกเปลีย่ นขอ้ มูลข่าวสารและสารสนเทศ รวมถึงใชอ้ ุปกรณ์คอมพวิ เตอรร์ ว่ มกัน 1.5 ประโยชนข์ องระบบสารสนเทศ การนาระบบสารสนเทศมาใช้ในงานด้านต่าง ๆ ทาให้เกดิ ประโยชนด์ ังตอ่ ไปนี้ 1.5.1 เพ่มิ ประสทิ ธิภาพ (Efficiency) ดงั ตอ่ ไปน้ี 1) ระบบสารสนเทศทาใหก้ ารปฏบิ ัติงานมีการนาข้อมลู ที่เก็บรวบรวมเข้าสู่กระบวนการ ประมวลผลข้อมูล ทาให้ได้สารสนเทศ การเผยแพร่สารสนเทศทาได้ได้อย่างรวดเรว็ ระบบ สารสนเทศ ช่วยในการจัดเก็บข้อมูลที่มีขนาดใหญ่ หรือมีปริมาณมากและช่วยทาให้การเข้าถึงข้อมูล (Access) เหล่าน้นั มีความรวดเรว็ ดว้ ย 2) ช่วยลดต้นทุน การทร่ี ะบบสารสนเทศชว่ ยทาให้การปฏบิ ัติงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมลู ซ่ึง มีปริมาณมาก มีความสลับซับซ้อน ให้ดาเนินการได้โดยเร็ว หรือการช่วยให้เกิดการติดต่อส่ือสารได้ อย่างรวดเร็ว ทาใหเ้ กดิ การประหยดั ตน้ ทนุ การดาเนนิ การอยา่ งมาก 3) ช่วยให้การติดต่อส่ือสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว การใช้เครือข่ายทางานคอมพิวเตอร์ ทา ให้มีการติดต่อได้ทั่วโลกภายในเวลาท่ีรวดเร็ว ไม่ว่าจะเป็นการติดต่อระหว่างเครื่องคอมพิวเตอร์กับ เครื่องคอมพิวเตอร์ด้วยกัน (Machine to Machine) หรือคนกับคน (Human to Human) หรือคน กับเครื่องคอมพิวเตอร์ (Human to Machine) และการติดตอ่ สอื่ สารดังกล่าว จะทาให้ขอ้ มูลท่ีเปน็ ทั้ง ข้อความ เสียง ภาพนิ่ง และภาพเคลื่อนไหวสามารถส่งได้ทันที ระบบสารสนเทศช่วย ทาให้การ ประสานงานระหว่างฝ่ายต่าง ๆ เป็นไปได้ด้วยดีโดยเฉพาะหากระบบสารสนเทศน้ันออกแบบ เพ่ือ เอ้ืออานวยให้หน่วยงานท้ังภายในและภายนอกที่อยู่ในระบบของซัพพลายทั้งหมด จะทาให้ผู้ท่ีมีส่วน เกี่ยวขอ้ งทง้ั หมดสามารถใชข้ ้อมูลรว่ มกันได้ และทาใหก้ ารประสานงาน หรอื การทาความเขา้ ใจเปน็ ไป ได้ด้วยดีย่งิ ข้ึน 1.5.2 มปี ระสิทธผิ ล (Effectiveness) ดังต่อไปนี้ 1) ระบบสารสนเทศช่วยในการตัดสินใจ ระบบสารสนเทศท่ีออกแบบสาหรับผู้บริหาร เช่น ระบบสารสนเทศที่ช่วยในการสนับสนุนการตัดสินใจ (Decision Support Systems หรือ DSS) 17

ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Executive Support Systems หรือ ESS) เพื่อใหผ้ ู้บริหารมีข้อมูล ในการประกอบการตดั สินใจได้ดขี นึ้ อนั จะสง่ ผลใหก้ ารดาเนนิ งานสามารถบรรลุวัตถุประสงค์ไว้ได้ 2) ระบบสารสนเทศช่วยในการเลือกผลติ สนิ คา้ /บริการที่เหมาะสมระบบสารสนเทศจะ ช่วยทาให้องค์การทราบถึงข้อมูลท่ีเก่ียวข้องกับต้นทุน ราคาในตลาดรูปแบบของสินค้า/บริการที่มีอยู่ หรือช่วยทาให้หน่วยงานสามารถเลือกผลิตสินค้า/บริการท่ีมีความเหมาะสมกับความเชี่ยวชาญ หรือ ทรัพยากรท่ีมีอยู่ 3) ระบบสารสนเทศช่วยปรับปรงุ คุณภาพของสินค้า/บริการให้ดขี ึ้นระบบสารสนเทศทา ให้การติดต่อระหว่างหน่วยงานและลูกค้า สามารถทาได้โดยถูกต้องและรวดเร็วข้ึน ดังน้ัน จึงช่วยให้ หน่วยงานสามารถปรับปรุงคุณภาพของสินค้า/บริการให้ตรงกับความต้องการของลูกค้าได้ดีข้ึนและ รวดเรว็ ขนึ้ ด้วย 4) ความได้เปรียบในการแขง่ ขัน (Competitive Advantage) 5) คุณภาพชีวิตการทางาน (Quality of Working Life) นอกจากน้ีสารสนเทศยังมีประโยชน์ในการใช้วางแผนการบริหารช่วยในการจัดระบบ ข่าวสาร จานวนมหาศาลของแต่ละวัน วางแผนเก่ียวกับการจัดการองค์การ การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์ กระบวนการผลิตสินค้า การตลาด เป็นต้น ใช้ในการช่วยตัดสินใจ สามารถนาสารสนเทศไปใช้ในการ ตดั สินใจเพ่ือเลือกแนวทางหรือทางเลือกท่ีมีปัญหาน้อยท่ีสดุ ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ การมีสารสนเทศที่ สมบูรณ์ ทันสมัย และครบถ้วนจะช่วยให้การตัดสินใจถูกต้อง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพยิ่งข้ึน ใช้ใน ด้านการดาเนินงาน สามารถนาสารสนเทศไปใช้ในการดาเนินงานต่าง ๆ เช่น ใช้เพื่อควบคุมหรือ ติดตามผลการปฏิบัติงานให้สอดคล้องกับกฎระเบียบ วัตถปุ ระสงค์ และเป้าหมายขององค์การ ช่วยให้ สามารถจัดระบบอัตโนมัติเพื่อการจัดเก็บประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศ ช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพ การผลิตสารสนเทศ เช่น การคานวณตัวเลขที่ยุ่งยากซับซ้อน การจัดเรียงลาดับสารสนเทศ การเก็บ สารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ทุกครั้งอย่างสะดวก ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่าง รวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยในการสื่อสารระหว่างกันได้อย่างสะดวกรวดเร็ว ลดอุปสรรค เกีย่ วกับเวลาและระยะทาง โดยการใชร้ ะบบโทรศัพท์ และอ่ืนๆ 1.6 แนวโน้มและทิศทางของระบบสารสนเทศในอนาคต การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศในระยะเวลาอันใกล้นี้มีแนวโน้มที่จะพัฒนาคอมพิวเตอร์ให้มี ความสามารถใกล้เคียงกับความเป็นตัวตนของมนุษย์ได้เหมือนหรือใกล้เคียงมากที่สุด ซึ่งจะดูได้จาก ความก้าวหน้าของการประดิษฐ์คิดค้นและสร้างประสาทสัมผัสเสมือน ขึ้นมาให้ทางานได้ผลลัพธ์ ใกล้เคียงระบบประสาทสัมผัสจริงๆของมนุษย์ เพื่อให้คอมพิวเตอร์เกิดการเข้าใจภาษาสื่อสารทุกด้าน ของมนุษย์ และระบบการคิดโดยใช้โครงข่ายประสาทเทียม (ปัญญาประดิษฐ์ / AI / Artificial 18

Intelligence) โดยพยายามนาไปใช้ให้เกิดประโยชน์มากขึ้น เพ่ือลดการสูญเสียประชากรโลก เนื่องจากผิดพลาดที่เกิดจากมนุษย์เอง ซึ่งการพัฒนาน้ีก่อให้เกิดผลกระทบมากมายต่อสังคมความ เปน็ อยูข่ องมนษุ ย์มาก โดยปัจจบุ ันน้ีทาใหม้ ีแนวโน้มหรือทิศทางทจ่ี ะเกิดผลกระทบใน 2 มติ ิ คือ 1. มิติด้านท่ีเกิดผลดีมีอยู่มากมาย แต่ก่อนอ่ืนต้องมาทราบก่อนว่าเทคโนโลยีสารสนเทศมี เป้าหมายกาหนดไว้ ดังน้ี - เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพการทางาน (Operation Efficiency) - เพิ่มผลผลิต (Function Effectiveness) - เพิม่ คณุ ภาพบรกิ ารลูกค้า (Quality Customer Service) - ผลิตสนิ คา้ ใหม่และขยายผลผลิต (Product Creation and Enhancement) - สามารถสร้างทางเลอื กเพ่อื แขง่ ขนั ได้ (Altering the basic of competition) - สรา้ งโอกาสทางธุรกจิ (Identifying and Exploiting Business Opportunities) - ดงึ ดดู ลกู ค้าและป้องกันคแู่ ขง่ (Client Lock-In/Competitor Lock-Out) จากเป้าหมายทั้งทุกข้อของเทคโนโลยีสารสนเทศถ้าสามารถดาเนินการได้ตามเป้าหมาย ดังกลา่ วก็ถือได้วา่ เป็นขอ้ ดขี องเทคโนโลยีสารสนเทศระบบน้ีได้ท้งั หมด นอกจากนกี้ ย็ งั มี - การพัฒนาอย่างรวดเร็วของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โดยเฉพาะเครือข่ายอินเทอร์เน็ตท่ี เชื่อมโยงกันทั่วโลกก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทุกช่องทาง ไม่ว่าจะเป็นเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เช่น การศึกษาหาความรู้และข้อมูลต่างๆในทุกเรื่องท่ีสนใจของประชาชนทุกระดับอายุ การ ติดต่อสอ่ื สารในหลายรูปแบบท้ัง Online และ Batch Job การทาธุรกรรมอเิ ล็กทรอนิกส์ การตกลงซ้ือ ขายสนิ ค้าทางอิเล็กทรอนิกส์ การดหู นัง ฟงั เพลง และบนั เทิงต่างๆ - การพฒั นาให้คอมพิวเตอร์มีประสทิ ธิภาพในการฟัง ประมวลผล และโตต้ อบด้วยตัวอักษร หรือเสียงพูดเป็นภาษาต่างๆ ได้ อ่านตัวอักษรหรือลายมือเขียนได้ การแสดงผลของคอมพิวเตอร์ได้ เสมือนจรงิ และการรบั รดู้ ้วยประสาทสัมผัสทกุ ด้านทใี่ กล้เคียงหรือเหมือนกับมนุษย์มากๆ - การพัฒนาระบบบริหารจัดการอิเล็กทรอนิกส์เพ่ือสนับสนุนด้านต่างๆ เช่น สารสนเทศ ฐานขอ้ มูลฐานความรู้ต่างๆ - การศึกษาตามอัธยาศัยด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์ (E-learning) การเรียนการสอนด้วย ระบบโทรศึกษา (Tele-Education) การค้นคว้าหาความรู้ได้ตลอด 24 ช่ัวโมงจากห้องสมุดเสมือน (Virtual Library) จากท่ัวโลก - การพัฒนาเครือข่ายโทรคมนาคมท่ีทันสมัย ระบบการสื่อสารผ่านเครือข่ายไร้สาย เครือขา่ ยดาวเทยี มระบบสารสนเทศภมู ศิ าสตร์ ทาให้สามารถค้นหาต าแหน่งได้อย่างแม่นย า 19

- การบริหารจัดการภาครัฐสมัยใหม่ โดยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายการ สื่อสารเพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพการ ดาเนินการของภาครัฐที่เรียกว่า รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E- Government) ระบบการจ่ายเงินเดือนแก่ข้าราชการ และระบบงบประมาณ ของทุกหน่วยงานท้ัง ประเทศโดยกรมบัญชีกลาง รวมทัง้ ระบบฐานขอ้ มลู ประชาชน หรือ E-Citizen และอกี มากมาย 2. มิติดา้ นท่ีเกิดผลเสีย มีอยูม่ ากมายเชน่ - วงจร ชีวิตของระบบสารสนเทศ เป็นระบบที่มีวงจรชีวิตค่อนข้างจากัด อาจจะอธิบายได้ ว่า เน่ืองจาการเปลี่ยนแปลงทางด้านเทคโนโลยี รวมทั้งสภาพทางเศรษฐกิจและธุรกิจ เช่น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี ทาให้ต้องมีการปรับเปล่ียนระบบสารสนเทศไปด้วยหรือ การ เปลย่ี นแปลงความต้องการของผ้บู ริหาร ก็อาจจะต้องเปลีย่ นระบบสารสนเทศไปด้วย - ลงทนุ สงู เทคโนโลยีสารสนเทศเป็นเคร่ืองมอื ท่ีมรี าคาแพง และสว่ นมากไมอ่ าจจะนาไปใช้ ได้ทันที แตจ่ ะตอ้ งมคี วามรู้ความเข้าใจเสยี ก่อนจึงจะใชไ้ ด้อย่างถกู ต้องและมี ประสทิ ธภิ าพ - ก่อให้เกิดช่องว่าง (Gap) เทคโนโลยีสารสนเทศ ทาให้เกิดช่องว่างในการรับข่าวสาร ระหว่างคนจนกับคนรวย - ความผิดพลาดในการทางานของระบบ คอมพิวเตอร์ ทั้งส่วนฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ ที่ เกิดขึ้นจากการออกแบบและพัฒนา ทาให้เกิดความเสียหายต่อระบบและสูญเสียค่าใช้จ่ายในการ แก้ปญั หา - การละเมิดลิขสิทธิ์ของทรัพย์สินทางปัญญา การทาสาเนาและลอกเลียนแบบ ทาให้เกิด การละเมิดต่อกฎหมายแสวงประโยชน์ด้วยการทาสาเนาเพ่ือจาหน่ายในราคาถูกโดยเจตนา และจะทา ให้เกิดความผิดต่อประชาชนผู้ใช้งานท่ีไม่เจตนาทาการทาสาเนาแจกกันเองของผู้ใช้งานที่ยังไม่เข้าใจ เร่อื งการละเมดิ ทรพั ย์สนิ ทางปญั ญาดีเพียงพอ - การก่ออาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ การโจรกรรมข้อมูล การล่วงละเมิด การก่อกวน ระบบคอมพวิ เตอร์ ของหนว่ ยงาน สถาบนั ตา่ งๆท้ังของภาครัฐและเอกชน ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศ ได้บูรณาการเข้าสู่ระบบราชการ และระบบธุรกิจ ดังน้ันทุก องค์กรที่จะอยู่รอดและมีพัฒนาการเดินต่อไปได้ต้องสามารถปรับตัว และจัดการกับเทคโนโลยีไดอ้ ย่าง เหมาะสม แต่เนื่องจากการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีสารสนเทศอาจทาให้เทคโนโลยีที่ กล่าวถงึ ในที่น้ลี ้าสมยั ได้ในระยะเวลาอนั รวดเร็ว ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่ผบู้ ริหารท่ีสนใจจะต้องศึกษา ติดตามความเปล่ียนแปลงอยู่ตลอดเวลา โดยเทคโนโลยีสารสนเทศที่สาคัญและจะเกดิ ข้ึนในอนาคต มี ดงั ต่อไปน้ี 20

1) คอมพิวเตอร์ (Computer) ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ได้พัฒนาไปจากยุคแรกๆท่ีเคร่ืองมี ขนาดใหญ่ ทางานไดช้ า้ ความสามารถต่ า มีราคาสูงมาก และใชพ้ ลังงานสูง เปน็ การใช้เทคโนโลยวี งจร รวมขนาดใหญ่ (Very Large Scale Integrated Circuit : VLSI) ในการผลิตไมโครโปรเซสเซอร์ (Microprocessor) ทาให้ประสิทธิภาพของส่วนประมวลผลของเคร่ืองพัฒนาข้ึนอย่างเห็นได้ชัด นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนาหน่วยความจาให้มี ประสิทธิภาพสูงข้ึน แต่มีราคาถูกลง ซึ่งช่วยเพ่ิม ศักยภาพในการทางานของคอมพิวเตอร์ ส่วนบุคคลในปัจจุบัน โดยที่คอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในขณะท่ีมีความสามารถเท่าเทียมหรือ มากกว่าเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ในสมัยก่อน ตลอดจนการนาคอมพิวเตอร์ชนิดลดชุดค าสั่ง (Reduced Instruction Set Computer) หรือ RISC มาใช้ในการออกแบบหน่วยประเมินผล ทาให้ เครอื่ งคอมพวิ เตอร์สามารถทางานไดเ้ ร็วขึ้นโดยใช้ค าส่ังพืน้ ฐานง่ายๆ 2) ปัญญาประดิษฐ์ (Artificial Intelligence) หรอื AI เปน็ การพฒั นาระบบคอมพิวเตอร์ให้ มคี วามสามารถที่จะคดิ แก้ปัญหาและให้เหตุผลไดเ้ หมือนอย่างการใช้ภูมิปัญญาของมนุษย์จริง ปัจจุบัน นกั วิทยาศาสตรใ์ นหลายสาขาวชิ าได้ศึกษาและทดลองทีจ่ ะพฒั นาระบบคอมพิวเตอร์ให้สามารถทางาน ที่มีเหตุผล โดยการเลียนแบบการทางานของสมองมนุษย์ ซงึ่ ความรู้ทางด้านน้ีถ้าได้รบั การพัฒนาอย่าง ต่อเนื่องจะสามารถนามาประยุกต์ใช้งานต่าง ๆ อย่างมากมาย เช่น ระบบผู้เช่ียวชาญเป็นระบบ คอมพิวเตอร์ท่ีถูกพัฒนาข้ึนเพ่ือให้ความสามารถในการแก้ปัญหาได้อย่างผู้เชี่ยวชาญ และหุ่นยนต์ (Robotics) เป็นการพัฒนาสิ่งประดิษฐ์ให้สามารถปฏิบัติงานและใช้ทักษะการเคลื่อนไหวได้ใกล้เคียง กบั การทางานของมนุษย์ เปน็ ตน้ 3) ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหาร (Executive Information System) หรือ EIS เป็น การพัฒนาระบบสารสนเทศท่ีสนบั สนุนผู้บริหารในงานระดับวางแผนนโยบายและกลยุทธ์ขององค์การ โดยที่ EIS จะถูกนามาให้คาแนะนาผู้บริหารในการตัดสินใจ เมอ่ื ประสบปัญหาแบบไม่มโี ครงสร้างหรือ ก่ึงโครงสร้าง โดย EIS เป็นระบบที่พัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการท่ีพิเศษของผู้บริหารในด้าน ต่าง ๆ เช่น สถานการณ์ตา่ ง ๆ ท้ังภายในและภายนอกองค์การ รวมทั้งสถานะของคู่แข่งขันด้วย โดยที่ ระบบจะตอ้ งมคี วามละเอียดออ่ น ตลอดจนง่ายตอ่ การใช้งาน เน่ืองจากผบู้ ริหารระดบั สูงจานวนมากไม่ เคยชนิ กบั การตดิ ต่อและส่ังงานโดยตรงกบั ระบบคอมพิวเตอร์ 4) การจดจาเสียง (Voice Recognition) เป็นความพยายามของนักวิทยาศาสตร์ที่จะทา ให้คอมพิวเตอร์จดจาเสียงของผู้ใช้ ปจั จบุ ันการพฒั นาเทคโนโลยีสาขานี้ยงั ไม่ประสบความสาเร็จตามท่ี นกั วิทยาศาสตรต์ ้องการ ถ้าในอนาคตนกั วิทยาศาสตร์ประสบความสาเรจ็ ในการนาความรูต้ ่าง ๆ มาใช้ สร้างระบบการจดจาเสยี ง ก็จะสามารถสร้างประโยชน์ได้อย่างมหาศาลแก่การใชง้ านคอมพวิ เตอรแ์ ละ เทคโนโลยีสารสนเทศ โดยที่ผู้ใช้จะสามารถออกค าส่ังและตอบโต้กับคอมพิวเตอร์แทนการกด 21

แปน้ พมิ พ์ ซึ่งจะส่งผลใหผ้ ู้ทีไ่ ม่เคยชินกับการใช้คอมพิวเตอร์ให้สามารถปรับตวั เข้ากับระบบได้ง่าย เช่น ระบบสารสนเทศสาหรับผู้บริหารระดับสูง การส่ังงานระบบฐานข้อมูลต่าง ๆ และระบบรักษาความ ปลอดภัยของข้อมูล เป็นต้น ซ่ึงจะช่วยเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานและขยายคุณค่าเพิ่มของ เทคโนโลยีสารสนเทศทม่ี ตี ่อธรุ กจิ 5) การแลกเปลี่ยนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Data Interchange) หรือ EDI เป็น การส่งข้อมูลหรือข่าวสารจากระบบคอมพิวเตอร์หนึ่งไปสู่ระบบคอมพิวเตอร์อื่นโดยผ่าน ทาง ระบบส่ือสารข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เช่น การส่งค าสั่งซ้ือจากผู้ซ้ือไปยังผู้ขายโดยตรง ปัจจุบันระบบ แลกเปล่ียนข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์กาลังได้รับความนิยมเพิ่มมากข้ึนเรื่อย ๆ เพราะช่วงลดระยะเวลาใน การทางานของแต่ละองค์การลง โดยองค์การจะสามารถส่งและรบั สารสนเทศในการดาเนินธุรกิจ เช่น ใบส่ังซื้อและใบตอบรับผ่านระบบส่ือสารโทรคมนาคมที่มีอยู่ ทาให้ทั้งผู้ส่งและผู้รับไม่ต้องเสียเวลา เดินทาง 6) เส้นใยแก้วนาแสง (Fiber Optics) เป็นตัวกลางที่สามารถส่งข้อมูลข่าวสารได้อย่าง รวดเร็วโดยอาศัยการสง่ สญั ญาณแสงผ่านเสน้ ใยแก้วนาแสงท่ีมดั รวมกนั การนาเสน้ ใยแก้วนาแสงมาใช้ ในการสื่อสารก่อให้เกิดแนวความคิดเก่ียวกับ “ทางด่วนข้อมูล (Information Superhighway)” ท่ีจะ เชื่อมโยงระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์เข้าด้วยกัน เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้ใช้ได้มีโอกาสเข้าถึงข้อมูลและ สารสนเทศต่าง ๆ ได้ง่ายและรวดเรว็ ขึน้ ปจั จุบันเทคโนโลยเี สน้ ใยแกว้ นาแสงได้ส่งผลกระทบต่อวงการ สื่อสารมวลชนและการคา้ ขายสนิ ค้าผา่ นระบบเครอื ข่ายอิเล็กทรอนิกส์ 7) อินเทอร์เน็ต (Internet) เป็นเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงไปท่ัวโลก มี ผู้ใช้งานหลายล้านคน และกาลังได้รับความนิยมเพิ่มข้ึนอย่างต่อเนื่อง โดยท่ีสมาชิกสามารถ ตดิ ตอ่ สอื่ สารแลกเปลย่ี นข้อมลู ข่าวสาร ตลอดจนคน้ หาข้อมลู ตา่ งๆทส่ี นใจไดจ้ ากท่วั โลก 8) ระบบเครอื ขา่ ย (Networking System) โดยเฉพาะระบบเครือข่ายเฉพาะพื้นท่ี (Local Area Network : LAN) เป็นระบบส่ือสารเครือข่ายที่ใช้ในระยะทางที่กาหนด ส่วนใหญ่จะภายใน อาคารหรือในหน่วยงาน LAN จะมีส่วนช่วยเพ่ิมศักยภาพในการทางานของคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลให้ สูงขึ้น รวมท้ังการเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน การใช้ข้อมูลร่วมกัน และการเพ่ิมความเร็วในการ ตดิ ตอ่ สอื่ สาร นอกจากนรี้ ะบบเครอื ข่ายของคอมพวิ เตอร์สว่ นบุคคลยงั ผลักดนั ใหเ้ กดิ การกระจายความ รับผดิ ชอบในการจัดการเทคโนโลยสี ารสนเทศไปยงั ผ้ใู ชม้ ากกวา่ ในอดตี 9) ระบบการประชุมทางไกล (Teleconference) เป็นการนาเทคโนโลยสี าขาต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ เคร่ืองถ่ายโทรทัศน์ และระบบสื่อสารโทรคมนาคมผสมผสาน เพ่ือให้สนับสนุนในการ ประชุมมีประสิทธิภาพ โดยผู้นาเข้าร่วมประชุมไม่จาเป็นที่จะต้องอยู่ในห้องประชุมและพื้นท่ีเดียวกัน 22

ซ่ึงจะช่วยให้ประหยัดเวลาในการเดินทาง โดยเฉพาะในสภาวะการจราจรที่ติดขัด ตลอดจนผู้เข้า ประชมุ อยู่ในเขตที่หา่ งไกลกนั มาก 10) โทรทัศน์ตามสายและผ่านดาวเทียม (Cable and Seattleite TV) การส่งสัญญาณ โทรทัศน์ผ่านส่ือต่าง ๆ ไปยังผู้ชม จะมีผลทาให้ข้อมูลข่าวสารสามารถแพร่ไปได้อย่างรวดเร็วและ ครอบคลุมพนื้ ทกี่ ว้างขนึ้ โดยที่ผู้ชมสามารถเขา้ ถงึ ข้อมูลจากสื่อต่าง ๆ ได้มากข้ึน ส่งผลให้ผู้ชมรายการ มที างเลือกมากข้ึนและสามารถตดั สนิ ใจในทางเลือกต่าง ๆ ไดเ้ หมาะสมขึ้น 11) เทคโนโลยีมัลติมีเดีย (Multimedia Technology) เป็นการนาเอาคอมพิวเตอร์และ อุปกรณ์เก็บข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์มาจัดเก็บข้อมูลหรือข่าวสารในลักษณะท่ีแตกต่างกันทั้งรูปภาพ ข้อความ เสียง โดยสามารถเรียกกลับมาใช้เป็นภาพเคล่ือนไหวได้ และยังสามารถโต้ตอบกับผู้ใช้ด้วย การประยุกต์เข้ากับความรู้ทางด้านคอมพิวเตอร์ เช่น หน่วยความจาแบบอ่านอย่างเดียวท่ีบันทึกใน แผ่นดิสก์ (CD-ROM) จอภาพที่มีความละเอียดสูง (High Resolution) เข้ากับอุปกรณ์ต่าง ๆ เพ่ือ จัดเก็บและนาเสนอขอ้ มลู ภาพ และเสียงที่สามารถโตต้ อบกับผู้ใช้ได้ ปัจจุบันเทคโนโลยมี ัลติมีเดียเป็น เทคโนโลยีท่ีต่ืนตัวและได้รับความสนใจจากบุคคลหลายกลุ่มเน่ืองจากเล็งเห็นความ สาคัญว่าจะเป็น ประโยชนต์ อ่ วงการศกึ ษา โฆษณา และบันเทิงเปน็ อย่างมาก 12) การใช้คอมพิวเตอร์ในการฝึกอบรม (Computer Base Training) เป็นการนาเอา ระบบคอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการฝึกอบรมในด้านต่าง ๆ หรือการนาเอาคอมพิวเตอร์มาช่วยในด้าน การเรียนการสอนที่เรียกว่า “คอมพิ วเตอร์ช่วยการสอน (Computer Assisted Instruction) ห รือ CAI” การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการสอนเปิดช่องทางใหม่ในการเรียนรู้ โดยส่งเสริมประสิทธิภาพการ เรยี นรู้ ตลอดจนปรชั ญาการเรยี นรดู้ ว้ ยตนเอง 13) การใช้คอมพิวเตอร์ช่วยในการออกแบบ (Computer Aided Design) หรือ CAD เป็นการนาเอาเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และระบบข้อมูลเข้ามาช่วยในการออกแบบผลิตภัณฑ์ รวมทั้ง รูปแบบหีบห่อของผลิตภัณฑ์หรือการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยทางด้านการออกแบบวิศวกรรมและ สถาปัตยกรรมให้มีความเหมาะสมกับความต้องการและความเป็นจริง ตลอดจนช่วยลดต้นทุนการ ดาเนินงานในการออกแบบโดยเฉพาะในเรื่องของเวลา การแก้ไข และการจดั เกบ็ แบบ 14) การใชค้ อมพวิ เตอรช์ ว่ ยในการผลิต (Computer Aided Manufacturing) หรอื CAM เป็นการนาคอมพิวเตอร์มาช่วยในการผลิตสินค้าในโรงงานอุตสาหกรรม เน่ืองจากระบบคอมพิวเตอร์ จะมีความเที่ยงตรงและน่าเช่ือถือได้ในการทางานท่ีซ้ ากัน ตลอดจนสามารถตรวจสอบรายละเอียด และข้อผิดพลาดของผลิตภัณฑ์ได้ตามมาตรฐานที่ต้องการ ซึ่งจะช่วยประหยัดระยะเวลาและแรงงาน ประการสาคญั ช่วยใหค้ ุณภาพของผลติ ภัณฑม์ คี วามสม่ าเสมอตามท่ีกาหนด 23

15) ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์ (Geographic Information System) หรือ GIS เป็นการนาเอาระบบคอมพวิ เตอร์ทางดา้ นรปู ภาพ (Graphics) และข้อมูลทางภูมศิ าสตรม์ าจดั ทาแผนท่ี ในบริเวณท่ีสนใจ GIS สามารถนามาประยุกต์ให้เป็นประโยชน์ในการดาเนินกิจการต่าง ๆ เช่น การ วางแผนยุทธศาสตร์การบริหารการขนส่ง การสารวจและวางแผนป้องกันภัยธรรมชาติ การช่วยเหลือ และกภู้ ัย เปน็ ตน้ ท่ีกล่าวมาน้ีเป็นเพียงส่วนหนึ่งของเทคโนโลยีสารสนเทศที่ถูกพัฒนาขึ้นในปัจจุบัน และ โลกก็ยังคงกาลังทาการศึกษาและปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพเหมาะสมต่อการใช้งานในอนาคต โครงการพัฒนาความรู้ต่างๆ เหล่านี้จะมีผลไม่เพียงต้องการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีสารสนเทศเท่านั้น แต่ยังจะส่งผลกระทบต่อการดาเนินงานขององค์การและความเป็นอยู่ของมนุษย์ในสังคมส่วนรวมอีก ด้วย เราจะเห็นว่าปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศจะเข้ามามีบทบาทและอิทธิพลต่อชีวิตมนุษย์เพิ่มขึ้น ดงั น้ันเราต้องพยายามติดตาม ศึกษา และทาความเข้าใจแนวทางและพัฒนาการท่ีเกิดขึ้น เพื่อที่จะนา เทคโนโลยีสารสนเทศไปประยุกต์ใช้ใหเ้ ป็นประโยชน์ในการดารงชวี ติ อยา่ งเหมาะสมต่อไป บทสรปุ สารสนเทศที่ดีต้องมีความถูกต้องแม่นยา ประกอบด้วยข้อเท็จจริ งท่ีสมบูรณ์ครบถ้วน เมื่อ พิจารณาสารสนเทศแล้วจะต้องเข้าใจง่าย ช่วยให้ ผู้บริ หารตัดสินใจทันเวลา ข้อมูลมีความน่าเช่ือถือ สามารถตรวจสอบและเปรี ยบเทียบให้ เห็นได้ เพ่ือให้ เกิดความมั่นใจในการนาไปใช้ และยังสามารถ ใช้ในงานท่ีมีวัตถุประสงค์ต่าง ๆ กันได้ สนองความต้องการของผู้ท่ีนาไปใช้ มีความสะดวกในการใช้ สารสนเทศในระดับต่าง ๆ ของผู้ใช้ และท่ีสาคัญมีความปลอดภัยจากผู้ท่ีไม่มีสิทธิในการเข้าถึงข้อมูล หรอื สารสนเทศ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศคอมพวิ เตอร์ ประกอบด้วย 6 ส่วนหลกั ๆ 1) ฮาร์ ดแวร์ 4) การส่อื สารหรือเครอื ขา่ ย 2) ซอฟตแ์ วร์ 5) กระบวนการทางาน 3) ขอ้ มูล 6) บคุ ลากรที่จดั การให้คอมพิวเตอร์ ทางาน (User) 24

คาถามทา้ ยหน่วยเรยี น จงตอบคาถามต่อไปน้ี 1. จงบอกความหมายขอ้ มูล สารสนเทศ และยกตัวอยา่ งแตล่ ะประเภท 2. ข้อมลู และสารสนเทศมคี วามเกย่ี วขอ้ งและสัมพันธ์กันอยา่ งไร 3. คุณสมบตั ิของขอ้ มลู ทด่ี ีควรมีลักษณะอยา่ งไรบ้าง 4. จงบอกกระบวนในการทาขอ้ มูลใหก้ ลายเปน็ สารสนเทศ 5. สาเหตุท่ที าใหเ้ กดิ สารสนเทศมีอะไรบ้าง 6. องค์ประกอบของสารสนเทศประกอบด้วยอะไรบ้าง ยกตัวอย่างแต่ละประเภท 7. องคป์ ระกอบของสารสนเทศเกีย่ วกบั บุคลากร ไดแ้ กอ่ ะไรบ้าง 8. บอกประโยชนข์ องระบบสารสนเทศมอี ะไรบ้าง 9. ทา่ นคดิ ว่าแนวโนม้ เทคโนโลยสี ารสนเทศในอนาคตจะเป็นอยา่ งไร เพราะอะไร 10. จงยกตวั อยา่ งแนวโนม้ เทคโนโลยีสารสนเทศในประเทศไทยได้แก่อะไรบา้ ง เอกสารอ้างองิ นภิ าภรณ์ คาเจริญ. (ม.ป.ป.). ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ. นนทบรุ ี: เอส.พ.ี ซี.บคุ๊ ส์ . รศ.ดร.ทิพวรรณ หลอ่ สวุ รรณรตั น.์ (ม.ป.ป.). ระบบสารสนเทศเพ่ือการจดั การ. แซท โฟร์ พริ้นตง้ิ . รงุ่ รัศมี บญุ ดาว. (2559). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการรุ กิจในยุคดจิ ทิ ลั . นนทบรุ :ี ส.เอเชยี เพรส. ศรีสมรัก อนิ ทุจนั ทรย์ ง. (2550). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรงุ เทพฯ: สานกั พิมพ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร.์ ศศลกั ษณ์ ทองขาวและคณะ. (2015). คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ารสนเทศสมัยใหม.่ กรงุ เทพฯ: แมคกรอ-ฮิล อินเตรอเ์ นช่ันแนล เอ็นเตอร์ไพรสแ่ อลแอลซี. สพุ รรษา ยวงทอง และ วิโรจน์ ชยั มลู . (2558). ความรูเ้ บอื้ งต้อนเกีย่ วกับคอมพิวเตอรแ์ ละ เทคโนโลยสี ารสนเทศ. กรงเทพฯ: โปรวิชัน่ . สุพล พรหมมาพันธ์ุ. (2556). ระบบสารสนเทศเพ่อื การจดั การธุรกจิ . กรงุ เทพ: โรงพิมพม์ หาวิทยาลัย ศรปี ทุม. 25

ธนชาติ น่มุ นนท์ ,สบื คน้ เมื่อ 5 มีนาคม 2560, www. http://thanachart.org Stair,R.M.,&G.W.Reynolds.(1999).Principles of Information Systems: Aanagerial Approach 4th ed. Cambridge.MA:Course technology. Haag,S.,M,Cumnnngy,M.,& J-Dawkins.(2 0 0 2 ) . Management Information Sytems for the Information Age 2nd ed.Toronto:Irwin McGraw Hill. 26