สามเหลี่ยม ในชีวิตประจำวัน

สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใด ๆ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก

สมบัติข้างต้นนี้เรียกว่า ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และเชื่อกันว่า นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกชื่อพีทาโกรัสเป็นผู้พิสูจน์ได้เป็นคนแรก

เราสามารถใช้ความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากดังกล่าวข้างต้น หาความยาวของด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่ต้องการทราบได้เสมอ เมื่อทราบความยาวของด้านอีกสองด้านของรูปสามเหลี่ยมนั้น

สามเหลี่ยม ในชีวิตประจำวัน

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
จากหัวข้อที่แล้วทำให้ทราบถึงความสัมพันธ์ของความยาวของด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก นั่นคือ กำลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก

ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวเป็นที่รู้จักกันมาช้านานกว่า 3,000 ปีมาแล้ว ในชื่อของทฤษฎีบทพีทาโกรัส แต่คนในสมัยนั้นสังเกตเห็นความสัมพันธ์นี้ในลักษณะที่เป็นความสัมพันธ์ของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านทั้งสามของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ทฤษฎีบทพีทาโกรัส

สามเหลี่ยม ในชีวิตประจำวัน

จากรูป จะได้พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABIH เท่ากับ 55 = 25 ตารางหน่วย
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส BCED เท่ากับ 32 = 9 ตารางหน่วย
พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ACGF เท่ากับ 42 = 16 ตารางหน่วย
ซึ่ง 25 = 9 + 16
ดังนั้น พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ABIH เท่ากับ ผลบวกของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส BCED และพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส ACGF

ตัวอย่างข้างต้นเป็นการแสดงความสัมพันธ์ตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสที่กล่าวอีกแบบหนึ่งดังนี้
สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของพื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านประกอบมุมฉาก

บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ในสมัยอียิปต์โบราณ เกษตรกรที่อาศัยอยู่ริมฝั่งแม่น้ำไนล์มักประสบปัญหาน้ำท่วมที่ดินจนไม่สามารถชี้แนวเขตที่ดินของตนได้ จึงต้องรังวัดที่ดินใหม่เกือบทุกปี ในสมัยนั้นเมื่อต้องการรังวัดที่ดินให้เป็นมุมฉาก ชาวบ้านจะใช้เชือกที่มี 13 ปม ระยะห่างระหว่างปมเป็น 1 หน่วยเท่ากัน มาขึงเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านยาวเป็น 3 ,4 และ 5 หน่วย ก็จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านตรงข้ามมุมฉากเป็น 5 หน่วย

แม้แต่ในปัจจุบันถ้าช่างรังวัดไม่มีเครื่องมือวัดมุมฉาก เขาจะใช้เชือก 13 ปม มาขึงสร้างมุมฉาก วิธีดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่าช่างรังวัดทราบว่ารูปสามเหลี่ยมที่มีความยาวของด้านทั้งสามเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะต้องเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

ถ้ารูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านยาว a, b และ c หน่วย และ c2 = a2 + b2 จะได้ว่า ∆ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และมีด้านที่ยาว c หน่วย เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก

คำกล่าวข้างต้นเป็นจริงตามบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่กล่าวว่า
สำหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ ถ้ากำลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่งเท่ากับผลบวกของกำลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้าน แล้วรูปสามเหลี่ยมนั้นเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก

บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสเป็นการนำผลของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมาเป็นเหตุ และนำเหตุมาเป็นผลซึ่งอธิบายได้ดังนี้

หากเปรียบชีวิตเหมือนรูปสามเหลี่ยม ก็คงจะต้องมีมุมฉากสามด้านเท่ากัน รูปสามเหลี่ยมนั้นจึงจะสวยงาม

 ใกล้จะทำงานครบรอบอีกหนึ่งปีแล้ว ปีที่ผ่านมาสอนให้เราเข้าใจมากขึ้นถึงงานและคน แม้จะล้มลุกคลุกคลานไปบ้างแต่โดยภาพรวมแล้วก็พอใจในระดับหนึ่ง

สามเหลี่ยม ในชีวิตประจำวัน

 ในยามที่งานล้มแต่คนไม่ล้มแรงเท่าไหร่ เพราะมีอีกสองด้านแห่งชีวิตที่ช่วย พยุง ประคับประคอง และ ปลุกปลอบ สองสิ่งที่ว่านี้คือ ครอบครัว/บ้าน และ มิตรสหาย

สามเหลี่ยม ในชีวิตประจำวัน

หากเปรียบชีวิตเหมือนรูปสามเหลี่ยม ก็คงจะต้องมีมุมฉากสามด้านเท่ากัน รูปสามเหลี่ยมนั้นจึงจะสวยงาม

ปีที่ผ่านมาหลายเรื่องราวและสถานการณ์สอนให้เราต้องกลับมาทบ ทวนถึงวิถีการใช้เวลาและชีวิตของตน

สามเหลี่ยม ในชีวิตประจำวัน

 พบว่า ยังให้ความสมดุลกับบางมุมของชีวิตน้อยไปและให้บางมุมมากไป จึงตั้งใจที่จะปรับปรุงใหม่เรียนรู้ที่จะปรับเวลาและความใส่ใจเสียใหม่...

ตั้งใจที่จะมีความสุขกับคนที่ใกล้ชิดและไว้วางใจได้ให้มากขึ้น หาโอกาสอยู่ร่วมทำกิจกรรมและมีความสุขกับเขาเหล่านั้นให้มากขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา

สามเหลี่ยม ในชีวิตประจำวัน

เด็กเล็กๆ อาจจะไม่เข้าใจเรื่องรูปทรงเรขาคณิต แต่การสอนให้ลูกรู้จักรูปทรงต่างๆ เป็นการปูพื้นฐานในการเรียนคณิตศาสตร์ในอนาคต ซึ่งความเข้าใจในคุณสมบัติเหล่านี้จะเป็นพื้นฐานที่ต่อยอดไปสู่การเรียนรู้ด้านวิศวกรรม การคำนวณออกแบบ ศิลปะ Coding ฯลฯ  อย่างสมดุลและลงตัว

รฟท.รับชำระค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ศูนย์การค้าบริเวณสามเหลี่ยมย่านพหลโยธิน 1,309 ล้านบาท

เผยแพร่: 16 ธ.ค. 2565 14:00   ปรับปรุง: 16 ธ.ค. 2565 14:00   โดย: ผู้จัดการออนไลน์


การรถไฟแห่งประเทศไทยรับชำระค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ศูนย์การค้าบริเวณสามเหลี่ยมย่านพหลโยธินประจำปี 2565 จากบริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จำกัด เป็นเงิน 1,309 ล้านบาท ส่งผลให้ปัจจุบัน การรถไฟฯ ได้รับค่าตอบแทนการประโยชน์ระหว่างปี 2551-2565 รวมแล้วทั้งสิ้น 12,365,785,000 บาท

เมื่อวันที่ 15 ธันวาคม 2565 ณ ห้องปฏิบัติการชั้น 3 ตึกบัญชาการรถไฟ เขตปทุมวัน กรุงเทพฯ นายอนันต์ โพธิ์นิ่มแดง รองผู้ว่าการไฟแห่งประเทศไทย เป็นผู้แทนการรถไฟฯ รับชำระค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ศูนย์การค้าบริเวณสามเหลี่ยมย่านพหลโยธินประจำปี 2565 จากนายปัณฑิต มงคลกุล ประธานเจ้าหน้าที่บริหารสายงานด้านการเงิน บริษัทกลุ่มเซ็นทรัล ผู้แทนจากบริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จำกัด ซึ่งเป็นค่าใช้ประโยชน์จากการใช้พื้นที่ของการรถไฟฯ ในรอบระยะเวลา 1 ปี (วันที่ 19 ธันวาคม 2564 - 18 ธันวาคม 2565) เป็นเงิน 1,309,059,000 บาท รับมอบการรับชำระค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์ศูนย์การค้าบริเวณสามเหลี่ยมย่านพหลโยธิน

นายเอกรัช ศรีอาระยันพงษ์ ผู้อำนวยการศูนย์ประชาสัมพันธ์ การรถไฟแห่งประเทศไทย เปิดเผยว่า ตามที่การรถไฟฯ ได้ทำสัญญาให้สิทธิใช้ประโยชน์ศูนย์การค้าบริเวณสามเหลี่ยมย่านพหลโยธิน บนพื้นที่จำนวน 47.22 ไร่ ระหว่างการรถไฟแห่งประเทศไทย กับ บริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์พัฒนา จำกัด เมื่อวันที่ 9 ธันวาคม 2551 ระยะเวลาการใช้ประโยชน์ 20 ปี เริ่มตั้งแต่วันที่ 19 ธันวาคม 2551 – 18 ธันวาคม 2571 โดยผลตอบแทนรวมตลอดอายุสัญญา เป็นจำนวนเงิน 21,298,833,000 บาท (สองหมื่นหนึ่งพันสองร้อยเก้าสิบแปดล้านแปดแสนสามหมื่นสามพันบาทถ้วน) กำหนดชำระค่าผลประโยชน์ศูนย์การค้าบริเวณสามเหลี่ยมย่านพหลโยธินภายในวันที่ 19 ธันวาคมของทุกปี โดยจะต้องชำระให้แก่การรถไฟฯ เป็นรายปี รวม 20 งวด ตลอดระยะเวลาสัญญา

สำหรับการชำระค่าตอบแทนการใช้ประโยชน์การใช้พื้นที่ศูนย์การค้าบริเวณสามเหลี่ยมย่านพหลโยธิน ประจำปี 2565 เป็นปีที่ 15 ที่การรถไฟฯ จะได้รับจากบริษัท เซ็นทรัลอินเตอร์ พัฒนา จำกัด โดยคิดเป็นจำนวนเงิน 1,309,059,000 บาท (หนึ่งพันสามร้อยเก้าล้านห้าหมื่นเก้าพันบาทถ้วน) ส่งผลให้จนถึงปัจจุบันระหว่างปี 2551-2565 รวมแล้วทั้งสิ้น 12,365,785,000 บาท (หนึ่งหมื่นสองพันสามร้อยหกสิบห้าล้านเจ็ดแสนแปดหมื่นห้าพันบาทถ้วน)

ที่ผ่านมา การรถไฟฯ ได้วางกรอบแนวทางการดำเนินงาน และการบริหารที่ดินของการรถไฟฯ ออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ พื้นที่ Core Business เป็นพื้นที่ย่านสถานี ที่ทำการ เขตทางรถไฟ และพื้นที่ Non-Core Business ที่สามารถนำไปทำประโยชน์ได้ เป็นพื้นที่ที่ไม่มีประเด็นข้อพิพาท และไม่มีปัญหาการบุกรุก เพื่อนำที่ดินออกจัดประโยชน์เป็นสิ่งปลูกสร้าง การเกษตรกรรม ที่อยู่อาศัย เป็นต้น โดยที่ดินทั้งสองส่วนนี้การรถไฟฯ ได้จัดทำระบบฐานข้อมูลสารสนเทศภูมิศาสตร์ เป็นการพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อบริหารทรัพย์สินและสัญญา รวมถึงได้ตั้ง บริษัท เอสอาร์ที แอสเสท จำกัด (SRT Asset) โดยเป็นบริษัทลูกที่ การรถไฟฯ ถือหุ้น100% ซึ่งจะเป็นส่วนสำคัญที่จะช่วยผลักดันให้การบริหารทรัพย์สินของการรถไฟฯ ที่มีอยู่ให้เกิดประสิทธิภาพสุงสุด