อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์

ค่าเสื่อมราคา/ค่าเสื่อมราคาสะสม ปี 2565(2022)

รายละเอียดการคิดคำนวนค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ไม่ระบุรายละเอียด (แบบที่ 2)

(ก่อนปี พ.ศ.2548 เป็นข้อมูลยกยอดเข้าในระบบ GFMIS)  ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

       หน่วยงานส่วนกลาง
เขต1 เขต2 เขต3 เขต4 เขต5 เขต6
เขต7 เขต8 เขต9 เขต10 เขต11 เขต12

* หมายเหตุ สำหรับ เขต1-12 เอกสารดาวน์โหลดเป็นไฟล์ Zip

รายละเอียดการคิดคำนวณค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ปีปัจจุบันจากระบบ GFMIS (แบบที่ 3)

(ตั้งแต่ พ.ศ.2548 - พ.ศ.2565)  ข้อมูล ณ วันที่ 25 กันยายน 2565

       หน่วยงานส่วนกลาง
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
กรมพัฒนาที่ดิน ( พด. )
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
ผู้บริหารกรมพัฒนาที่ดิน (อธพ. , รธพ.ปก. , รธพ.วก. , รธพ.บร , ผชช.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
กลุ่มตรวจสอบภายใน (ตสน.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร (กพร.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
สำนักงานเลขานุการกรม (สลก.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
กองการเจ้าหน้าที่ (กกจ.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
กองคลัง (กค.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
สำนักวิศวกรรมเพื่อการพัฒนาที่ดิน (สวพ.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
กองแผนงาน (กผง.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
สำนักเทคโนโลยีการสำรวจและทำแผนที่ (สสผ.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ศทส.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
สำนักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน (สวด.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
กองวิจัยและพัฒนาการจัดการที่ดิน (กวจ.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
กองสำรวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน (กสด.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
กองเทคโนโลยีชีวภาพทางดิน (กทช.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
กองนโยบายและแผนการใช้ที่ดิน (กนผ.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
ศูนย์ปฏิบัติการพัฒนาที่ดินเฉพาะกิจ (ศปพ.)
อัตราค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์
สถานีพัฒนาที่ดินกรุงเทพมหานคร (สพด.กทม.)

หน่วยงานส่วนภูมิภาค ( แบบที่ 3 ) ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2565

เขต1 เขต2 เขต3 เขต4 เขต5 เขต6
เขต7 เขต8 เขต9 เขต10 เขต11 เขต12

* หมายเหตุ สำหรับ เขต1-12 เอกสารดาวน์โหลดเป็นไฟล์ Zip

รายละเอียดครุภัณฑ์บริจาค (ภาพรวมกรม ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2564)

      ปีงบประมาณที่ได้รับบริจาค
ปีงบประมาณ 2553 ปีงบประมาณ 2554 ปีงบประมาณ 2555 ปีงบประมาณ 2556 ปีงบประมาณ 2557
ปีงบประมาณ 2558 ปีงบประมาณ 2559 ปีงบประมาณ 2560 ปีงบประมาณ 2561 ปีงบประมาณ 2562
ปีงบประมาณ 2563 ปีงบประมาณ 2564 ปีงบประมาณ 2565
หมายเหตุ
       - ปี 2553 - 2554 ครุภัณฑ์บริจาคเฉพาะหน่วยงานส่วนกลางเท่านั้น
       - ปี 2555 เป็นต้นไป รวมครุภัณฑ์บริจาคทั้งหน่วยงานส่วนกลางและส่วนภูมิภาค

ค่าเสื่อมราคาคืออะไร เมื่อลงทุนทำธุรกิจเจ้าของกิจการย่อมต้องรู้จักความหมายของคำนี้ เพราะเกี่ยวเนื่องถึงการคำนวณผลประกอบการของบริษัท  ว่าสามารถทำกำไรในแต่ละปีได้จำนวนเท่าไหร่ และขาดทุนในแต่ละปีจำนวนเท่าไหร่

ค่าเสื่อมราคา หรือ (Depreciation) เป็นค่าใช้จ่ายที่จะต้องถูกคำนวณจากสินทรัพย์ถาวรของบริษัทที่ถูกจัดซื้อเข้ามาเพื่อใช้ประโยชน์ในแต่ละปี ซึ่งส่วนมากสินทรัพย์ถาวรจะเป็นอุปกรณ์มูลค่าสูงและมีระยะใช้งานที่นานในแต่ละ เช่น คอมพิวเตอร์ เครื่องจักร รถยนต์ ซึ่งสินทรัพย์เหล่านี้หากนำมูลค่าทั้งหมดมาคำนวณรวดเดียวจะทำให้ค่าใช้จ่ายของบริษํทในรอบบัญชีนั้นสูง จึงต้องมีการคำนวณค่าเสื่อมราคาตามระยะเวลาการใช้งานตั้งแต่แรกเริ่มจนถึงปัจจุบัน เพื่อให้เกิดความคุ้มค่าในการลงทุน

วิธีคำนวณค่าเสื่อมราคาคิดอย่างไร

การคำนวณค่าเสื่อมราคาทำให้บริษัทได้ทราบถึงงบประมาณที่ใช้ไปในแต่ละรอบบัญชีและผลกำไรที่สามารถสร้างได้ในแต่ละปี เช่น บริษัทซื้อความพิวเตอร์สำหรับให้พนักงานใช้ทำงานมา 1 เครื่อง เงินที่ถูกจ่ายไปเพื่อซื้อคอมพิวเตอร์จะไม่ถูกคำนวณเป็นค่าใช้จ่ายในปีนั้นแค่งวดเดียว แต่จะนำราคาเต็มไปคำนวณค่าเสื่อมราคาเฉลี่ยตามอายุการใช้งานของอุปกรณ์นั้นนั่น

มาถึงวิธีคำนวณค่าเสื่อมราคา สามารถคำนวณหลัก ๆ ได้ 4 วิธี คือ 1. วิธีเส้นตรง 2. วิธียอดลดลงทวีคูณ 3. วิธีผลรวมจำนวนปี 4. วิธีจำนวนผลผลิต และวิธีที่นิยมนำมาใช้คำนวณค่าเสื่อมราคามากที่สุด ก็คือวิธีเส้นตรงนั่นเอง

สูตรการคำนวณค่าเสื่อมราคาวิธีเส้นตรง

การคำนวณค่าเสื่อมราคาแบบวิธีเส้นตรงสามารถคำนวณด้วยการนำราคาต้นทุนของอุปกรณ์ ลบด้วยมูลค่าซาก หารด้วยอายุการใช้งาน จะทำให้ได้ผลลัพธ์ออกมาเป็นค่าเสื่อมราคาเท่ากันทุกปี

ค่าเสื่อมราคา = (ราคาต้นทุน – มูลค่าซาก) ÷ อายุการใช้งาน

ตัวอย่าง : สมมติว่าบริษัทสั่งซื้อรถขนสินค้า 1 คัน ราคา 500,000 บาท มีมูลค่าซาก 50,000 บาท มีอายุการใช้งาน 10 ปี  สมารถตั้งสูตรคำนวณได้ ดังนี้ ค่าเสื่อมราคา = (5,000,000 -50,000) ÷ 10 ปี = 45,000 บาท

ค่าเสื่อมราคารายปีที่คำนวณออกมาได้จะถือเป็นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในรอบบัญชีปัจจุบัน ช่วยให้การทำบัญชีของธุรกิจของคุณมีความถูกต้องและน่าเชื่อถือ แถมยังประเมินสถานการณ์ได้ล่วงหน้าอีกด้วยว่า เครื่องจักรหรืออุกรณ์ที่คุณจะลงทุนซื้อเข้ามาใช้งานคุ้มค่ากับการลงทุนหรือไม่ ทำให้บริษํทคุณมียอดเงินเหลือนในแต่ละงวดเนื่องจากเป็นการหักค่าใช้จ่ายย่อยจากราคาเต็ม ทำให้คุณมีเงินนเหลือไปลงทุนในส่วนอื่นหรือนำเงินไปใช้ในการขยายธุรกิจ เสริมความแข็งแกร่งพร้อมต่อกรกับคู่แข่งได้อีกด้วย

อ่านเพิ่มเติม : ยอดขายน้อยส่งเก็บเงินปลายทางได้ไหม

เสริมประสิทธิภาพธุรกิจแบบไม่ต้องคำนวณค่าเสื่อมราคาด้วย ระบบจัดการร้านค้าออนไลน์ Fillgoods ยกศักยภาพธุรกิจแบบไม่มีค่าใช้จ่าย ใช้งานได้ทุกฟีเจอร์

รู้จักฟีเจอร์ของเรา
สมัครสมาชิก

ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ คิดยังไง

ยอดเงินค่าเสื่อมราคาจะเหมือนกันทุกปี: (ต้นทุนการซื้อสินทรัพย์ – มูลค่าซาก) ÷ จำนวนปีของอายุการบริการ

ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์กี่ปี

ค่าเสื่อมราคา (Depreciation) คือ ค่าใช้จ่ายที่ทยอยตัดจากมูลค่าของสินทรัพย์ที่กิจการใช้ประโยชน์และเกินกว่า 1 ปีขึ้นไป สินทรัพย์เหล่านี้ได้แก่สินทรัพย์ถาวร โดยส่วนใหญ่มีมูลค่าสูง ซึ่งกิจการต้องประมาณการอายุการใช้ประโยชน์ของสินทรัพย์แต่ละรายการ เพื่อที่จะทยอยตัดเป็นค่าใช้จ่ายในแต่ละงวด

ค่าเสื่อมราคาสินทรัพย์ มีอะไรบ้าง

ค่าเสื่อมราคา = (ราคาทุน – มูลค่าคงเหลือ) / อายุการใช้งาน ราคาทุน คือ ราคาที่ซื้อมาของสินทรัพย์ถาวร มูลค่าในส่วนนี้จะรวมถึงต้นทุนในการทำให้สินทรัพย์ดังกล่าวมีสภาพพร้อมใช้งานด้วย เช่น ค่าขนส่ง ค่าติดตั้งเครื่องจักร เป็นต้น

ค่าเสื่อมราคาอยู่ในหมวดใด

ค่าเสื่อมราคาสะสม เป็นบัญชีหมวดสินทรัพย์ แต่เป็นตัวลดยอดของสินทรัพย์นั้น ๆ เพราะเมื่อกิจการซื้อสินทรัพย์มา ก็จะบันทึกเป็นสินทรัพย์ แต่สินทรัพย์นี้เมื่อมีการใช้งานแล้วจะเสื่อมค่าลง ดังนั้นทุกสิ้นปีจึงต้องบันทึกค่าเสื่อมราคา เพื่อลดยอดสินทรัพย์ลง