ความเจริญของอาณาจักรอยุธยา

ปจั จยั ทส่ี ง่ เสรมิ ความเจริญรุ่งเรืองทาง เศรษฐกจิ และการเมืองการปกครองของ อาณาจกั รอยุธยา

ปัจจัยที่สง่ เสริมความเจรญิ รุง่ เรือง ทางเศรษฐกิจและการเมอื งการปกครองของ อาณาจกั รอยุธยา 1. พ้ืนฐานวฒั นธรรมท่ีมีมาตงั้ แตโ่ บราณ 2. ผู้นามคี วามสามารถ 3. ทาเลทีต่ ั้งดีและอุดมสมบูรณ์ 4. การจดั ระเบียบการปกครอง

ปจั จยั ความเจริญร่งุ เรอื ง 1. พ้นื ฐานวฒั นธรรมทมี่ ีมาตัง้ แตโ่ บราณ กรุงศรีอยุธยาเกิดจากการรวมตัวกันของแคว้นโบราณ คือ แคว้นสพุ รรณภูมิ กับ แคว้นละโว้ ได้รบั วฒั นธรรมผสมผสานทง้ั เขมร มอญ อินเดีย จีน อาหรับ ตะวนั ตก • แควน้ สุพรรณภมู ิ อย่ทู างดา้ นตะวนั ตกของลมุ่ แมน่ ้าเจ้าพระยาตอนล่าง เป็น แควน้ ทีเ่ ขม้ แข็งทางการทหาร • แคว้นละโว้ ไดร้ ับวฒั นธรรมต่าง ๆ จากอาณาจักรขอม (เขมร) ซง่ึ เป็น อาณาจักรใหญ่ท่ีอยูใ่ กลเ้ คียง มีการนับถอื ศาสนาพราหมณ์-ฮนิ ดูและ พระพทุ ธศาสนานกิ ายมหายานอย่างขอม

ปจั จัยความเจรญิ รุง่ เรือง 2. ผ้นู ามีความสามารถ พระปรชี าสามารถของผูน้ าได้ด้านต่าง ๆ ท้ังในดา้ นเศรษฐกจิ และการเมอื ง การปกครอง กรงุ ศรอี ยุธยามีกษตั รยิ ท์ ้ังสิ้น 33 พระองค์ใน 5 ราชวงศ์ • ราชวงศ์อทู่ อง • ราชวงศส์ ุพรรณภมู ิ • ราชวงศส์ ุโขทยั • ราชวงศป์ ราสาททอง • ราชวงศ์บ้านพลหู ลวง

ปจั จัยความเจรญิ รุ่งเรอื ง 2. ผ้นู ามีความสามารถ ผลงานผู้นาท่มี ี สมเด็จพระรามาธบิ ดที ่ี 1 (พระเจา้ อู่ทอง) พ.ศ. 1893-1912 ความสามารถ • สถาปนากรงุ ศรอี ยุธยาเป็นราชธานี เมอ่ื พ.ศ. 1893 • วางระเบยี บการปกครองบ้านเมือง การปกครองแบ่งเปน็ 4 ฝา่ ย หรือ จตสุ ดมภ์ ไดแ้ ก่ กรมเวียง กรมวัง กรมคลัง กรมนา • ประกาศใช้กฎหมายปกครองบ้านเมอื ง • ขยายอานาจไปยงั สุโขทยั ทาใหก้ รงุ ศรอี ยธุ ยาเขม้ แขง็ ขนึ้ • สร้างพระราชวงั และวดั หลายแห่ง

ปจั จัยความเจรญิ ร่งุ เรอื ง 2. ผู้นามีความสามารถ ผลงานผู้นาท่ีมี สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. 1991-2031 ความสามารถ • ครองราชยย์ าวนานที่สดุ ในสมยั กรุงศรอี ยุธยา คือ 40 ปี • รวมอาณาจกั รสโุ ขทยั มาเปน็ อันหน่ึงอันเดยี วกนั กบั อยุธยา • กาหนดศกั ดนิ าของบคุ คลในสังคม • วางรากฐานระเบยี บการบรหิ ารราชการแผ่นดิน และจดั ระเบียบสังคม - แบ่งการปกครองออกเป็นฝา่ ยพลเรือน และฝา่ นทหาร - ตง้ั หน่วยงานมาดแู ลราชการฝ่ายตา่ ง ๆ

ศกั ดนิ า ศักดินา หมายถงึ เครื่องกาหนดสิทธิและ หนา้ ท่ขี องบุคคลในสังคม จาแนกใหเ้ ห็นถงึ ความ แต่งต่างในเรื่องสิทธิ หรือ ศกั ดินา คอื มนี า (ท่ดี ิน)

1. พระมหากษตั รยิ ์ หรือ พระเจา้ แผ่นดนิ โครงสรา้ งสงั คม สมัยอยธุ ยา 2. พระบรมวงศานวุ งศ์ หรือ บรรดาเจา้ นาย 3. ขนุ นาง หรือ บคุ คลรบั ราชการ 4. ไพร่ คือ ราษฎรท่ตี อ้ งถูกเกณฑแ์ รงงาน 5. ทาส คอื บคุ คลที่ไมม่ ีกรรมสิทธใ์ิ นชวี ิตของ ตนเอง 6. พระภกิ ษุสงฆ์ คือ บคุ คลที่สบื ทอด พระพทุ ธศาสนา

ปจั จัยความเจรญิ รุ่งเรือง 2. ผนู้ ามคี วามสามารถ ผลงานผูน้ าท่มี ี สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พ.ศ. 2133-2149 ความสามารถ • วีรกษตั ริยน์ กั รบ • พ.ศ. 2127 ประกาศอิสรภาพจากพมา่ ท่ีเมอื งแครง และทรงกอบกเู้ อกราชให้ กรุงศรีอยุธยาจากการเสยี กรงุ ศรีอยุธยาครง้ั ที่ 1 • พ.ศ. 2135 ทายุทธหตั ถี (การรบหรือการทาสงครามโดยการชนช้าง) กบั พระมหาอปุ ราชาของพม่า เป็นฝา่ ยชนะ • ส่งเสริมการคา้ ขายกบั จนี

ปจั จยั ความเจริญรุง่ เรือง 2. ผนู้ ามคี วามสามารถ ผลงานผู้นาทม่ี ี สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช พ.ศ. 2199-2231 ความสามารถ • สมัยทมี่ ีความรงุ่ เรอื งทางด้านการต่างประเทศและวรรณกรรม • เจรญิ ความสัมพนั ธ์ทางการทูต คือ ฝรั่งเศสสมัยพระเจา้ หลุยส์ที่ 14 และมีทูต จากเปอรเ์ ซียเข้ามาเจริญสัมพันธไ์ มตรี และไทยสง่ ราชทตู ไปฝร่งั เศสนาโดย โกษาปาน • กรุงศรอี ยธุ ยาได้รบั ความรู้และวทิ ยาการต่าง ๆ จากชาวตา่ งชาติ เช่น การใช้ ระบบท่อประปา การสร้างหอดูดาว เปน็ ตน้ • จินดามณี (แบบเรียนเล่มแรก)

ปัจจยั ความเจรญิ รุ่งเรอื ง 3. ทาเลท่ีตง้ั ดีและอุดมสมบูรณ์ กรงุ ศรีอยธุ ยาตั้งอย่ใู นทร่ี าบล่มุ และมแี ม่นา้ 3 สาย ล้อมรอบ 4 ทศิ ทาใหม้ ี ความอุดมสมบูรณ์ และสามารถติดตอ่ คา้ ขายกับหัวเมืองใกลเ้ คียงได้ จึงเป็นแหล่ง รวมสนิ ค้าจากหัวเมอื ง เช่น ของป่า สนิ ค้าการเกษตร เป็นต้น อีกท้ังกรุงศรอี ยุธยาอยู่ไม่ไกลจากอา่ วไทย ตา่ งชาติจงึ เดินทางเข้ามาค้าขายกับ กรุงศรีอยุธยาไดง้ า่ ย มกี ารติดต่อค้าขายกับตา่ งชาตดิ ังนี้ - ดนิ แดนใกลเ้ คยี ง ได้แก่ เขมร มอญ - ดินแดนทอ่ี ยู่หา่ งไกล ได้แก่ อนิ เดีย จนี อาหรับ ชาตติ ะวนั ตก

แมน่ ้ำปำ่ สกั แมน่ ำ้ เจำ้ พระยำ แผนท่ี ก ุรงศ ีรอ ุยธยา

ปจั จัยความเจรญิ รุ่งเรือง 4. การจัดระเบยี บการปกครอง จตสุ ดมภ์มตี งั้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา สมเดจ็ พระรามาธบิ ดีที่ 1 (อูท่ อง) จนถึง สมยั รตั นโกสนิ ทร์ รชั กาลท่ี 5 ปฏริ ปู การปกครอง จตุสดมภ์ กรมเวยี ง กรมวงั กรมคลัง กรมนา (เมอื ง) ดูแลรับผิดชอบใน การหารายได้และการ ดแู ลเร่อื งการทานา กจิ การราชสานัก รกั ษาผลประโยชน์ของ การทามาหากินของ ดูแลทุกขส์ ุขของ ราษฎรในเมืองหลวง แผ่นดนิ ราษฎร

อาณาจักรกรุงศรีอยุธยา นับเป็นราชธานีต้นกำเนิดของประเทศไทย ตามหลักฐานทางประวัติศาสตร์บ่งชี้ว่าได้รับการสถาปนาขึ้นราวปี พ.ศ. 1893 โดยตั้งอยู่บริเวณที่ราบลุ่มริมแม่น้ำเจ้าพระยา และแม่น้ำป่าสัก มีพระมหากษัตริย์องค์แรกผู้สร้างเมืองคือ พระเจ้าอู่ทอง หรือ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1

มีข้อสันนิษฐานว่าอยุธยาน่าจะเป็นเมืองเดิมที่เคยมีอยู่มาก่อนแล้ว ตั้งอยู่ทางตะวันออกของแม่น้ำป่าสัก บริเวณวัดพนัญเชิง เพราะเป็นวัดเก่าแก่น่าจะสร้างก่อนปี พ.ศ. 1893 เสียอีก เวลาต่อมาเกิดโรคระบาดหนักทำให้พระเจ้าอู่ทองนำผู้คนอพยพข้ามแม่น้ำป่าสัก มาก่อร่างสร้างเมืองใหม่บริเวณหนองโสน หรือบึงพระรามในปัจจุบัน และสถาปณากรุงศรีอยุธยาขึ้น ณ ที่แห่งนั้น

ความเจริญของอาณาจักรอยุธยา

กรุงศรีอยุธยาเป็นอาณาจักรยิ่งใหญ่ คงความเจริญรุ่งเรืองอยู่นานถึง 417 ปี มีพระมหากษัตริย์ทั้งสิ้น 33 พระองค์ 5 ราชวงศ์ คือ ราชวงศ์อู่ทอง ราชวงศ์สุพรรณภูมิ ราชวงศ์สุโขทัย ราชวงศ์ปราสาททอง ราชวงศ์บ้านพลูหลวง โดยตั้งแต่ช่วงอยุธยาตอนกลางเป็นต้นมาถือเป็นเมืองซึ่งมีความสำคัญทางด้านการค้าขาย การเจริญสัมพันธไมตรีกับชาติตะวันตก เป็นศูนย์กลางการเดินทางขนส่งสินค้าระหว่างตะวันออกและตะวันตก เชื่อกันว่ามีผู้คนหลากหลายสัญชาติ หลากศาสนา อาศัยอยู่ในอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาดังหลักฐานที่ปรากฎให้เห็น

นอกจากนี้การค้าขาย อาณาจักรอยุธยายังมีความเข้มแข็งด้านการสงคราม มีการขยายอาณาเขตไปตามหัวเมืองต่างๆ ทั่วสารทิศ และทำให้อาณาจักรหรือเมืองต่างๆ ที่เคยรุ่งเรืองมาก่อนหน้านี้ลดบทบาทหรือขนาดลงกลายเป็นเมืองประเทศราชขึ้นกับอยุธยา จนบอกได้ว่าอยุธยาเป็นหนึ่งในอาณาจักรยิ่งใหญ่ที่สุดแห่งหนึ่งที่เคยเกิดขึ้นในภูมิภาคนี้

อย่างไรก็ตามกรุงศรีอยุธยาเคยพ่ายแพ้สงครามใหญ่และเสียกรุงถึงสองครั้ง ครั้งแรกเกิดขึ้นเมื่อพระเจ้าบุเรงนอง แห่งราชวงศ์ตองอูของพม่า นำทัพเข้ารุกกรุงศรีเพื่อประกาศศักดาตั้งแต่เดือนตุลาคม พ.ศ. 2111 การสงครามกินเวลายาวนานหลายเดือน กระทั่งเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2112 กรุงศรีอยุธยาจึงแตกพ่าย

การเสียกรุงครั้งนั้นกินเวลายาวนานถึง 15 ปี ซึ่งเวลาดังกล่าวพระเจ้าบุเรงนอง ทรงให้สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช ขึ้นเป็นกษัตริย์ครองกรุงศรีอยุธยาในฐานะประเทศราช จนกระทั่งพระเจ้าบุเรงนองเสด็จสวรรคตเมื่อปี พ.ศ. 2524 สมเด็จพระนเรศวรมหาราช (ขณะนั้นเป็นพระมหาอุปราชแห่งอยุธยา) จึงเห็นว่าจะไม่ยอมเป็นเมืองขึ้นอีกต่อไป พระองค์ทรงทำการประกาศอิสรภาพที่เมืองแครง เมื่อปี พ.ศ. 2126 แม้หลังจากนั้นพม่าจะยกทัพมาหมายปราบอยุธยาอีกหลายครั้งแต่ก็ล้มเหลว จนปี พ.ศ. 2133 เมื่อสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชสวรรคต สมเด็จพระนเรศวรจึงขึ้นครองราชย์ สร้างให้กรุงศรีอยุธยาให้กลับมารุ่งเรืองอีกครั้ง

นับตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนเรศวรเป็นต้นมา กรุงศรีอยุธยามีสงครามภายในแย่งชิงราชบัลลังก์กันอีกหลายครั้ง มีการผลัดเปลี่ยนราชวงศ์ จากสุโขทัย เป็นราชวงศ์ปราสาททอง และราชวงศ์บ้านพลูหลวง แต่ไม่เคยพ่ายแพ้ในสงครามครั้งใหญ่อีกเลย เป็นอาณาจักรที่เจริญรุ่งเรืองทุกด้านเรื่อยมา กระทั่งถึงคราวเสียกรุงครั้งที่ 2

กษัตริย์พระองค์สุดท้าย องค์ที่ 33 ของกรุงศรีอยุธยาคือพระเจ้าเอกทัศ หรือสมเด็จพระที่นั่งสุริยาศน์อัมรินทร์ ทรงขึ้นครองราชย์เมื่อปี พ.ศ. 2301 ต่อมาในปี พ.ศ. 2308 จึงเริ่มถูกรุกรานจากพม่า พอถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2310 หลังจากถูกล้อมกรุงมาเป็นเวลานาน ทหารพม่าก็ยกพลเข้ามาภายในกรุงศรีอยุธยาสำเร็จ บ้านเมืองถูกทำลายอย่างหนัก ถือเป็นอันสิ้นสุดความยิ่งใหญ่ยาวนานกว่า 417 ปี ไว้เพียงเท่านั้น

หลังการเสียกรุงครั้งที่ 2 พระยาตากรวบรวมกำลังพลจากเมืองรอบนอกโดยเฉพาะที่จันทบูร ตราด และธนบุรี กลับมาตีกรุงศรีอยุธยาขับไล่กำลังพลพม่าออกไปสำเร็จ ทว่าด้วยสภาพเมืองเสียหายอย่างหนัก ทำให้พระยาตากเลือกที่มั่นสร้างเมืองใหม่ ปราบดาภิเษกเป็นสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช หรือ สมเด็จพระบรมราชาที่ 4 สถาปนากรุงธนบุรีขึ้นเป็นราชธานี

เมื่อสมเด็จพระเจ้าจากสินเสด็จสวรรคต พระยาจักรีจึงปราบดาภิเษกเป็นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และสถาปนากรุงเทพมหานคร ขึ้นเป็นราชธานี เมื่อปี พ.ศ. 2325 ถือเป็นการเริ่มต้นยุคกรุงรัตนโกสินทร์นั่นเอง

หลังการเข้าสู่ยุคกรุงรัตนโกสินทร์ อยุธยาหรือเมืองกรุงเก่ามีสถานะเป็นหัวเมืองจัตวา พอถึงรัชกาลที่ 4 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พ.ศ. 2438 ซึ่งมีการปรับเปลี่ยนการปกครองใหม่เป็นรูปแบบมณฑลเทศาภิบาลจึงเกิดเป็นมณฑลกรุงเก่า ประกอบด้วย อยุธยา อ่างทอง สระบุรี พระพุทธบาท ลพบุรี พรหมบุรี อินทร์บุรี และสิงห์บุรี

เมื่อเข้าสู่ยุคเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 การปกตรองแบบมณฑลถูกยกเลิก อยุธยาจึงกลายเป็นจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ปัจจุบันมีเขตการปกครอง 16 อำเภอ ถือเป็นจังหวัดสำคัญทางด้านเศรษฐกิจในภาคกลาง ขณะที่บริเวณเมืองเก่าหรือที่ตั้งเดิมของศูนย์กลางอาณาจักรกรุงศรีอยุธยาได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา