การนำ เสนอ ข้อมูลอย่างเป็น แบบ แผนที่ นิยม ใช้ มี

ซึ่งพอสรุป Tools ที่นิยมใช้ในตอนนี้ได้แก่ Tableau, Microsoft Power BI, Qlik View, Google Charts, Fusion Charts,Data wrapper และอื่นๆอีกมากมาย
การนำ เสนอ ข้อมูลอย่างเป็น แบบ แผนที่ นิยม ใช้ มี

  • รูปแบบในการใช้ Data Visualization จำแนกคร่าวๆได้ดังนี้
    1. การนำเสนอแบบทิศทางหรือแนวโน้ม (Trending)
      เราใช้กราฟที่แสดงผลแบบทิศทางหรือแนวโน้ม เพื่อนำเสนอข้อมูลให้เห็นจำนวนข้อมูลที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงเวลา (period)
      รวมถึงเน้นข้อมูลที่ต้องการนำเสนอ เช่น Line Chart, Bar Chart,Radar Chart, Area Chart เป็นต้น

      การนำ เสนอ ข้อมูลอย่างเป็น แบบ แผนที่ นิยม ใช้ มี
    2. การนำเสนอแบบกลุ่มข้อมูล (Classification)
      เป็นการนำเสนอโดยนำข้อมูลมาจัดเป็นกลุ่มๆ เช่น Donut Chart, Ring Chart, Pie Chart,  
      การนำ เสนอ ข้อมูลอย่างเป็น แบบ แผนที่ นิยม ใช้ มี
    3. การนำเสนอเชิงเปรียบเทียบข้อมูล (Comparison)
      เหมาะสำหรับการนำเสนอที่ต้องการเปรียบเทียบผลการดำเนินงาน เช่นเทียบกับปีที่แล้ว(YoY) เปรียบเทียบกับเป้าที่ตั้งไว้ (Target)
      ซึ่งกราฟที่เหมาะสมและมักนำมาใช้ 
      เช่น KPI Indicator, Bullet Chart, Power BI Card with state เป็นต้น 
      การนำ เสนอ ข้อมูลอย่างเป็น แบบ แผนที่ นิยม ใช้ มี
    4. การนำเสนอรูปแบบแผนที่ (Geographical)
      เหมาะสำหรับนำเสอข้อมูลบนแผนที่ โดยสามารถที่จะนำยอดขาย, รายได้, ความหนาแน่นของประชากร เพื่อFocus กลุ่มลูกค้าในแต่ละพื้นที่ที่เราสนใจ
      เช่น Globe Map, Google Map, Flow Map เป็นต้น

      การนำ เสนอ ข้อมูลอย่างเป็น แบบ แผนที่ นิยม ใช้ มี
    5. กลุ่มที่ต้องพยากรณ์ล่วงหน้าและการวิเคราะห์ข้อมูลที่ซับซ้อน (Analytics)
      เราสามารถที่จะใช้ภาษา R หรือ Python ดึงข้อมูลในอดีตมาเพื่อวิเคราะห์เพื่อพยากรณ์อนาคต และนำเสนอข้อมูลที่ได้ในรูปของกราฟ

                ทวีปอเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ ที่นักเรียนจะไต้ศึกษาในระดับชั้นนี้ มีสาระความรู้อยู่มาก และข้อมูลที่บันทึกอยู่ในหนังสือเรียนเป็นข้อมูลเพียงส่วนน้อย เพี่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจเรื่องที่ ศึกษามากขึ้นให้เป็นความรู้ที่ติดตัวนักเรียนต่อไปไต้ยาวนานและช่วยสร้างทักษะที่สามารถจะนำไปใช้ ประโยชน์ในชีวิตประจำวันไต้ นักเรียนจึงควรเรียนรู้วิธีการนำเสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่ผ่านการ วิเคราะห์แล้วให้เป็นสารสนเทศรูปแบบต่างๆ

                วัตถุประสงค์หลักของการนำเสนอสารสนเทศ ก็เพื่อสื่อสารให้กับผู้พบเห็นไต้รับรู้และเข้าใจข้อมูล ทางภูมิศาสตร์นั้น ๆ ซึ่งปัจจุบันนิยมนำเสนอเป็นสารสนเทศแบบต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับลักษณะของข้อมูล ที่พบเห็นไต้บ่อย มิดังนี้

      อ้างอิง

      กระมล ทองธรรมชาติและคณะ.สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม มัธยมศึกษาปีที่ 3. พิมพ์ครั้งที่ 7 . กรุงเทพ ฯ : อักษรเจริญทัศน์ .

      1) แบบแผนที่ เหมาะแก่การนำ เสนอข้อมูลทางภูมิศาสตร์ที่ต้องการจะให้เข้าใจหรือ เห็นภาพรวมของพื้นที่ ซึ่งจะเป็นประเทศ ภูมิภาค หรือทวีปก็ได้ ไม่ต้องอธิบายความมากหรือราย ละเอียดที่แสดงไม่มีความสำคัญมากนัก รวมทั้ง เหมาะกับการแสดงข้อมูลเพียง 1-2 ประเภท เพราะยิ่งใส่ข้อมูลลงไปมากก็จะยิ่งดูยาก

      การนำ เสนอ ข้อมูลอย่างเป็น แบบ แผนที่ นิยม ใช้ มี

      ตัวอย่างแผนที่ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศทวีปอเมริกาใต้ ค.ศ.2011

      2) แบบกราฟ เหมาะกับการนำเสนอข้อมูลเรื่องใดเรื่องหนึ่งทีมีการเปลี่ยนแปลงตามช่วงเวลา สามารถแสดงข้อมูลได้หลายชุดในภาพเดียวกันได้ และเหมาะกับการแสดงข้อมูลในเชิงเปรียบเทียบ หรือแสดงให้เห็นปริมาณมากน้อยเพื่อง่ายต่อการทำความเข้าใจ โดยข้อมูลที่นำมาเปรียบเทียบต้องอยู่ บนฐานเดียวกัน

      การนำ เสนอ ข้อมูลอย่างเป็น แบบ แผนที่ นิยม ใช้ มี

      ตัวอย่างกราฟการส่งออก การนำเข้า และดุลการค้าของประเทศแคนาดา ค.ศ.2001-2010

      3) แบบแผนภูมิ มีอยู่หลายรูปแบบ เช่นกัน เหมาะกับการแสดงข้อมูลเพื่อให้เข้าใจถึง ความสัมพันธ์ของสิ่งต่าง ๆ ตลอดจนแสดงข้อมูล ในเชิงเปรียบเทียบหรือแสดงให้เห็นปริมาณ สามารถ สื่อสารบอกรายละเอียดของข้อมูลได้ดีในระดับหนึ่ง

      โดยทั่วไปแบ่งเป็น 2 วิธี คือ การนำเสนอข้อมูล อย่างไม่เป็นแบบแผน และการนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน ซึ่งมีรายละเอียด ดังนี้

                1. การนำเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน การนำเสนอข้อมูลอย่างไม่เป็นแบบแผน หมายถึง การนำเสนอข้อมูลที่ไม่ต้อง ถูกกฎเกณฑ์และแบบแผนอะไรมากนัก นิยมใช้ 2 วิธี คือ

                      1.1 การนำเสนอข้อมูลในรูปข้อความ เป็นการนำเสนอข้อมูลโดยการบรรยายเกี่ยวกับข้อมูลนั้นๆ เช่น ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ประเภทอาชีวศึกษา อัตราส่วนนักเรียนต่ออาจารย์ใน ปีการศึกษา 2548 คือ 19 ต่อ 1 ในปีการศึกษา 2549 อัตราส่วน คือ 21 ต่อ 1 และในปีการศึกษา 2550 อัตราส่วน คือ 22 ต่อ 1 จะเห็นได้ว่า อัตราส่วนของนักเรียนต่ออาจารย์ มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างเห็นไต้ชัด

                      1.2 การนำเสนอข้อมูลในรูปข้อความกึ่งตาราง เป็นการนำเสนอข้อมูลโดยการแยกข้อความและตัวเลขออกจากกัน เพื่อให้เปรียบเทียบความแตกต่างของข้อมูลไต้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น จากการสำรวจตลาดสดแห่งหนึ่ง ผลไม้บางชนิดขายในราคา ต่อไปนี้

                                            ส้มเขียวหวาน    กิโลกรัมละ       35 บาท

                                            ชมพู่               กิโลกรัมละ       25 บาท

                                            มะม่วง            กิโลกรัมละ       40 บาท

                                            สับปะรด         กิโลกรัมละ       25 บาท

                                            เงาะ               กิโลกรัมละ       15 บาท

                                            มังคุด              กิโลกรัมละ       25 บาท


                 2. การนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน

      การนำเสนอข้อมูลอย่างเป็นแบบแผน เป็นการนำเสนอที่จะต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ ที่ไต้กำหนดไว้เป็นมาตรฐาน ตัวอย่างการนำเสนอแบบนี้เช่น การนำเสนอในรูปตาราง กราฟ และ แผนภูมิ เป็นต้น

                      2.1 การนำเสนอในรูปตาราง (Tabular Presentation) ข้อมูลต่าง ๆ ที่เก็บรวบรวมมาได้ เมื่อทำการประมวลผลแล้วจะอยู่ในรูปตาราง ส่วนการนำเสนออย่างอื่นเป็นการนำเสนอโดยใช้ข้อมูล จากตาราง จำนวนข้าราชการ ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง มี 22 คน จำแนกตามคุณวุฒิสูงสุด ดังนี้


      คุณวุฒิสูงสุด

      จำนวนข้าราชการ

      ปริญญาเอก

      ปริญญาโท

      ปริญญาตรี

      ต่ำกว่าปริญญาตรี

      1

      16

      5

      0

      รวม

      22


                      2.2 การนำเสนอด้วยกราฟเส้น (Line graph) เป็นแบบที่รู้จักกันดีและใช้กันมากที่สุด แบบหนึ่ง เหมาะสำหรับข้อมูลที่อยู่ในรูปของอนุกรมเวลา เช่น ราคาข้าวเปลือกในเดือนต่าง ๆ ปริมาณ สินค้าส่งออกรายปี ราคาผลไม้แต่ละปี เป็นต้น ราคาขายปลีก ลองกองที่ตลาดกลางผลไม้ตำบลตะพง 5 ปี มีดังนี้


      ปี พ.ศ.

      2548

      2549

      2550

      2551

      2552

      ราคา(บาท): กิโลกรัม

      120.-

      95.-

      80.-

      65.-

      40.-

       สามารถนำเสนอแนวโน้มของราคาขายปลีกลองกอง 5 ปี ด้วยกราฟเส้นได้ดังนี้

      การนำ เสนอ ข้อมูลอย่างเป็น แบบ แผนที่ นิยม ใช้ มี

       

                      2.3 การนำเสนอด้วยแผนภูมิแท่ง (Bar Chart) ประกอบด้วยรูปแท่งสี่เหลี่ยมผืนผ้า ซึ่งแต่ละแท่ง มีความหนาเท่าๆ กัน โดยจะวางตามแนวตั้งหรือแนวนอนของแกนพิกัดฉากก็ได้


                ตัวอย่าง นักศึกษา กศน. ระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น ในภาคตะวันออกที่สอบผ่านในหมวด วิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และพัฒนาสังคมและชุมชน

      การนำ เสนอ ข้อมูลอย่างเป็น แบบ แผนที่ นิยม ใช้ มี

              ตัวอย่าง จำนวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ในจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง แบ่งตามระดับการศึกษา


      การนำ เสนอ ข้อมูลอย่างเป็น แบบ แผนที่ นิยม ใช้ มี

                                                                                        

              2.4 การนำเสนอด้วยรูปแผนภูมิวงกลม (Pie Chart) เป็นการแบ่งวงกลมออกเป็นส่วนต่างๆ ตามตัวอย่างแผนภูมิแสดงผลการสอบของนักศึกษาที่สอบผ่าน จำแนกตามหมวดวิชา