กฎ ความ ปลอดภัย ใน การ ทํา งาน

จำนวนผู้ชม : 20,007


ทำงานกับเครื่องจักรอย่างปลอดภัย
👉กฎ 10 ข้อที่ต้องปฏิบัติ

1. ห้ามใช้เครื่องจักรโดยไม่มีหน้าที่หรือได้รับการอบรมมาก่อน
2. ใช้เครื่องจักรอย่างระมัดระวัง ปฏิบัติตามคู่มือ หรือขั้นตอนที่กำหนดเสมอ 
3. อย่าถอดอุปกรณ์นิรภัยหรือที่ครอบป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรออกเด็ดขาด
4. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายที่เหมาะสมกับงาน
5. ระวังอย่าให้มือหรือส่วนใดของร่างกายเข้าใกล้จุดหมุน จุดหนีบ หรือส่วนที่เคลื่อนไหวของเครื่องจักร
6. ขณะเครื่องจักรกำลังทำงาน อย่าปรับแต่ง ทำความสะอาด หรือ พยายามดึงชิ้นงานที่ติดขัดโดยไม่หยุดเครื่องจักรก่อน
7. สวมใส่เสื้อผ้าที่กระชับ ไม่ควรสวมใส่เครื่องประดับที่อาจถูกเครื่องจักรหนีบหรือดึงได้
8. ขณะทำการตรวจสอบ แก้ไข หรือซ่อมแซมเครื่องจักร ให้แขวนป้ายเตือนและใส่กุญแจล็อค (Log out, Tag Out) ตลอดเวลา
9. ก่อนปฏิบัติงาน ต้องตรวจสอบสภาพเครื่องจักรให้อยู่ในสภาพดีเสมอ
10. หากพบเครื่องจักร อุปกรณ์นิรภัย หรือที่ครอบป้องกันอันตรายจากเครื่องจักรชำรุดหรือสูญหายไป ให้รีบแจ้งหัวหน้างานทันที..

=====================
ข้อมูล: shawpat

กฎ ความ ปลอดภัย ใน การ ทํา งาน


( �Ҿ���Ǩҡ �.�.�. ��Թ���� ��Ѻ�ѹ��� 17 ��.�. 45 )

������ʹ���㹡�÷ӧҹ��ҧ

�غѵ��˵� ���˵ء�ó����Դ�����ء����� �·��������Ҵ�Դ�ҡ�͹ ���ҧ���������������� ��ҹ ���˵ء�ó������֧���ʧ�� ����������ö��ͧ�ѹ�� �ҡ�����������Ѵ���ѧ ������ҷ ������ҵá�û�ͧ�ѹ���ҧ�١�Ը�

���˵آͧ����Դ�غѵ��˵� ��ػ��ѧ���

1. �Դ�ҡ��Ǻؤ�� ����Դ�ҡ�������ͧ����ҷ �آ�Ҿ��ҧ������վ�������л�Ժѵԧҹ ��������դ����������ǡѺ����ͧ��� �վ� ���
2. �Դ�ҡ����ͧ��ͪ��ش ����ͧ�������Ҿ�������������ҹ �դس�Ҿ��� ���
3. �Դ�ҡ�к���÷ӧҹ �Ҥ��ʶҹ��� ����ҧἹ��鹵͹��û�Ժѵԧҹ���� �� �����ʧ���ҧ�����§�� �ҡ��������� �س������٧�Թ� ���

�š�з��ҡ����Դ�غѵ��˵�

1. ���ҧ�����٭���µ�ͷ�Ѿ���Թ �� ö¹�쪹�ѹ ���ҧ����������¤�� ö¹��ѧ �����٭���·�Ѿ���Թ�����Թ���¤�������������������
2. ��ҧ������Ѻ�Ҵ�� �٭���������� �����ҡ�ع�ç�Ҩ�٭���ª��Ե㹷���ش
3. ���ҧ�������������ª������§ �������Ѻ㹷ҧ��áԨ �� ����ѷö�������ѡ�Դ�غѵ��˵غ��� � �١��Ҽ�����ԡ���Ҩ���ԡ�âͧ����ѷ��������᷹ ����������ͧ����ѷŴ����ŧ

��������ʹ���
�繢�ͺѧ�Ѻ���͢�ͤ�����Ѵ���ѧ����˹���� �����繡�û�ͧ�ѹ�������غѵ��˵��Դ����� ����Ҩ��ᵡ��ҧ�ѹ仢������Ѻ�ѡɳС�÷ӧҹ������Ң��Ҫվ��ҧ 㹷����С���Ƕ֧��������ʹ��·��� ���繵�����ҧ

1. �觡������Ѵ���
2. �������͡��͡ѹ㹢�л�Ժѵԧҹ
3. ����ô����ͧ�ֹ���㹢�л�Ժѵԧҹ
4. ��õ�Ǩ��Ҿ����ͧ��͡�͹�����ҹ
5. ��û�Ժѵԧҹ�ʶҹ��������ʧ���ҧ��§�� ����ҡ�ȶ�����дǡ
6. ����֡���к���÷ӧҹ�ͧ����ͧ�ѡ� ��Դ��� � ������㨡�͹��Ժѵԧҹ
7. �ҡ����ͧ�ѡê��ش �����¹���º͡�ӡѺ���
8. ��������ǡ������㹡�û�Ժѵԧҹ������ҧ
9. �ҡ����ѹˡŧ��鹤�÷Ӥ������Ҵ�ѹ��
10.����ͧ�ѡ÷���ա�÷ӧҹ����͹��� ���¤��������٧ ������ػ�ó�����»�ͧ�ѹ


ความปลอดภัยในการทำงาน หมายถึง ความปลอดภัยและสุขภาพอนามัยที่ดีในการทำงานของผู้ประกอบอาชีพ

ความปลอดภัย เป็นสิ่งที่เราควรจะเกิดขึ้นภายในชีวิตประจำวันของเรา เพราะการใช้ชีวิตประจำวันของเรา ย่อมต้องพบกับความเสี่ยงมากมายจากหลาย ๆ ปัจจัย ซึ่งถ้าหากเราประมาทเพียงนิดเดียว ก็ทำให้เราต้องพบกับความอันตรายถึงแก่ชีวิตได้เลยนั่นเอง เพราะฉะนั้นเพื่อทำให้เรื่องแบบนั้นเกิดขึ้นได้น้อย จึงทำให้ความปลอดภัยกลายเป็นสิ่งที่เราควรจะตระหนักเอาไว้ในทุก ๆ วันที่เรายังใช้ชีวิตอยู่ ซึ่งความปลอดภัยนี้ก็ได้ถูกบัญญัติอยู่กฎหมาย เพื่อให้การคุ้มครองแก่ทุก ๆ คนอย่างเท่าเทียม และยังช่วยเหลือในกรณีที่เกิดอุบัติเหตุอีกด้วย และหนึ่งในความปลอดภัยที่เป็นที่พูดถึงนั้น นั่นก็คือ ความปลอดภัยในการทำงาน

ไม่ว่าจะเป็นข้าราชการหรือเอกชน ล้วนแล้วแต่จะต้องได้รับความปลอดภัยทั้งสิ้น และควรจะเป็นสิ่งที่จำเป็นที่จะต้องตระหนักและพึงระลึกถึงตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน เพราะเมื่อใดที่เกิดอุบัติเหตุขึ้นก็ย่อมทำให้เกิดความสูญเสียทั้งทรัพย์สินและชีวิตเลยทีเดียว

ก่อนที่เราจะมาทำความรู้จักกับความปลอดภัยในการทำงานนั้นเราควรที่จะมารู้ถึงสาเหตุของอุบัติเหตุก่อนเพื่อที่จะได้เข้าใจถึงวิธีการป้องกันอุบัติเหตุในภายหลังโดยสาเหตุของอุบัติเหตุสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทนั่นก็คือ

สาเหตุจากการกระทําที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่

  • การกระทําไม่ถูกวิธีหรือไม่ถูกขั้นตอน
  • ความประมาท 
  • การมีนิสัยชอบเสี่ยง
  • การไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบความปลอดภัยในการทํางาน
  • การทํางานโดยไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล
  • การแต่งกายไม่เหมาะสม
  • การทํางานโดยสภาพร่างกายและจิตใจไม่ปกติ 

สาเหตุจากสภาพการณ์ที่ไม่ปลอดภัย ได้แก่

      • ส่วนที่มีความเสี่ยงไม่มีอุปกรณ์ป้องกันอันตราย
      • การวางผังไม่ถูกต้อง รวมถึงการวางสิ่งของไม่เป็นระเบียบ
      • พื้นของโรงงานขรุขระ และยังมีเศษวัสดุ น้ำมัน น้ำบนพื้น
      • สภาพการทํางานไม่ปลอดภัย เช่น เสียงดัง อากาศร้อน ฝุ่นละออง
      • เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ชํารุด
      • ระบบไฟฟ้า อุปกรณ์ไฟฟ้าชํารุด

ดังนั้นแล้ว เพื่อที่จะป้องกันอุบัติเหตุเหล่านี้ เราจึงควรที่จะรู้วิธีการป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อป้องกันการเกิดอุบัติเหตุ โดยแบ่งออกเป็น 3 สถานการณ์ ดังนี้

1. การป้องกันก่อนเกิดอุบัติเหตุ

หลักการ 5 ส.  ได้แก่

      • สะสาง หมายถึงการแยกแยะงานดี-งานเสีย
      • สะดวก หมายถึงการจัดการให้เป็นระเบียบเป็นหมวดหมู่
      • สะอาด หมายถึงการทำความสะอาดเครื่องมือ สถานที่ ทั้งก่อนและหลังการใช้งาน
      • สุขลักษณะ หมายถึง การที่จะต้องรักษาสุขอนามัยของตัวเอง เครื่องมือ และสถานที่
      • สร้างนิสัย หมายถึง การสร้างนิสัยที่ดีเพื่อสร้างความปลอดภัยในสถานที่

กฎ 5 รู้

      • รู้ ว่างานที่ปฏิบัติว่ามีอันตรายอย่างไร และมีขั้นตอนการทำงานอย่างไรบ้าง
      • รู้ ว่าควรเลือกใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์ อย่างไร
      • รู้ เรื่องเกี่ยวกับวิธีการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
      • รู้ ถึงข้อจำกัดการใช้เครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
      • รู้ วิธีการบำรุงรักษาเครื่องมือ เครื่องจักร อุปกรณ์

2. การป้องกันขณะเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งจะมีสิ่งที่ควรรู้หรือหลักการ ดังนี้

การรู้จักการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลเพื่อป้องกันอวัยวะของร่างกาย ดังนี้

        • หมวกนิรภัย
        • อุปกรณ์ป้องกันใบหน้า ดวงตา
        • อุปกรณ์ลดเสียง ป้องกันหู
        • อุปกรณ์ป้องกันระบบหายใจ
        • อุปกรณ์ป้องกันร่างกาย แขนขา
        • อุปกรณ์ป้องกันมือ
        • อุปกรณ์ป้องกันเท้า

การปฏิบัติงานโดยใช้การ์ดเครื่องจักร ซึ่งจะมีดังนี้

  • การ์ดเครื่องกลึง
  • การ์ดเครื่องเจียระไน
  • การ์ดปิดส่วนที่หมุนของเครื่องจักร เช่น ฟันเฟือง

3. ป้องกันหลังการเกิดอุบัติเหตุ เพื่อไม่ให้เกิดอุบัติเหตุเกิดขึ้นอีก ซึ่งมีวิธีการดังนี้

  • การอพยพ หลังการเกิดอุบัติเหตุ ซึ่งควรมีการวางแผนการอพยพเอาไว้ก่อน หรือควรรู้จักวิธีการขนย้ายผู้ป่วยอย่างถูกวิธี
  • การปฐมพยาบาลเบื้องต้น เพื่อลดอันตรายให้น้อยลง
  • การสำรวจความเสียหายภายหลังจากเกิดอุบัติเหตุ

นอกจากนี้ สิ่งที่เราควรจะรู้ก็คือ ปัจจัยที่ต้องพิจารณาในการรักษาความปลอดภัยในการทำงาน อันประกอบไปด้วย

1. เครื่องแต่งกาย และแบบฟอร์มที่เหมาะสมของผู้ปฏิบัติงาน โดยจะมีการตรวจสอบว่ามีความถูกต้องเหมาะสมเพียงใด

2. อาคารโรงงาน พิจารณาในด้านวัสดุที่ใช้ก่อสร้างอาคารมีความทนไฟหรือการผุกร่อนและมีอายุงานเท่าใด เป็นต้น

3. เครื่องมือเครื่องจักรกล มีการป้องกันอันตรายไว้เพียงใด 

4. การทำความสะอาดให้เรียบร้อย รวมถึงตรวจสอบสภาพความพร้อมอีกด้วย 

5. แสงสว่างภายในโรงงาน ที่จำเป็นจะต้องพิจารณาในด้านตำแหน่งที่ตั้งที่เหมาะสมของระบบโครมไฟฟ้า 

6. การระบายอากาศ โดยการพิจารณาการหมุนเวียนของอากาศที่เข้าออกจากบริเวณทำงาน รวมทั้งคุณภาพของอากาศด้วย 

7. ระบบการจัดเก็บและการดูแลควบคุมวัสดุ ซึ่งจะพิจารณาว่ามีแยกประเภทของวัสดุออกตามประเภทหรือไม่ 

8. ระบบฉุกเฉิน อาทิ การปฐมพยาบาล การดับเพลิง ทางหนีไฟ ทางออกฉุกเฉิน เครื่องช่วยชีวิต เป็นต้น

ดังนั้นแล้ว ความปลอดภัยในการทำงาน จึงเป็นหนึ่งในสิ่งที่เราควรจะตระหนักเอาไว้อย่างยิ่ง เพราะถือว่าเป็นสิ่งที่จะช่วยทำให้ผู้ปฏิบัติงานปลอดภัยจากอุบัติเหตุที่ร้ายแรงถึงชีวิต รวมไปถึงสิ่งของมากมายที่อยู่ในสถานที่แห่งนั้น ซึ่งจะช่วยทำให้ความเสียหายเกิดขึ้นน้อยลง โดยจะสามารถแบ่งความปลอดภัยในการทำงานได้เป็น 3 สถานการณ์ โดยเริ่มจาก ก่อน ระหว่าง และหลังการเกิดอุบัติเหตุแล้ว ซึ่งทั้งสามสถานการณ์นี้ ล้วนแล้วแต่มีวิธีการที่จะช่วยหยุดการเกิดอุบัติเหตุขึ้นมาได้ทั้งนั้น และที่ขาดไม่ได้ก็คืออุปกรณ์ในการป้องกันหรือช่วยชีวิต โดยในอุปกรณ์ช่วยชีวิตจะสามารถช่วยเหลือผู้คนที่ได้รับผลกระทบในยามที่เกิดอุบัติเหตุนั้นได้ทันท่วงที หรือจะเป็นอุปกรณ์นิรภัยที่จะช่วยทำให้เราสามารถทำงานได้อย่างปลอดภัย แม้ว่าเราจะต้องทำงานอยู่ในที่สูง หรือมีระดับความเสี่ยงอย่างมากเพียงใดก็ตาม ดังนั้นแล้ว ความปลอดภัยในการทำงาน จึงเป็นสิ่งที่มีคุณค่าอย่างยิ่งในการประกอบอาชีพทุก ๆ อาชีพนั่นเอง