รายงานผลการนิเทศการศึกษา ศึกษานิเทศก์

รายงานผลการนิเทศ ตดิ ตาม

แ ล ะ ป ร ะ เ มิ น ผ ล ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า

ประจาปีงบประมาณ

๒๕๖๔

กลมุ่ นเิ ทศ ติดตาม
และประเมินผลการจดั การศกึ ษา

สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

สานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธิการ

เอกสารลาดบั ที่ ๓๖/๒๕๖๔

คำนำ

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ได้จัดทำรายงานผลการนิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผลการจัดการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 ขึ้นเพื่อให้สอดคล้องกับแผนนิเทศ
การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรายงานผลการนิเทศติดตาม ตาม
โครงการนิเทศ กำกบั ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาระนอง ประจำปีงบประมาณ 2564 และเพื่อรายงานผลการประเมินความ
พึงพอใจของผู้รับการนิเทศ ที่มีต่อโครงการนิเทศ กำกับ ติดตามและประเมินผลการจัดการศกึ ษาของ
โรงเรียนในสงั กัด สำนักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาระนอง ประจำปีงบประมาณ 2564

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา ได้ดำเนินการนิเทศ ติดตาม ตามขอบข่าย
การนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย 1. งานนิเทศพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
และยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. งานนิเทศตามภารกิจ 3. งานนิเทศการศึกษานโยบาย
โดยเก็บข้อมูลจากโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง จำนวน
77 โรงเรยี น 1 สาขา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง หวังว่า รายงานผลการนิเทศ ติดตาม และ
ประเมินผลการจัดการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564 ครั้งนี้ ผู้เกี่ยวข้องจะนำผลไปใช้ในการ
พฒั นาการบริหารและการจัดการศึกษาให้มปี ระสิทธิภาพ และส่งผลตอ่ คณุ ภาพผเู้ รียนตอ่ ไป

กลมุ่ นเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา
สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

สารบญั หน้า

คำนำ ข
สารบญั 1
สว่ นท่ี ๑ บทนำ 1
2
ความเป็นมาและความสำคญั 2
วตั ถปุ ระสงค์ 2
กลมุ่ เป้าหมาย 3
ขอบข่ายการนิเทศเพ่อื พฒั นาคุณภาพการศึกษา 3
นยิ ามศพั ทเ์ ฉพาะ 4
ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะได้รบั 4
สว่ นท่ี ๒ วิธกี ารดำเนนิ งาน 5
การวางแผน 12
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู
การตรวจสอบความสมบูรณ์และความถูกต้องของผลการนิเทศ ตดิ ตาม และ 13
ประเมนิ ผลการจัดการศึกษา 14
การวเิ คราะหแ์ ละสรปุ รายงานผล 38
ส่วนที่ ๓ ผลการดำเนินงาน 34
สว่ นที่ ๔ สรปุ ผลการนิเทศ และขอ้ เสนอแนะ 40
สรุปผลการนิเทศ 42
ข้อเสนอแนะ
ผู้จดั ทำ

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

1

ส่วนที่ 1
บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญ
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกฝ่าย

ทั้งในระดับนโยบายและระดับปฏิบัติการที่เกี่ยวกับกระบวนการบริหารจัดการ การจัดการเรียน
การสอน และการนิเทศการศึกษาอันจะทำให้การดำเนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษาดำเนินไปได้
อย่างมีประสิทธิภาพ การนิเทศการศึกษามีความสำคัญต่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ซึ่งเป็น
กระบวนการที่มุ่งส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนามาตรฐานการศึกษา หลักการสำคัญของการนิเทศ
การศึกษาต้องอยู่บนพื้นฐานทางวิชาการ มีจุดมุ่งหมายชัดเจน เป็นประชาธิปไตย รับฟังความคิดเห็น
ของผู้อื่น รวมทั้งการให้ขวัญและกำลังใจแก่ผู้ปฏิบัติงาน การนิเทศการศึกษาจำเป็นต้องปรับเปลี่ยน
บทบาทของผู้นิเทศให้เหมาะสมกับสภาพการจดั การศึกษาในปจั จุบัน ด้วยการทำงานร่วมกันระหว่าง
ผู้นิเทศกับผู้รับการนิเทศ เพื่อให้ประสบความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ซึ่งผู้นิเทศจะเกี่ยวข้องโดยตรง
กับการพัฒนาครใู นการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนใหน้ ักเรียนมีคุณภาพ

บทบาทและภาระหน้าที่ของศึกษานิเทศก์ คือ การพัฒนาครูและสถานศึกษาให้เกิดการ
ขับเคลื่อนกิจกรรมต่าง ๆ ให้บรรลุเป้าหมายตามนโยบายของหนว่ ยงานต้นสังกัด ซึ่งจะทำให้คุณภาพ
ผู้เรียนและคุณภาพการศึกษาโดยภาพรวมเกิดการเปลี่ยนแปลงในทางทีด่ ีขึ้น ทั้งในพื้นที่ ที่ปัจจัยเอ้ือ
และปัจจัยสนับสนุนที่ดีในภาวะปกติ หรือในพื้นที่ที่ขาดแคลนและมีความแตกต่างกัน เช่น บางพื้นท่ี
อาจอยู่ในภาวะที่ขาดแคลนศึกษานิเทศก์ และคุณภาพการศึกษาอยู่ในภาวะที่ตกต่ำมาก มูลเหตุ
เหล่านี้เป็นปัจจัยกระตุ้นทั้งเชิงบวกและเชิงลบที่จะนำมาซึ่งโอกาสที่ศึกษานิเทศก์จะได้ปฏิบัติหน้าท่ี
เต็มตามสมรรถนะหลัก และสมรรถนะประจำสายงานได้อย่างเต็มศักยภาพ โดยศึกษานิเทศก์จะเกิด
แรงบันดาลใจผลิตและสร้างสรรค์นวัตกรรมการนิเทศใหม่ๆ สำหรับใช้ในการนิเทศ มุ่งมั่นพัฒนา
คุณภาพงานเพื่อคุณภาพการศึกษาอย่างจริงจังเป็นระบบ เกิดผลต่อครูและสถานศึกษาอย่างเป็น
รปู ธรรม นับเป็นผลงานแหง่ ความภาคภูมิใจทส่ี ร้างสรรค์มาแก้ไขปัญหาอยา่ งแทจ้ ริง พร้อมท้ังส่งเสริม
และประสานให้เกิดความร่วมมือในการแก้ปัญหาการพัฒนาคุณภาพและการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นใหส้ งู ขึ้น รวมท้ังการสร้างความเปน็ เลศิ สูส่ ากล

การนิเทศ เน้นกระบวนการนิเทศที่เป็นระบบและมีความต่อเนื่อง สร้างทีมและเครือข่าย
การนเิ ทศให้เกดิ พลังและพัฒนาศกั ยภาพผนู้ ิเทศอยเู่ สมอ ใหพ้ รอ้ มในการพฒั นางานในทุกสถานการณ์
โดยมุ่งให้ผู้รับการนิเทศรู้จักคิดค้นวิธีการทำงานด้วยตนเอง มีความสามารถในการนำตนเอง และ
สามารถตัดสินปัญหาของตนเองได้ สร้างบรรยากาศที่เป็นกันเอง กระตุ้น ยั่วยุ และสร้างความเข้าใจ
อันดีต่อกันและทำให้ผู้รับการนิเทศค้นพบวิธีการทำงานที่ดีกว่า เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เป็นการ
ส่งเสริมและสร้างสรรค์ และวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้กระบวนการนิเทศไปขับเคลื่อนนโยบาย
กระทรวงศึกษาธิการและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานสู่การปฏิรูปการศึกษาใน
ทศวรรษที่สอง และการดำเนินงานของโรงเรียนให้สามารถบริหารจดั การได้อย่างมีประสิทธิภาพและ
เพิ่มคุณภาพการจัดการเรียนการสอน และเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน โดยใช้

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

2

กระบวนการนิเทศเป็นกลไกขับเคล่ือนส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินงานของโรงเรยี นใหส้ ามารถบริหาร
จัดการและเพิ่มคุณภาพการจัดการเรียนการสอน พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานหลักสูตร
และทักษะพนื้ ฐานสำหรับการดำรงชวี ติ ให้อยรู่ อดปลอดภยั ในสังคมโลก รวมท้ังร่วมขับเคลือ่ นนโยบาย
กระทรวงศกึ ษาธิการและจุดเนน้ ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐานให้ประสบผลสำเร็จ

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาระนอง เปน็ หนว่ ยงานทม่ี บี ทบาทสำคัญอย่างย่ิงใน
การส่งเสริมและพัฒนาไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาด้วย
วิธกี ารที่หลากหลาย และข้อมลู ท่ีดีและเพียงพอ เป็นส่งิ หน่งึ ทีก่ ำหนดรูปแบบ วิธกี าร ให้เหมาะสมกับ
นักเรียน ครู และโรงเรียน การนิเทศ กำกับ ติดตามการดำเนินงานเพื่อสนับสนุนส่งเสริมระบบ
การบริหารจัดการ การจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ การสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน
การออกแบบการเรียนรูท้ ี่เน้นกระบวนการสร้างความรู้จากการลงมือปฏิบัติ ตลอดจนสือ่ และอุปกรณ์
ที่จำเป็นในการจัดการเรียนการสอนโดยใช้เทคโนโลยีทางไกลให้สามารถดำเนินการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการดำเนินการนิเทศการศึกษาทุกระดับ รวมถึงการ
นำเอาเทคโนโลยีการสอื่ สารมาใช้เปน็ เครอ่ื งมือในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู และรายงานผลการนเิ ทศ

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่อื รายงานผลการนิเทศติดตาม ตามโครงการนเิ ทศ กำกบั ตดิ ตามและประเมินผลการจัด

การศึกษาของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ประจำปี
งบประมาณ 2564

2. เพื่อรายงานผลการประเมินความพึงพอใจของผูร้ ับการนิเทศ ที่มีต่อโครงการนิเทศ กำกับ
ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาของโรงเรียนในสังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาระนอง ประจำปงี บประมาณ 2564

กลุ่มเป้าหมาย
โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง จำนวน 77 โรงเรียน

1 สาขา

ขอบขา่ ยการนเิ ทศเพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา
1. งานนเิ ทศพัฒนาการจัดการเรยี นการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
กลุม่ สาระการเรยี นรู้ 8 กลมุ่ สาระ
2. งานนิเทศตามภารกจิ
๒.1. พฒั นาหลกั สตู รและกระบวนการจัดการเรียนรู้
1) การพฒั นาหลกั สตู ร
๒) การจดั การศกึ ษาปฐมวยั
๓) การจดั การศกึ ษาพเิ ศษเรียนรวม
๒.2 พัฒนาระบบประกนั คุณภาพการศึกษา

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

3

๒.3 พัฒนาระบบการวดั และประเมนิ ผลการศึกษา
๒.4 พัฒนาสื่อและนวตั กรรมการศกึ ษา
3. งานนเิ ทศการศกึ ษานโยบาย
๓.๑ การอา่ นออกเขยี นได้
๓.๒ การจดั การเรยี นการสอนโดยใชส้ ือ่ ทางไกลผา่ นดาวเทยี ม (DLTV) ในโรงเรยี น

ขนาดเลก็
๓.๓ การจัดการเรยี นการสอนโดยใช้สอ่ื (DLIT)
๓.๔ การจัดการเรียนการสอน Active Learning
๓.๕ การขับเคลือ่ นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๓.๖ การพฒั นาทกั ษะผูเ้ รยี นในศตวรรษที่ 21
๓.๗ การยกระดบั ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน NT และ O-NET
๓.8 การจัดการเรยี นการสอนท่ีส่งเสริมงานอาชพี
๓.9 ติดตามผลการดำเนินงานโครงการอื่น ๆ แบบบูรณาการ ได้แก่ สถานศึกษา
พอเพียง โรงเรียนสุจริต โรงเรียนดีประจำตำบล โรงเรียนวิถีพุทธ โรงเรียนในฝัน โรงเรียน
มาตรฐานสากล โรงเรยี นแกนนำการศึกษาภาคบังคับ

นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะ
1. การนิเทศ กำกบั ติดตาม หมายถงึ การใหค้ ำแนะนำ ช่วยเหลือ ชแี้ นะ เพือ่ แก้ไขปรับปรุง

พัฒนาการบริหารจัดการศึกษาของโรงเรียน ส่งผลใหน้ ักเรียนมีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา
2. ผู้รับการนิเทศ หมายถึง โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

ระนอง จำนวน 78 โรงเรียน 1 สาขา
3. ภารกิจงานตามนโยบาย กลยุทธ์และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการสำนักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง
หมายถึง การดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง โดยยึดแนวทาง
การปฏิบัติตามนโนบาย กลยุทธ์และจุดเน้นของกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน

ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ
1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนองมีข้อมูลสารสนเทศ เพื่อใช้เป็นข้อมูล

ประกอบการวางแผน พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุนสถานศึกษา และสามารถจัดการศึกษาใ ห้กับ
ผู้เรียนไดอ้ ย่างทั่วถึงและมีคุณภาพ รวมทั้งมขี ้อมูลในการรายงานผลการดำเนินงานการนิเทศ ติดตาม
และประเมินผลการจดั การศึกษา ปีงบประมาณ 2564

2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง มีข้อมูลสารสนเทศ เพื่อนำไปใช้ในการ
วางแผนการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษา พัฒนา ส่งเสริม และสนับสนุน
สถานศกึ ษาไดอ้ ย่างมปี ระสิทธิภาพ

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

4

สว่ นท่ี 2
วธิ กี ารดำเนินงาน

การนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน
เขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง ประจำปงี บประมาณ 2564 มีขั้นตอนดำเนินงาน ดังนี้

1. การวางแผน
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง กำหนดกระบวนการการนิเทศโดยยึด

เครือข่ายเป็นฐาน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ จึงกำหนด
แนวทางการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์ที่เป็นระบบ และวิธีการนิเทศ โดยใช้กระบวนการนิเทศ
ติดตาม 5 ขนั้ ตอน ของสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน ประกอบดว้ ย

ข้ันที่ ๑ การศึกษาสภาพปัจจุบันปัญหาและความต้องการ
๑.1 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศพื้นฐาน เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาการ

ดำเนินงาน
๑.๒ การนำข้อมูลสารสนเทศพื้นฐานมาวเิ คราะห์ เพอื่ กำหนดสภาพปัญหาและความ

ต้องการในการนิเทศ ติดตาม
๑.๓ การสร้างการรับรู้ระหว่างผู้นิเทศติดตามและผู้รับนิเทศ ติดตาม โดยประกาศ

เป็นนโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
๑.๔ ระดมความคิดเพื่อกำหนดกลุ่มพื้นที่ เป้าหมาย จุดเน้นและกระบวนการนิเทศ

ตดิ ตาม
ขนั้ ท่ี ๒ การวางแผนการนิเทศ ตดิ ตาม
๒.๑ กำหนดวธิ กี ารนเิ ทศ ติดตาม
๒.๒ วางแผนนเิ ทศ ติดตาม
๑) การประชุมเตรียมการนิทศ ติดตามเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจร่วมกัน

ของคณะกรรมการในแต่ละระดับ เช่น คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษาขั้น
พื้นฐานประจำเขตตรวจราชการ คณะกรรมการระดับเขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการระดับ
โรงเรยี น เปน็ ต้น

๒) กำหนดคณะทีมนิเทศ ติดตามในแต่ละระดับ เช่น ทีมนิเทศ ติดตาม
ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่งตั้งผู้ชำนาญการการบริหารการศึกษาข้ัน
พื้นฐานประจำเขตตรวจราชการ (Custer) ทีมนิเทศ ติดตามระดับเขตพื้นที่การศึกษา ทีมนิเทศ
ติดตามภายในโรงเรียน เป็นตน้

๓) กำหนดระยะเวลาในการนิเทศ ตดิ ตาม ตามปฏทิ ินการปฏบิ ัตงิ าน
ขนั้ ที่ ๓ การสร้างส่อื และเครื่องมือนิเทศ ตดิ ตาม

๓.1 จดั ทำแนวทางการขับเคล่ือนการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
๓.๒ สรา้ งส่อื และเครื่องมอื การนิเทศ ติดตาม

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

5

ขั้นท่ี ๔ การปฏิบัตกิ ารนเิ ทศ ติดตาม
๔.๑ ประชุมเตรียมการก่อนการนิเทศ ติดตาม เพื่อสร้างความเข้าใจของ

คณะกรรมการขบั เคล่อื นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาขน้ั พืน้ ฐานประจำเขตตรวจราชการ
๔.๒ นิเทศ ตดิ ตาม ตามปฏทิ ินการปฏิบัตงิ านของสำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษา
๔.3 การสะทอ้ นผลการนิเทศติดตาม โดยรว่ มกนั พิจารณาข้อมลู และการสะท้อนผล

การดำเนินงานของสำนกั งานพนื้ ท่ีการศกึ ษา โรงเรียนตามประเดน็ ของการนิเทศติดตาม
ขัน้ ท่ี ๕ สรปุ และรายงานผล
สรุปและรายงานผลกรดำเนินงาน จากแบบบันทึก และแบบสรุปผลการนิเทศ

ตดิ ตามการพฒั นาคุณภาพการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน ระดบั เขตตรวจราชการ

2. การเก็บรวบรวมข้อมลู
การนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงาน

เขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาระนอง มรี ายละเอียดการดำเนนิ งาน ดังน้ี
2.1 กล่มุ เป้าหมาย ประกอบดว้ ย
กลุม่ เครือขา่ ยการจดั การศึกษา 8 เครอื ข่าย
สถานศกึ ษา จำนวน 77 โรงเรียน 1 สาขา
- โรงเรยี นขนาดเล็ก 33 โรงเรยี น
- โรงเรียนขนาดกลาง 40 โรงเรยี น
- โรงเรียนขนาดใหญ่ 5 โรงเรียน

ตารางที่ 1 แสดงกลุ่มเป้าหมายผู้รบั การนิเทศและคณะกรรมการนิเทศ ติดตาม

เครอื ข่าย ท่ีตั้ง สถานศึกษา ศกึ ษานิเทศก์ คณะอ.ก.ต.ป.น.
การจัดการศกึ ษา ประจำเครอื ข่าย
1. ผอ.สพป.ระนอง
1 โรงเรยี นระนอง 1. บา้ นเกาะช้าง นายปรีชาพล 2. รอง ผอ.สพป.ระนอง
3. นางนวลจริ า
เพชรอันดามนั พัฒนามติ รภาพ 2. บ้านเกาะสนิ ไห ทองพลอย
ธรรมศริ พิ ร
ที่ 60 3. วัดหาดส้มแปน้ 4. นางสาวเนตรทิพย์ วชิ ิต
5. นายปรีชาพล
4 .บ้านปากน้ำ
ทองพลอย
5. บ้านบางริน้

6. บา้ นบางกลาง

7. ระนองพัฒนามิตรภาพท่ี 60

8. บา้ นเกาะเหลา

9. บา้ นเกาะพยาม

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

6

เครอื ข่าย ทต่ี ง้ั สถานศกึ ษา ศึกษานเิ ทศก์ คณะอ.ก.ต.ป.น.
การจดั การศึกษา ประจำเครือขา่ ย
นางสาวอจั ฉราวดี 1. ผอ.สพป.ระนอง
2 โรงเรยี น 1. บ้านหนิ ดาด อรา่ มวทิ ยานุกลู 2. รอง ผอ.สพป.ระนอง
3. นางวิไลลักษณ์
ครุ รุ ัตนรงั สรรค์ อนบุ าลระนอง 2. บ้านทรายแดง นางเพญ็ ณี
แก้วเกื้อกูล จลุ เสนียช์ ร
3. ชาติเฉลมิ 4. นางมณวดี ดลุ ยรัตน์
นางสาวช่อเพชร 5. นางสาวอัจฉราวดี
4. บ้านบางนอน พฤกษ์วรุณ
อรา่ มวิทยานกุ ลู
5. อนุบาลระนอง นางศภุ ศิริ
ชัยวชั รนิ ทร์ 1. ผอ.สพป.ระนอง
6. บ้านเขานางหงส์ 2. รอง ผอ.สพป.ระนอง
3. นางสาวธนพร
7 .บ้านหนิ ชา้ ง
กลุ สวสั ด์ิ
8. เอกศิลป์ราษฎรพ์ ฒั นา 4. นางสาวศรญิ ญา บุหงา
5. นางเพ็ญณี
9.บา้ นบางสกี ิม้
แกว้ เก้ือกูล
3 โรงเรียน 1. บ้านหาดทรายดำ
1. ผอ.สพป.ระนอง
หงาวโตนเพชร บ้านราชกรดู 2. บ้านหาดทรายดำ 2. รอง ผอ.สพป.ระนอง
3. นางรชั ฎาภรณ์
(สาขาหน้านอก)
กฤติยาโชตปิ กรณ์
3. บา้ นทา่ ฉาง 4. นางสาวกลั ยวรรธน์

4. บ้านนกงาง อนิ ริสพงษ์
5. นางสาวช่อเพชร
5. บา้ นคลองของ
พฤกษว์ รุณ
6. บ้านทุง่ หงาว 1. ผอ.สพป.ระนอง
2. รอง ผอ.สพป.ระนอง
7. บา้ นขจัดภัย 3. นางสาวพนิตนนั ท์

8. บ้านราชกรดู เพชรนาค
4. นางสาวนงลกั ษณ์
4 โรงเรยี น 1. ทุ่งตาพลวิทยา
ทองบางหรง
ละอนุ่ ก้าวหน้า บ้านบางขนุ แพง่ 2. บ้านปากแพรก 5. นางอุราวรรณ ผู้วานิช
6. นางศุภศิริ ชยั วชั รินทร์
3. ทับไชยาพัฒนา

4. บา้ นเขาฝาชี

5. วัดช่องลม

6. บา้ นละอุ่นใต้

7. ระวิราษฎรบ์ ำรงุ

8. บ้านบางขุนแพง่

5 โรงเรยี น 1. ประชาอุทิศ
กะเปอรพ์ ัฒน์ อนุบาลบา้ นดา่ น 2. บา้ นทองหลาง

3. บ้านชาคลี

4. บา้ นสำนกั

5. บา้ นหว้ ยเสียด

6. บา้ นบางเบน

7. บา้ นบางหนิ

8. ชนม์พัฒนา

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

7

เครือข่าย ที่ตัง้ สถานศกึ ษา ศึกษานเิ ทศก์ คณะอ.ก.ต.ป.น.
การจดั การศึกษา ประจำเครือขา่ ย

9. อนุบาลบ้านดา่ น

10. บ้านเชย่ี วเหลยี ง

11. บ้านนา

12. บ้านบางปรุ

6 โรงเรยี น 1. บ้านควนไทรงาม นางสาวสวุ รรณี 1. ผอ.สพป.ระนอง
คงทองจีน 2. รอง ผอ.สพป.ระนอง
ปทั มคีรี ไทยรฐั วิทยา 2. บา้ นภูเขาทอง 3. นางสุภาณี

67 (บา้ นนาพรุ) 3. บ้านบางกลว้ ยนอก เลิศศกั ด์ิวานิช
4. นางอรณุ ศรี ศลิ าพันธ์
4. ไทยรฐั วิทยา 67 5. นางสาวสุวรรณี

(บา้ นนาพรุ) คงทองจีน

5. บ้านสขุ สำราญ

6. บ้านกำพวน

7. บ้านบางมนั

8. บา้ นแหลมนาว

9. บา้ นทะเลนอก

7 โรงเรยี นกระบุรี 1. มัชฌิมวทิ ยา นายษณกร 1. ผอ.สพป.ระนอง
เสนาะเสียง 2. รอง ผอ.สพป.ระนอง
คอคอดกระ – 2. กระบุรี 3. นางภัทรานิษฐ์

พระขยางค์ 3. บ้านนำ้ จืดนอ้ ย อกั ษรพบิ ูลย์
4. นางอรพนิ ท์ คงทอง
4. บ้านปลายคลอง 5. นายษณกร

5. บา้ นบางกงุ้ เสนาะเสยี ง

6. บ้านทับจาก

7. บา้ นลำเลยี ง

8. ไทยรัฐวิทยา 97

(บา้ นบางบอน)

9. บา้ นดอนกลาง

(เรียนรวมบางก้งุ )

10. บ้านสองแพรก

11. บา้ นบกกราย

12. บ้านบางสองรา

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

8

เครือขา่ ย ท่ตี ้ัง สถานศกึ ษา ศกึ ษานิเทศก์ คณะอ.ก.ต.ป.น.
การจดั การศกึ ษา ประจำเครือขา่ ย

8 โรงเรียน 1. บ้านคลองเงิน นางนนั ทน์ ภัส 1. ผอ.สพป.ระนอง

ศิลาสลัก นคิ มสงเคราะห์ 2. บ้านหนองจกิ สกั ขาพรม 2. รอง ผอ.สพป.ระนอง

3. บ้านหาดจิก 3. นางวราพร แสงแปน้

4. บา้ นหนิ วัว 4. นางสดุ า เจีย่ กุลธร

5. เพียงหลวง ๑๕ 5. นางอจั รา วิเศษ

(บ้านรงั แตน) 6. นางนันทน์ ภสั

6. บ้านน้ำขาว สกั ขาพรม

7. วัดสวุ รรณคีรี

8. นคิ มสงเคราะห์

9. บ้านทุ่งมะพร้าว

10. บ้านสองพ่ีน้อง

11. ทบั หลีสรุ ิยวงศ์

2.2 ระยะเวลาการนเิ ทศ

ตารางท่ี 2 แสดงระยะเวลาการนเิ ทศ ตงั้ แตว่ นั ท่ี 1 ตลุ าคม 2563 ถงึ 30 กันยายน 2564 ดังนี้

ระยะเวลา

พ.ศ.๒๕๖3 พ.ศ.๒๕๖4 กระบวนการดำเนนิ งานการนิเทศฯ

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ขัน้ ที่ ๑ วางแผนการนเิ ทศ (Plan)

1. ร่วมประชมุ ปฏบิ ัติการเพื่อวาง

แผนการนิเทศในระดับเขตพ้ืนทีโ่ ดยมี

ผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพืน้ ท่ี

การศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

รองผอู้ ำนวยการเขตและศึกษานเิ ทศก์

เข้าร่วมประชมุ

2. ร่วมประชุมคณะทำงานจัดทำ

แผนปฏิบัติการนิเทศการศึกษา และ

ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ตามขอบเขต

เนื้อและประเด็นที่จะดำเนินการนิเทศ

ตามทไี่ ดร้ ับผดิ ชอบ

3. สร้างเครื่องมือนิเทศให้สอดคล้อง

ครอบคลมุ เนือ้ หาตามประเดน็ ทจี่ ะนิเทศ

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

9

ระยะเวลา

พ.ศ.๒๕๖3 พ.ศ.๒๕๖4 กระบวนการดำเนนิ งานการนิเทศฯ

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

โดยมีผู้เชี่ยวชาญ ให้คำปรึกษา แนะนำ

ตรวจสอบ และดำเนินแก้ไขให้ถูกต้อง

และเทย่ี งตรง

ขนั้ ท่ี 2 ปฏิบัตกิ ารนิเทศ (Do)

1.พบผู้อำนวยการโรงเรียนหรือผู้รักษา

ราชการแทน แจ้งวัตถุประสงค์ ชี้แจง

ขน้ั ตอนการนเิ ทศและเคร่ืองมอื นิเทศ

2. ดำเนินการนิเทศตามขอบเขตของ

เนื้อหาการนิเทศ และเก็บรวบรวมข้อมูล

โดยใช้เคร่อื งมอื นเิ ทศท่กี ำหนด

3. สะท้อนผลการนิเทศ แก่ผู้บริหาร

สถานศึกษาและครู หลังจากดำเนินการ

ตามขั้นตอนครบทุกรายการแล้ว โดยมี

การสรุปผลด้วยวาจา แลกเปลี่ยนเรียนรู้

ให้ขอ้ เสนอแนะ เพ่อื นำไปวางแผนพฒั นา

ตอ่ ไป

4. บันทกึ การนเิ ทศ ลงในสมุดนิเทศของ

โรงเรียน ตามประเดน็ ท่ีนเิ ทศ แนว

ทางการเขยี นสมุดนเิ ทศประกอบด้วย

เรือ่ ง/ประเดน็ ทนี่ เิ ทศ , กจิ กรรมการ

นเิ ทศและการวางแผนร่วมกับผนู้ ิเทศ

ข้ันท่ี 3 ตรวจสอบข้อมูลและสรุปการ

นเิ ทศ (Check)

1. รวบรวมข้อมูลที่ได้จากเครื่องมือการ

นิเทศ สรุปผลการนิเทศระดับโรงเรียน

ระดับเครือข่ายและระดับเขตพื้นท่ี

การศึกษา เพื่อนำส่งกลุ่มงานนิเทศ

ติดตามและประเมนิ ผลฯ

2. ร่วมประชุมปฏบิ ตั ิการเพ่ือวิเคราะห์

ประมวลผล และสรุปผลการนเิ ทศ

ร่วมกัน

3. สรุป และจดั ทำเอกสารรายงานผล

การนเิ ทศ ระดับเขตพื้นท่ีการศึกษา

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

10

ระยะเวลา

พ.ศ.๒๕๖3 พ.ศ.๒๕๖4 กระบวนการดำเนนิ งานการนิเทศฯ

ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.

ข้นั ท่ี 4 ทบทวนและปรับปรุงการ

ปฏบิ ตั งิ าน (Act)

1.นำเสนอรายงานผลการนิเทศต่อ

ผบู้ ังคับบญั ชาระดับเขตพน้ื ที่การศึกษา

และผมู้ ีมีสว่ นเกยี่ วข้องทุกระดับ

2.ใชผ้ ลการนิเทศ เพ่ือกำหนดแนวทาง

วางแผน เตรียมการนเิ ทศครงั้ ต่อไป

2.3 กระบวนการนิเทศ
สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง กำหนดกระบวนการการนเิ ทศโดยยึด

เครือข่ายเป็นฐาน เพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาให้ได้มาตรฐาน และมีประสิทธิภาพ จึงกำหนด
แนวทางการปฏิบัติงานของศึกษานิเทศก์ที่เป็นระบบ และวิธีการนิเทศ โดยใช้กระบวนการนิเทศ
ติดตาม 5 ขนั้ ตอน ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน ประกอบด้วย

ขั้นที่ ๑ การศกึ ษาสภาพปัจจบุ นั ปญั หาและความต้องการ
๑.1 การจัดทำข้อมูลสารสนเทศพื้นฐาน เพื่อเป็นข้อมูลในการพิจารณาการ

ดำเนนิ งาน
๑.๒ การนำขอ้ มลู สารสนเทศพน้ื ฐานมาวิเคราะห์ เพอ่ื กำหนดสภาพปญั หาและความ

ตอ้ งการในการนเิ ทศ ติดตาม
๑.๓ การสร้างการรับรู้ระหว่างผู้นิเทศติดตามและผู้รับนิเทศ ติดตาม โดยประกาศ

เปน็ นโยบายของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
๑.๔ ระดมความคิดเพื่อกำหนดกลุ่มพื้นที่ เป้าหมาย จุดเน้นและกระบวนการนิเทศ

ตดิ ตาม
ขน้ั ท่ี ๒ การวางแผนการนิเทศ ตดิ ตาม
๒.๑ กำหนดวิธกี ารนิเทศ ติดตาม
๒.๒ วางแผนนิเทศ ติดตาม
๑) การประชุมเตรียมการนิทศ ติดตามเพื่อสร้างความรู้ความเข้าใจร่วมกัน

ของคณะกรรมการในแต่ละระดับ เช่น คณะกรรมการขับเคลื่อนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ขั้นพื้นฐานประจำเขตตรวจราชการ คณะกรรมการระดับเขตพื้นที่การศึกษา คณะกรรมการระดับ
โรงเรียน เป็นตน้

๒) กำหนดคณะทีมนิเทศ ติดตามในแต่ละระดับ เช่น ทีมนิเทศ ติดตาม
ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่งตั้งผู้ชำนาญการการบริหารการศึกษา
ขั้นพื้นฐานประจำเขตตรวจราชการ (Custer) ทีมนิเทศ ติดตามระดับเขตพื้นที่การศึกษา ทีมนิเทศ
ตดิ ตามภายในโรงเรยี น เปน็ ตน้

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

11

๓) กำหนดระยะเวลาในการนิเทศ ติดตาม ตามปฏิทินการปฏิบัตงิ าน
ขน้ั ที่ ๓ การสร้างส่อื และเครือ่ งมือนเิ ทศ ตดิ ตาม

๓.1 จดั ทำแนวทางการขับเคล่ือนการพฒั นาคุณภาพการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
๓.๒ สรา้ งส่ือและเครอ่ื งมอื การนิเทศ ติดตาม
ขั้นท่ี ๔ การปฏิบัตกิ ารนิเทศ ตดิ ตาม
๔.๑ ประชุมเตรียมการก่อนการนิเทศ ติดตาม เพื่อสร้างความเข้าใจของ
คณะกรรมการขบั เคลือ่ นการพฒั นาคุณภาพการศึกษาขนั้ พ้ืนฐานประจำเขตตรวจราชการ
๔.๒ นิเทศ ติดตาม ตามปฏทิ ินการปฏบิ ตั ิงานของสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษา
๔.3 การสะทอ้ นผลการนิเทศติดตาม โดยรว่ มกนั พิจารณาข้อมูลและการสะท้อนผล
การดำเนินงานของสำนกั งานพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา โรงเรียนตามประเด็นของการนิเทศติดตาม
ขน้ั ท่ี ๕ สรุปและรายงานผล
สรุปและรายงานผลกรดำเนินงาน จากแบบบันทึก และแบบสรุปผลการนิเทศ
ตดิ ตามการพฒั นาคุณภาพการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน ระดับเขตตรวจราชการ

2.3 ขน้ั ตอนการนเิ ทศ
การนเิ ทศดำเนนิ ตามข้นั ตอนดงั น้ี
2.3.1 ประสานงานการนิเทศและแจ้งปฏิทินการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการ

จัดการศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2563 ให้ผู้รับการนิเทศระดับสถานศึกษา เตรียมรับการนิเทศ
ตามปฏิทินทก่ี ำหนด

2.3.2 คณะกรรมการนิเทศ ดำเนนิ การนเิ ทศตามปฏิทินนิเทศ ตามข้นั ตอน ดงั น้ี
1) ประชมุ ชี้แจงวัตถปุ ระสงค์การนเิ ทศ ติดตามฯ ให้กบั ผ้รู บั การนิเทศ
2) ผ้รู บั การนเิ ทศ นำเสนอข้อมูลสรปุ ผลการดำเนนิ งานของสถานศกึ ษา
3) คณะกรรมการนิเทศ ดำเนินการนิเทศด้วยเครื่องมือการนิเทศ โดยแบ่ง

ผูน้ ิเทศตามเครือข่ายความรับผดิ ชอบ
4) คณะกรรมการนิเทศ เก็บรวบรวมข้อมูลผลการดำเนินงาน โดยการ

สมั ภาษณ์ สังเกต ตรวจสอบเอกสารทเ่ี กย่ี วขอ้ ง บนั ทึกภาพน่งิ และภาพเคล่อื นไหว
5) คณะกรรมการนิเทศ สะท้อนผลการนิเทศ จุดเด่น จุดพัฒนา และให้

ขอ้ เสนอแนะ

2.4 รูปแบบการนิเทศ
กำหนดรปู แบบการนเิ ทศเป็น 2 รูปแบบ คอื
๑. นเิ ทศทางตรง (Direct Supervision) ดำเนินการนิเทศใน ๒ รูปแบบ ได้แก่
๑.๑ นิเทศเชิงเดี่ยว (Single supervision) โดยยึดเครือข่ายการจัดการศึกษาเป็น

ฐาน ๙ เครือขา่ ยการจัดการศกึ ษา ภาคเรียนละ ๒ คร้งั ทุกโรงเรยี น
๑.๒ นิเทศเป็นทีม (cluster) จัดเป็น ๙ ทีมตามเครือข่ายการจัดการศึกษา โดยยึด

โรงเรียนเป้าหมาย ได้แก่ โรงเรียนในโครงการตามนโยบายสำคัญ โรงเรียนชั้นนำประเภทต่าง ๆ และ

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

12

โรงเรียนที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ เป้าหมายภาคเรียนละ ๒ ครั้ง ทุกโรงเรียน และติดตามงาน
การนิเทศงาน 4 ดา้ น ได้แก่ งานวิชาการ งานบรหิ ารทั่วไป งานบรหิ ารงานบคุ คล และงานบริหารงาน
งบประมาณ โดยใช้เทคนคิ วิธีการนเิ ทศทีห่ ลากหลายให้เหมาะสมกับสถานการณ์ บริบทในแต่ละเรื่อง
เชน่

๑) การนิเทศแบบช้ีแนะ (Coaching and Mentoring)
๒) แบบกลั ยาณมติ ร
๓) แบบพาทำ
๔) การนเิ ทศแบบคลินิก (Clinical Supervision)
๕) การนเิ ทศแบบร่วมพัฒนา (Cooperative Development
Supervision)
๒. นิเทศทางไกล (Distance supervision) โดยใช้รูปแบบการนิเทศออนไลน์ ผ่านเครือข่าย
เทคโนโลยีการส่ือสาร (Internet) โดยใชร้ ูปแบบการนิเทศออนไลน์ ดังน้ี
๒.๑ ระบบนิเทศ Online เป็นระบบการนิเทศผ่านเครือข่ายเทคโนโลยีการสื่อสาร
(Internet) ที่สามารถนิเทศได้ทุกเวลา ทุกสถานที่ สื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลกันด้วยสื่อมัลติมิเดีย
(Social Media) รวมทั้งสามารถนาข้อมูลกลับมาใช้ได้ใหม่ ศึกษานิเทศก์ผู้ให้การนิเทศ และครู
ผู้บริหาร ผู้รับการนิเทศ มีปฏสิ ัมพันธใ์ นลักษณะเครอื ข่ายการเรียนรู้ (Social Network)
๒.๒ เว็บไซต์ที่ใช้ในการนิเทศออนไลน์ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาระนอง ได้แก่ https://www.nites-rn.org หรือ เข้าผ่านเว็บไซต์สานักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาระนอง ไปยังกลุ่มนิเทศติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ภายใน
เว็บไซต์จะมีห้องนิเทศออนไลน์ ซึ่งเป็นแหล่งรวมความรู้ ของศึกษานิเทศก์ส ำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง ตามกลุม่ งาน และกลุ่มสาระการเรยี นรู้

2.5 การรายงานการนิเทศออนไลน์
เป็นการรายงานผลการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาออนไลน์ ท่ีกลุ่มนิเทศ
ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาระนอง จัดทำขึ้น
เพื่อตดิ ตามการรายงานการนเิ ทศของศึกษานเิ ทศก์ ข้าราชการและบคุ ลากรทางการศึกษา ซึ่งในแต่ละ
ครัง้ ท่ีดำเนนิ การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศึกษากบั โรงเรยี นท่ีไดร้ ับมอบหมาย ผู้นิเทศ
จะต้องบันทึกรายการนิเทศนั้น ๆ ลงในระบบโปรแกรมรายงานการนิเทศ ซึ่งจะเก็บเป็นข้อมูลการ
นิเทศรายบุคคลและข้อมูลการนิเทศในภาพรวมของคณะนิเทศ โดยสามารถรายงานได้ทาง
http://gg.gg/nites2564

3. การตรวจสอบความสมบูรณแ์ ละความถูกตอ้ งของผลการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจัด
การศกึ ษา

กลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจัดการศกึ ษา สำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษา
ระนองตรวจสอบความสมบูรณ์และความถูกต้องของข้อมูลโดยแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ อ.ก.ต.ป.น.

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

13

สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง และรายงานผลการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
การจัดการศึกษาของโรงเรยี นในสงั กัดสำนักงานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาระนอง

4. การวเิ คราะห์และสรุปรายงานผล

การวเิ คราะห์และสรปุ รายงานผลการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของ

โรงเรียนในสงั กดั สำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาระนอง จำนวน 77 โรงเรยี น 1 สาขา

ดงั น้ี

1. บันทึกข้อมูลผลการนิเทศติดตามแต่ละระดับตามเครื่องมือนิเทศ ของสำนักงานเขตพื้นที่

การศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

2. วิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้สถิติ ค่าความถี่ (Frequency) ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉล่ีย

(Mean) ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)

ในส่วนท่ีเปน็ ข้อคำถามปลายเปดิ

3. นำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล เป็น 3 ระดบั ดังน้ี

3.1 ระดบั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา

3.2 ระดบั เครอื ข่ายการจัดการศกึ ษา

3.3 ระดับสถานศกึ ษา

3.4 เกณฑก์ ารประเมนิ และการแปลผล

เครื่องมือนิเทศติดตามการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาทางไกล

ผา่ นเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLTV) ฉบับที่ 1 ถงึ ฉบบั ท่ี 5 ใชเ้ กณฑก์ ารประเมินและการแปลผลดังนี้

คะแนนเฉลี่ย ความหมาย

2.50 - 3.00 คุณภาพระดบั ดีมาก

1.50 – 2.49 คณุ ภาพระดบั ดี

0.50 – 1.49 คุณภาพระดบั พอใช้

0.00 – 0.49 คุณภาพระดบั ปรับปรุง

3.5 เครื่องมือนิเทศติดตามการดำเนินงานโครงการจัดการศึกษาทางไกล

ผ่านเทคโนโลยีสารสนเทศ (DLTV) ฉบับที่ 6 แบบสอบถามความพึงพอใจต่อโครงการฯ ใช้เกณฑ์การ

ประเมินและการแปลผลดงั น้ี

คะแนนเฉลยี่ ความหมาย

4.51 – 5.00 ความพงึ พอใจระดับมากทส่ี ุด

3.51 - 4.50 ความพึงพอใจระดับมาก

2.51 - 3.00 ความพงึ พอใจระดับปานกลาง

1.51 – 2.50 ความพึงพอใจระดับนอ้ ย

1.00 – 1.50 ความพึงพอใจระดับน้อยทีส่ ดุ

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

14

สว่ นท่ี 3
ผลการดำเนนิ งาน

ผลการดำเนนิ งานการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษาของโรงเรยี นในสงั กัด
สำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาระนอง ประจำปีงบประมาณ 2564

1. การพฒั นาหลกั สูตรสถานศึกษาและการจัดการเรียนรู้
วธิ ีการดำเนนิ การ

1.1 ประชุมชี้แจงผู้บริหารสถานศึกษาและหัวหน้างานวิชาการในการดำเนินการจัดการเรียน
การสอนตามหลักสูตรสถานศึกษา แต่ให้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับ
สถานการณ์ในปัจจุบันซึ่งประเทศไทยได้ประสบกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างรุนแรงหลายระลอก ซึ่งส่งผลต่อการจัดการเรียนการสอนของ
โรงเรียนทุกโรงในประเทศ รวมถึงโรงเรียนทุกโรงในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ระนอง ซึ่งทั้งนี้สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้ออกแบบวิธีการจัดการเรียนรู้ใน
รูปแบบวิถีใหม่ วิถีคุณภาพ จำนวน ๕ รูปแบบ ได้แก่ On Line On Demand On Air On Site และ
On Hand ซึ่งโรงเรียนแต่ละโรงสามารถเลือกรูปแบบการจัดการเรียนรู้ได้ตามบริบทของนักเรียน
ผู้ปกครองและครูผู้สอน ทั้งนี้ต้องคำนึงถึงความปลอดภัยเป็นหลักตลอดจนติดตามสถานการณ์
การแพรร่ ะบาดในชุมชนในพ้ืนทอี่ ย่างใกล้ชดิ ถ้ามสี ถานการณ์ท่เี ผชญิ กับภาวะสมุ่ เสย่ี งต้องปรับเปล่ียน
วิธกี ารเรียนร้ไู ดท้ นั ทีโดยคำนึงถึงความปลอดภยั ของผเู้ รียนเปน็ หลัก

1.2 นิเทศติดตามการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ และ นิเทศทางตรง สำหรับโรงเรียน
ขนาดเล็กที่สามารถจัดการเรียนการสอนแบบ On Site ได้ โดยแนะนำให้ครูผู้สอนจัดการเรียน
การสอนแบบยืดหยุ่น เลือกรูปแบบการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง และเน้นวัดผลประเมินผล
ตัวชี้วัดที่ต้องรู้เป็นหลัก ทั้งนี้กิจกรรมการเรียนการสอนและสื่อการเรียนการสอนเน้นการผลิตสื่อ
สร้างสรรค์สื่อเลือกใช้สื่อที่สอดคล้องกับรูปแบบการสอนที่คุณครูเลือกใช้ โดยส่งเสริมสนับสนุนให้ใช้
สอ่ื ดจิ ิทัลในการจดั การเรียนรู้ในรปู แบบออนไลนต์ า่ งๆ

1.3 ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระจัดส่งผลงานในการจัดการเรียนการสอนของ
ตนเองเข้าประกวดในระดับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอย่างต่อเนื่อง เพื่อเผยแพร่ขยายผลวิธีการ
จัดการเรียนการสอนที่ประสบความสำเร็จในยุคการเรียนการสอนออนไลน์ ซึ่งสำนักงานเขตพื้นท่ี
การศึกษาประถมศึกษาระนองได้จัดกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนครูที่จัดการเรียนสอนที่ประสบ
ความสำเร็จและเป็นแบบอยา่ งทด่ี ีได้ ในกิจกรรม นวตั วถิ ี ครสู อนดี สพป.ระนอง

1.4 ประชุมสะท้อนผลออนไลน์สำหรับเครือข่ายการจัดการศึกษาทุกเครือข่ายในการ
วิเคราะห์ สังเคราะห์ จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา ของการจัดการเรียนการสอนในภาพรวมของเครือข่าย
การจัดการศกึ ษา ซ่ึงมที ง้ั หมด ๘ เครือข่าย เพ่ือพฒั นาจุดเดน่ ใหเ้ กดิ ความต่อเน่ืองและย่งั ยนื ตลอดจน
พัฒนาจดุ ที่ยังอ่อนดอ้ ยให้มคี วามเข้มแข็งมากขึ้นและค้นหาวิธกี ารใหม่ๆท่ีสามารถพัฒนาใหด้ ขี ึน้ ให้ได้

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

15

ผลการดำเนินงาน
เชิงปริมาณ
โรงเรียนจำนวน 77 โรง 1 สาขา ทุกโรงในสังกัด สามารถจัดการเรียนการสอนได้อย่างมี

ประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามบริบทและตามศักยภาพของแต่ละโรงเรียน ทั้งนี้นักเรียน ครูผู้สอน
ตลอดจนผ้บู รหิ ารสถานศกึ ษามีความปลอดภัยจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019
(COVID-19)

เชงิ คุณภาพ
โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ร้อยละ 100 สามารถ
จัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลตามบริบทและตามศักยภาพของแต่ละ
โรงเรียน ทั้งนี้นักเรียน ครูผู้สอน ตลอดจนผู้บริหารสถานศึกษามีความปลอดภัยจากการแพร่ระบาด
ของโรคตดิ เชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

ปัญหา อปุ สรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จึงต้อง

มีการนิเทศในรูปแบบออนไลน์ซึ่งอาจจะไม่สามารถสะท้อนปัญหาที่แท้จริงของการจัดการเรียนรู้ได้
ครบถ้วน เนื่องจากไม่สามารถพบเจอกับผู้เรียน ไม่สามารถสอบถาม หรือสังเกตพฤติกรรมการเรียน
การสอนของผู้เรียนที่แท้จริงได้ แต่เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดที่ยังเข้มข้น จึงต้องใช้ความ
ยืดหยุ่นและความปลอดภัยเป็นหลักในการพัฒนาการเรียนรู้ในสถานกาณ์ปัจจุบัน ซึ่งต้องหาวิธี การ
ตอ่ ไปในการแก้ไขปัญหาการจัดการเรียนการสอนในรปู แบบออนไลน์

ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนองและสถานศึกษาทุกโรงควรคิดค้นเพื่อหา

วิธีการที่เหมาะสมในการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์หรือการจัดการเรียนรู้ที่บ้านสำหรับ
นักเรียน ว่าจะมีวิธีการอย่างไรที่จะสามารถจัดการเรียนการสอนให้ประสบผลสำเร็จได้มากที่สุดตาม
บริบทและความปลอดภัยของผู้เรียนโดยจำเป็นต้องปรับห้องเรียนให้เรียนที่บ้านพักอาศัยไม่ใช่
ห้องเรียนในโรงเรยี นตามปกติ

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

16

2. การดำเนนิ งานการนิเทศภายในสถานศึกษา
วธิ ีการดำเนินการ

1. ประชุมวางแผนการนิเทศการดำเนินงานการนิเทศภายในสถานศึกษา โดยการมีส่วนร่วม
ของศกึ ษานเิ ทศก์ทกุ คน

2. จัดทำคู่มือการนิเทศภายในสถานศึกษาเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้บริหารสถานศึกษาและครู
ผรู้ ับผิดชอบในการดำเนนิ งาน

3. จดั ทำแบบนเิ ทศ ติดตามการดำเนนิ งานการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา
4. นิเทศติดตามการดำเนินงานการนิเทศภายในสถานศึกษา โดยเน้นการนิเทศแบบบูรณา
การและใชเ้ ครือขา่ ยเป็นฐานในการนิเทศ
5. จัดประกวดรูปแบบการนิเทศภายในสถานศึกษาที่ประสบความสำเร็จและเป็นแบบอย่าง
ทดี่ ี ระดบั สำนกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษา เพื่อสรา้ งขวญั กำลงั ใจ และการแลกเปล่ียนเรียนรู้
6. สรุปผลการนิเทศและจัดทำรายงานผลการนิเทศภายในสถานศึกษา ของสถานศึกษาใน
สังกดั เพอ่ื รายงานต่อผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง

ผลการดำเนนิ งาน
เชิงปรมิ าณ
สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาระนอง ไดร้ บั การนเิ ทศติดตาม

การดำเนนิ งานการนเิ ทศภายในสถานศกึ ษา ภาคเรียนละ 2 คร้งั ครบทกุ โรงเรยี น
เชงิ คณุ ภาพ
สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง มีระบบการนิเทศ

ภายในสถานศกึ ษาทีเ่ ข้มแข็ง สง่ ผลต่อการบรหิ ารงานท้ัง 4 ฝ่ายและส่งผลตอ่ คุณภาพผ้เู รียน

ปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
1. การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้สถานศึกษา

ไมส่ ามารถเปดิ สอนได้ตามปกติ ทำใหก้ ารนเิ ทศภายในสถานศึกษาไมเ้ ป็นไปตามแผนท่วี างไว้
2. ประเด็นการนิเทศตดิ ตามมหี ลายประเดน็

ขอ้ เสนอแนะเพอื่ การพัฒนา
1. ใช้การนิเทศออนไลน์ ผ่านระบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค

ติดเชอ้ื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
2. บูรณาการประเดน็ การนิเทศแบบบูรณการและใช้เครือข่ายเป็นฐานในการนเิ ทศ

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

17

3. การดำเนนิ งานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศกึ ษา
วิธกี ารดำเนินการ

1. ประชุมวางแผนการนิเทศการดำเนินงานการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศกึ ษา โดยการมสี ว่ นร่วมของศกึ ษานเิ ทศก์ทุกคน

2. จัดทำคู่มือการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและจัดประชุมชี้แจง
ผทู้ ีเ่ กย่ี วขอ้ ง เพือ่ เป็นแนวทางให้ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษาและครูผู้รับผิดชอบในการดำเนินงาน

3. สร้างแบบนิเทศ ตดิ ตามการดำเนินงานระบบประกันคณุ ภาพภายในสถานศึกษา เพ่ือใช้ใน
การนิเทศตดิ ตาม

4. นิเทศติดตามการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา โดยเน้นการนิเทศ
แบบบรู ณาการและใชเ้ ครือข่ายเป็นฐานในการนิเทศ

5. สรุปผลการนิเทศและจัดทำรายงานผลการดำเนินงานระบบประกันคุณภาพภายใน
สถานศึกษา ของสถานศึกษาในสังกัด เพื่อรายงานต่อผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาระนอง

ผลการดำเนินงาน
เชงิ ปริมาณ
สถานศึกษาในสงั กดั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาระนอง ไดร้ ับการนเิ ทศติดตาม

การดำเนนิ งานระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา ภาคเรยี นละ 2 ครั้ง ครบทุกโรงเรยี น
เชงิ คณุ ภาพ
สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง มีระบบการประกัน

คุณภาพภายในสถานศึกษาที่เข้มแข็ง ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน ตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน
ท้งั 3 มาตรฐาน

ปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
1. การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้สถานศึกษาไม่

สามารถเปิดสอนไดต้ ามปกติ ทำใหก้ ารนเิ ทศภายในสถานศกึ ษาไม้เป็นไปตามแผนที่วางไว้
2. ประเดน็ การนเิ ทศตดิ ตามมหี ลายประเดน็

ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นา
1. ใช้การนิเทศออนไลน์ ผ่านระบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค

ตดิ เชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
2. บูรณาการประเด็นการนเิ ทศแบบบรู ณการและใช้เครอื ข่ายเป็นฐานในการนเิ ทศ

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

18

4. การพฒั นาการเรียนการสอนของครโู ดยใชก้ ระบวนการ PLC ในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
วธิ ีการดำเนนิ การ

1. ประชุมวางแผนการนิเทศการดำเนินงานการพัฒนาการเรียนการสอนของครูโดยใช้
กระบวนการ PLC ในการพฒั นาคุณภาพผูเ้ รียน โดยการมสี ่วนรว่ มของศกึ ษานเิ ทศก์ทกุ คน

2. จัดทำคู่มือชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC และเผยแพร่ให้กับผู้บริหารสถานศึกษาและ
ครใู นสถานศกึ ษา เพื่อเปน็ แนวทางในการดำเนนิ งาน

3. สร้างแบบนิเทศ ติดตามการพัฒนาการเรียนการสอนของครูโดยใช้กระบวนการ PLC
ในการพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียน เพอื่ ใชใ้ นการนเิ ทศตดิ ตาม

4. นเิ ทศติดตามการดำเนนิ งานและการขับเคลื่อนชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ PLC เน้นการ
นิเทศแบบบรู ณาการและใชเ้ ครือขา่ ยเปน็ ฐานในการนิเทศ

5. สรุปผลการนิเทศและจัดทำรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนของครูโดยใช้
กระบวนการ PLC ในการพฒั นาคณุ ภาพผูเ้ รียน ของสถานศกึ ษาในสังกดั เพอ่ื รายงานต่อผู้อำนวยการ
สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

ผลการดำเนนิ งาน
เชงิ ปรมิ าณ
ครผู ู้สอนในสังกดั สำนกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาระนอง ไดร้ ับการพัฒนาการเรียน

การสอนของครูโดยใช้กระบวนการ PLC ในการพัฒนาคณุ ภาพผู้เรยี น ภาคเรยี นละ 2 ครั้ง
เชิงคุณภาพ
ครูมีการพัฒนาการเรียนสอนที่มีคุณภาพ โดยใช้กระบวนการ PLC ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน

ตามมาตรฐานการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท้ัง 3 มาตรฐาน

ปญั หา อุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
1. การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้สถานศึกษาไม่

สามารถเปิดสอนได้ตามปกติ ทำใหก้ ารนิเทศภายในสถานศกึ ษาไม้เปน็ ไปตามแผนทีว่ างไว้
2. ประเดน็ การนิเทศตดิ ตามมีหลายประเดน็

ข้อเสนอแนะเพอื่ การพัฒนา
1. ใช้การนิเทศออนไลน์ ผ่านระบเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค

ตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
2. บรู ณาการประเด็นการนเิ ทศแบบบูรณการและใชเ้ ครือข่ายเปน็ ฐานในการนิเทศ

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

19

5. การขับเคลอื่ นหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่สถานศกึ ษา
วธิ ีการดำเนนิ การ

1. ประชุมวางแผนการนิเทศติดตามการดำเนินงานการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งสูส่ ถานศึกษาโดยการมีส่วนรว่ มของศึกษานเิ ทศก์ทกุ คน (P : Plan)

2. สร้างทีมและเครือข่ายขับเคลื่อนโดยใช้ครูแกนนำ จากศูนย์การเรียนรู้ฯ (ศรร.) และ
สถานศึกษาพอเพยี ง (สถพ.) (T : Team)

3. จัดทำเอกสารประกอบการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
และสรา้ งแบบนิเทศ ติดตาม เพอ่ื ใชใ้ นการนเิ ทศตดิ ตาม (M : Media)

4. นิเทศติดตามการดำเนินงานและขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สสู่ ถานศกึ ษา เน้นการนเิ ทศแบบบรู ณาการและใชเ้ ครอื ข่ายเปน็ ฐานในการนิเทศ (S : Supervise)

5. สรุปผลการนิเทศและจัดทำรายงานผลการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่สถานศึกษาของสถานศึกษาในสังกัด เพื่อรายงานต่อผู้อำนวยการสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาระนอง (E : Evaluation)

ผลการดำเนินงาน
เชิงปรมิ าณ
ศูนยก์ ารเรยี นรู้ฯและสถานศึกษาพอเพียงในสังกัดสำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษา

ระนอง ได้รับการนิเทศติดตามการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
ภาคเรยี นละ 2 คร้งั

เชิงคณุ ภาพ
สถานศึกษาพอเพียงในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง มีความ
เขม้ แขง็ ในการขบั เคลื่อนหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูส่ ถานศึกษา และได้รบั ยกระดับเป็นศูนย์
การเรยี นรู้ฯ

ปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
1. การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้สถานศึกษาไม่

สามารถเปิดสอนไดต้ ามปกติ ทำให้การนเิ ทศภายในสถานศึกษาไม้เป็นไปตามแผนท่ีวางไว้
2. ประเด็นการนิเทศติดตามมีหลายประเด็น

ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
1. ใช้การนิเทศออนไลน์ ผ่านระบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรค

ติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
2. บรู ณาการประเดน็ การนิเทศแบบบรู ณการและใช้เครือข่ายเป็นฐานในการนิเทศ

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

20

6. การดำเนนิ งานการพัฒนาการอา่ นออกเขียนได้
วิธกี ารดำเนินการ

1. ประชุมคณะทำงานการดำเนินงานการพัฒนาการอ่านออกเขียนได้ วางแผน กำหนด
ปฏิทินการทำงาน

2. จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาส่งเสริมความสามารถและทักษะด้านภาษาไทยของผู้เรียนในสังกัด
สำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาระนอง

3. ร่วมกับคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จัดโครงการอบรมการใช้
นวัตกรรมเพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียนของนักเรียนระดับประถมศึกษาในสังกัดสำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ภายใต้โครงการหลัก : โครงการยกระดับคุณภาพการเรียนรู้
ดา้ นการอา่ นและการเขียนของนักเรยี นในระดับการศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

4. นเิ ทศ ตดิ ตามการดำเนนิ งานการพฒั นาการอ่านออกเขียนได้ โดยเนน้ การนเิ ทศแบบ
บรู ณาการและใชเ้ ครือข่ายเป็นฐานในการนิเทศ

5. จดั ประกวดคดั เลือนวตั กรรม/วิธีปฏบิ ตั ทิ เ่ี ปน็ เลศิ (Best Practice) กลุ่มสาระการเรยี นรู้
ภาษาไทย ระดบั สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษา เพ่ือสร้างขวญั กำลังใจ และการแลกเปล่ยี นเรยี นรู้

6. สรุปผล/รายงานผลการดำเนนิ งานการพัฒนาการอา่ นออกเขยี นได้

ผลการดำเนินงาน
เชิงปรมิ าณ
สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาระนอง จำนวน 78 โรงเรียน
เชิงคุณภาพ
สถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ได้รับการพัฒนาการ

อ่านออกเขยี นได้ด้วยวิธีการท่หี ลากหลายส่งผลต่อคุณภาพผเู้ รยี น

ปัญหา อปุ สรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
1. การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้สถานศึกษาไม่

สามารถเปิดสอนได้ตามปกติ ทำให้การดำเนนิ งานการพัฒนาการอ่านออกเขยี นได้ ไม่เป็นไปตามแผน
ที่วางไว้

2. ไม่สามารถดำเนินการคัดกรองความสามารถด้านการอา่ นของนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี
1 - มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 ไดต้ ามปฏิทนิ ที่กำหนดไว้

ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นา
1. ปรบั รูปแบบการคัดกรองความสามารถดา้ นการอ่านของนักเรียน ใหเ้ หมาะกับสถานการณ์

การแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
2. บูรณาการประเดน็ การนิเทศแบบบูรณการและใช้เครือข่ายเปน็ ฐานในการนิเทศ

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

21

7. การพัฒนาการเรยี นการสอนภาษาองั กฤษ ตามโครงการพัฒนาครแู กนนำภาษาอังกฤษ
ในระดบั ภมู ิภาค (Boot Camp)

วธิ กี ารดำเนนิ การ
1.นเิ ทศติดตามการจดั การเรียนการสอนภาษาอังกฤษ ของครผู ผู้ ่านการอบรมพฒั นาครูแกนนำ

ภาษาอังกฤษ (Boot Camp)อย่างตอ่ เนอื่ ง
2. ส่งเสริมสนับสนุนให้ครูแกนนำภาษาอังกฤษ (Boot Camp) ขยายผลต่อยอดกับครูผู้สอน

ภาษาองั กฤษในโรงเรียนของตนเองและในโรงเรียนต่างๆในเครือข่ายการจัดการศึกษาของตนเอง เพื่อ
เป็นแกนนำในการช่วยเหลือเพื่อนครูในการพัฒนาการเรียนการสอน เลือกสื่อการเรียนการสอนที่
เหมาะสมกับระดับชัน้ ของผู้เรียน ส่งเสริมการผลิตสือ่ เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนการสอนให้มคี วาม
เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น ตลอดจนสร้างขวัญและกำลังใจเป็นที่พึ่งพาให้ครูผู้สอนภาษาอังกฤษใน
โรงเรียนขนาดเล็กหรือโรงเรียนที่ไม่มีครูที่จบวิชาเอกภาษาอังกฤษเลยแต่จำเป็นต้องจัดการเรียนการ
สอนใหม้ คี ณุ ภาพเพอ่ื รองรบั การวดั และประเมินผลในระดบั ประเทศตอ่ ไป

3. สง่ เสรมิ ให้ครแู กนนำภาษาองั กฤษ (Boot Camp) มคี วามกา้ วหน้าทางวชิ าชีพ มกี ารส่งผล
งานเขา้ รว่ มประกวดแข่งขนั ต่างๆ เชน่ กิจกรรมนวัตวิถี ครูสอนดี สพป.ระนอง เปน็ ต้น

4. ยกยอ่ ง ส่งเสรมิ สนบั สนนุ สรา้ งขวัญและกำลังใจ แก่ครูแกนนำภาษาองั กฤษ (Boot Camp)
ท่ีสามารถพัฒนาผู้เรียนให้มีผลการพัฒนาที่สูงขึ้นสำหรับการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ
(O-NET)ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 6 และมัธยมศึกษาปีท่ี 3

ผลการดำเนินงาน
เชิงปริมาณ
ครูแกนนำด้านภาษาอังกฤษ (Boot Camp) จำนวน 56 คน ในสังกัด สพป.ระนอง สามารถ

พัฒนาการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนตลอดจนพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าทางวิชาชีพด้านการจัดการ
เรยี นการสอนภาษาองั กฤษ

เชิงคณุ ภาพ
ครูแกนนำด้านภาษาอังกฤษ (Boot Camp) ในสังกัด สพป.ระนอง ร้อยละ 100 สามารถ
พัฒนาการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนตลอดจนพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าทางวิชาชีพด้านการจั ดการ
เรียนการสอนภาษาองั กฤษ

ปัญหา อปุ สรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
เน่อื งด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สง่ ผลให้

ไม่สามารถนิเทศการเรียนการสอนแบบโดยตรงหรือการนิเทศแบบห้องเรียนเป็นฐานได้ จำเป็นต้อง
ดำเนินการนิเทศทางไกลในรูปแบบออนไลน์ต่างๆ ซึ่งไม่สามารถพบปะกับนักเรียนที่เป็นผลผลิต
โดยตรงไดส้ ่งผลใหอ้ าจจะไม่ได้รับข้อมลู ครบถ้วนทุกดา้ นและข้อมูลทีไ่ ด้รับอาจจะไม่เป็นข้อมูลท่ีเที่ยง
ไม่สอดคล้องกับการพัฒนาท่ีแทจ้ รงิ ของผเู้ รียน

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

22
ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา

สำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง โดยคณะศกึ ษานิเทศก์ ต้องคดิ คน้ วิธีการนิเทศ
ที่เหมาะสมต่อการจัดการเรียนรู้ที่ปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนรู้ของผู้เรียน วิธีการสอนของครู เพื่อสร้าง
ประสิทธิผลให้เกิดสูงสุดในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ระดับสถานศึกษา ระดับจังหวัด ระดับภูมิภาค
และระดับชาติ ตอ่ ไป

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

23

8. การดำเนินงานโรงเรยี นสุจริต
วิธีการดำเนนิ การ

ประชุมวางแผนเตรยี มการดำเนนิ กจิ กรรมโรงเรียนสจุ รติ
- ประชุมคณะทำงาน
- กำหนดปฏทิ นิ ในการดำเนินการ
- ดำเนินกิจกรรมในการขบั เคลอื่ นงานโรงเรียนสุจรติ
๑) โรงเรียนดำเนินกจิ กรรมตามปฏทิ ินท่ี สพป. ระนอง กำหนด
๒) นิเทศ ติดตาม และประเมินผลการดำเนนิ งานโรงเรยี นสุจริตในโรงเรยี น
๓) สะท้อนผลการดำเนินกจิ กรรม
- สรปุ และรายงานผลการดำเนนิ งานโรงเรยี นสุจริต

ผลการดำเนินงาน
เชิงปริมาณ
โรงเรยี นในสงั กัดสำนกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาระนอง จำนวน 78 โรงเรยี น
เชงิ คุณภาพ
1. ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้บริหารโรงเรียนและครูผู้รับผิดชอบในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษาประถมศึกษาระนอง มีความรู้ความเข้าใจในการดำเนินการ และขับเคลื่อนงานโรงเรียน
สุจริต ตามกรอบนโยบายของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน

2. ร้อยละ ๑๐๐ ของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ระนองมแี นวทางในการพัฒนางานโรงเรยี นสจุ รติ

ปญั หา อุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
- ระยะเวลาในการดำเนินงานนอ้ ย ทบั ซ้อนกับงานโครงการ/นโยบายอ่ืน ๆ
- สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-๑๙) โรงเรยี น

ไมส่ ามารถดำเนินการตามปฏิทินได้อย่างเตม็ ที่

ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา
- บรู ณาการในการดำเนินงาน ให้เหมาะสมกบั หว้ งเวลา และสถานการณ์

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

24

9. การดำเนินงานโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.
วิธกี ารดำเนินการ

ประชมุ วางแผนเตรียมการดำเนนิ กจิ กรรมโรงเรยี นคุณธรรม สพฐ.
- ประชมุ วางแผนในการดำเนินงาน
- กำหนดปฏทิ นิ ในการดำเนนิ การ
- ดำเนินกิจกรรมในการขบั เคล่ือนงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
๑) โรงเรียนดำเนินกจิ กรรมตามปฏิทินท่ี สพป. ระนอง กำหนด
๒) นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการดำเนินงานโรงเรียนคุณธรรม สพฐ.
๓) สะทอ้ นผลการดำเนินกิจกรรม
- สรุปและรายงานผลการดำเนนิ งานโรงเรยี นคณุ ธรรม สพฐ.

ผลการดำเนนิ งาน
เชงิ ปริมาณ
- โรงเรียนคุณธรรม สพฐ. สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศึกษาระนอง จำนวน 78 โรงเรียน
เชงิ คุณภาพ
- บคุ ลากรทางการศึกษา ผู้บริหาร ครู นกั เรยี น รอ้ ยละ ๑๐๐ มีความตระหนักรู้ เข้าใจและคิดอย่างมี

เหตผุ ลซมึ ซับคุณค่าแหง่ คุณธรรมความดอี ยา่ งเป็นธรรมชาติ สร้างความรู้สึกผดิ ชอบชัว่ ดี ภมู ใิ จในการทำความ
ดี และร่วมกันสร้างเครือข่ายชุมชนองค์กรแห่งคุณธรรม ด้วยการขอความร่วมมือจากหน่วยงานและองค์กรท่ี
ทำงานดา้ นคณุ ธรรมอย่างเปน็ รูปธรรมชดั เจน ต่อเน่อื งและยง่ั ยนื โดยมนี วตั กรรมสร้างสรรค์คนดเี ป็นเคร่ืองมือ
ขบั เคล่อื นคุณธรรมในสถานศึกษา

ปญั หา อปุ สรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
- การนิเทศ ติดตามโรงเรียนกลุม่ เป้าหมายในสังกดั สำนักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษา

ระนอง ผ้นู ิเทศอาจมีภาระงานอ่นื ทไ่ี ม่สามารถนเิ ทศไดต้ ามช่วงเวลาทก่ี ำหนดในแผนการนิเทศ

ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนา
- ประชุมวางแผนการการนิเทศ ติดตาม เพื่อกำหนดวัน เวลา และสถานที่นิเทศให้ชัดเจน

และดำเนินการประชาสมั พนั ธ์ให้กลุ่มเปา้ หมายทุกโรงเรียนทราบล่วงหน้า

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

25

10. การอบรมออนไลน์เพศวถิ ศี กึ ษา
วิธกี ารดำเนินการ

ประชุมวางแผนเตรียมการดำเนินกจิ กรรม
- ประชมุ วางแผนในการดำเนินงาน
- กำหนดปฏิทนิ ในการนิเทศ ติดตาม
- ดำเนนิ กจิ กรรมในการขบั เคล่ือน
๑) นเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการดำเนนิ กิจกรรม
๒) สะท้อนผลการดำเนินกจิ กรรม
- สรปุ และรายงานผลการดำเนนิ งาน

ผลการดำเนินงาน
เชงิ ปริมาณ
- โรงเรยี นสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาระนอง จำนวน 78 โรงเรยี น ได้รบั การ

นเิ ทศฯ
เชงิ คุณภาพ
- โรงเรยี นสงั กัดสำนกั งานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาระนอง ร้อยละ ๘๐ ได้รับการนิเทศฯ

ปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
- สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) โรงเรยี นไม่

สามารถดำเนนิ การอย่างต่อเน่ือง
ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

- ประชุมวางแผนการการนเิ ทศ ตดิ ตาม เพ่อื กำหนดวนั เวลา และสถานทน่ี ิเทศให้ชัดเจน
และดำเนนิ การประชาสัมพนั ธใ์ หก้ ลุ่มเปา้ หมายทกุ โรงเรียนทราบลว่ งหนา้

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

26

11. การจัดการเรียนรู้ รปู แบบสะเต็มศึกษา (STEM Education)
วธิ ีการดำเนินการ

1. เสนอโครงการเพ่ือพิจารณาอนมุ ตั ิ
2. แต่งต้ังคณะทำงาน/ วางแผน / ประชมุ คณะทำงาน
3. ดำเนนิ การอบรมครูดว้ ยระบบออนไลน์ การพฒั นานกั เรียนอย่างมีคณุ ภาพดว้ ยการ
จดั ประสบการณ์เรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเต็มศกึ ษา
4. นเิ ทศ ติดตาม ครูผู้สอน คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยดี ำเนินการอบรมครู
ดว้ ยระบบออนไลน์

ผลการดำเนนิ งาน
เชงิ ปริมาณ
ครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเต็มศึกษาในสังกัด ร้อยละ ๑๐๐

ได้รับการอบรมตามกำหนด และมีความเข้าใจ การพัฒนานักเรียนอย่างมีคุณภาพด้วยการ
จัดประสบการณเ์ รียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเตม็ ศกึ ษา

เชิงคณุ ภาพ
ครูมีความรู้ความเข้าใจ สามารถปรับประยุกต์ใช้หลกั สูตรการพัฒนานักเรียนอยา่ งมีคุณภาพ
ด้วยการจัดประสบการณ์เรียนรู้ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเต็มศึกษาในการ
จดั กจิ กรรมการเรียนการสอนในช้นั เรียนได้อย่างเหมาะสม

ปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
1. สถานการณ์ความรุนแรงของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(Covid - 19)
2. ระยะเวลาและกรอบการดำเนินงานทบั ซ้อนกบั งานโครงการ นโยบายอน่ื ๆ
3. ผู้เขา้ รับอบรมไม่สามารถเข้าอบรมไดต้ ามกลุ่มเป้าหมายท่ีวางไว้

ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา
1. ปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ์ความรุนแรงของการแพร่ระบาด

ของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (Covid - 19)
2. ประชมุ ปรกึ ษาหารือกนั ในกลุ่ม เพ่ือมอบหมายหน้าทแ่ี ละกำหนดกรอบระยะเวลา
3. ประสานผู้เข้ารับการอบรมกรณีไมส่ ามารถเขา้ ร่วมอบรมไดต้ ามปกติ

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

27

12. การจัดกิจกรรมบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ยระดบั ประถมศกึ ษา
วธิ ีการดำเนนิ การ

1. นำผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม ในปีการศึกษา 2563 มาวเิ คราะห์ วางแผนเสนอโครงการ
2. ฝึกอบรมขยายผลการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ในช้นั เรียนระดบั ประถมศึกษา
ให้กบั ผ้นู ำเครือขา่ ยทอ้ งถ่นิ (Local Network ; LN) และวิทยากรท้องถ่ิน (Local Trainer ; LT) โดย
ใช้โรงเรียนวทิ ยาศาสตร์จุฬาภรณราชวทิ ยาลัยทง้ั 12 แห่ง เปน็ ฐาน
3. พฒั นาศักยภาพครูผสู้ อนโรงเรยี นทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ โดยใช้โรงเรียนวิทยาศาสตร์จฬุ าภรณ
ราชวทิ ยาลยั ท้ัง 12 แหง่ เป็นฐาน
4. จัดสรรงบประมาณใหโ้ รงเรยี นจดั กิจกรรมท่ีได้คัดเลอื กโรงเรียนละ 4,500 บาท
5. นิเทศ ตดิ ตาม เพื่อศึกษาการดำเนนิ กิจกรรมร่วมโครงการและศกึ ษาผลของการดำเนนิ
กิจกรรม
6. สะทอ้ นผลการนิเทศ ตดิ ตาม การจดั การเรยี นการสอน
7. สรปุ ผล และรายงานผล
8. วางแผนแนวทางขยายผลโครงการ

ผลการดำเนนิ งาน
เชิงปรมิ าณ
ครใู นโรงเรยี นท่เี ข้าร่วมโครงการ จำนวน 12 คน
เชิงคณุ ภาพ
1. ครูได้สรา้ งเครอื ขา่ ยความร่วมมอื ทางวิชาการในการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาระดับ

ประถมศกึ ษา
2. ครมู กี ารบรู ณาการกิจกรรมบา้ นนักวทิ ยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย ระดบั ประถมศึกษา

เข้ากบั การจดั การเรียนการสอน ทส่ี อดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวชี้วดั กลุ่มสาระการเรยี นรู้
วทิ ยาศาสตร์ (ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551

3. ครมู ีการพฒั นาศักยภาพใหส้ ามารถจัดการเรยี นรู้ได้อย่างมีประสิทธภิ าพ
4. ผ้เู รยี นมกี ารพัฒนาไดต้ ามมาตรฐานการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน

ปญั หา อุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
1. สถานการณ์ความรุนแรงของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(Covid-19)
2. ระยะเวลาและกรอบการดำเนนิ งานทับซ้อนกับงานโครงการ/นโยบายอนื่ ๆ
3. ผเู้ ขา้ รับอบรมไม่สามารถเขา้ อบรมไดต้ ามกลุ่มเปา้ หมายท่วี างไว้

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

28
ข้อเสนอแนะเพื่อการพฒั นา

1. ปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (Covid-19)

2. ประชุมปรึกษาหารือกันในกลุ่ม เพื่อมอบหมายหน้าท่แี ละกำหนดกรอบระยะเวลา
3. ประสานผเู้ ขา้ รบั การอบรมกรณีไม่สามารถเข้ารว่ มอบรมได้ตามปกติ

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

29

13. การจดั การเรยี นการสอน การพัฒนาหลกั สตู รวิทยการคำนวณ ระดับชั้นเรยี น
วธิ กี ารดำเนนิ การ

1. วางแผนการนิเทศฯ โดยการประชุม ช้ีแจงคณะกรรมการ วิเคราะหส์ ภาพปัญหา แนวทาง
วิธกี าร กำหนดประเดน็ เปา้ หมายการนิเทศ และจัดทำแผนการนเิ ทศ

2. ดำเนินการนิเทศ โดยการสร้าง พัฒนาเครื่องมือนิเทศ จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ การ
จดั การเรียนการสอนวิทยาการคำนวณ ชแี้ จงการนิเทศ ครผู สู้ อนวิทยาการคำนวณ และนิเทศ ติดตาม
ครผู ้สู อน ตามปฏิทินการนิเทศด้วยการนเิ ทศแบบออนไลน์

3. ประเมินผลการนิเทศ โดยการสะท้อนผลการนเิ ทศ
4. สรปุ รายงานผลการนเิ ทศ

ผลการดำเนินงาน
เชิงปริมาณ
1. ครู ในสงั กดั สำนกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ปีการศกึ ษา 2563 ระดับ

ปฐมวัย จำนวน 77 คน ระดับประถมศึกษาตอนต้น จำนวน 79 คน ระดับประถมศึกษาตอนปลาย
จำนวน 79 คน และระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น จำนวน 25 คน

2. โรงเรียน ในสงั กดั สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง จำนวน 78 โรงเรียน
1 สาขา

เชิงคุณภาพ
1. ครู ได้รบั การนิเทศ ตดิ ตามมคี วามพร้อมในการจัดการเรยี นรูส้ ามารถปรบั เปลยี่ นวธิ ีการใน
การจัดการเรียนรู้ ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) และ
สามารถจดั การเรยี นการสอนวิทยาการคำนวณได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ
2. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนองมีข้อมูลสารสนเทศ โดยใช้ผลการนิเทศ
ติดตามและประเมินผลของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ในการวางแผนพัฒนา
ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาโรงเรยี นในสังกัดให้เกิดประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลยงิ่ ข้นึ

ปญั หา อปุ สรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
1. สถานการณ์ความรุนแรงของการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

(Covid-19)
2. ระยะเวลาและกรอบการดำเนินงานทบั ซ้อนกับงานโครงการ/นโยบายอ่ืน ๆ
3. ผเู้ ขา้ รบั อบรมไม่สามารถเขา้ อบรมไดต้ ามกล่มุ เปา้ หมายที่วางไว้

ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา
1. ปรับเปลี่ยนกิจกรรมให้เหมาะสมกับสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส

โคโรนา 2019 (Covid-19)
2. ประชุมปรึกษาหารือกนั ในกล่มุ เพื่อมอบหมายหน้าท่ีและกำหนดกรอบระยะเวลา
3. ประสานผเู้ ข้ารับการอบรมกรณีไมส่ ามารถเขา้ ร่วมอบรมได้ตามปกติ

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

30

14. การจัดการศึกษาเพอ่ื ส่งเสรมิ อาชพี และการมีงานทำให้กบั นกั เรยี น
วิธกี ารดำเนนิ การ

การวางแผนการดำเนินงาน
- ศกึ ษาแผนและยทุ ธศาสตร์การพฒั นาประเทศและนโยบายดา้ นการศึกษา
- แต่งตง้ั คณะกรรมการจัดทำแผนปฏบิ ตั ิงาน
- ประชุม ชี้แจงคณะกรรมการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและวางทิศทางการพัฒนา

การศึกษาของสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาระนอง
- กำหนดนโยบายการสร้างโอกาสในการเช้าถึงบริการการศึกษาที่มีคุณภาพมีมาตรฐาน

และลดความเหลือ่ มล้ำทางการศกึ ษา
- กำหนดนโยบายให้สถานศึกษาพัฒนาหลักสูตรของสถานศึกษา โดยนำพระบรม

ราโชบายด้านการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร มหาวชิรลงกรณฯ
พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัวและหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปบูรณาการจัดกิจกรมการเรียนรู้เพอื่
พฒั นาผเู้ รียนมคี ุณลกั ษณะอนั พ่ึงประสงคต์ ามที่กำหนด

การดำเนินงาน
- จัดประชุมโรงเรียนเพื่อนำนโยบายลงสู่การปฏบิ ัติ และ จัดทำโครงการ และดำเนินงาน

ตามโครงการ
- โรงเรียนขยายโอกาสทุกโรงเรียนในสังกัดสพป.ระนอง ได้มีการจัดการศึกษา

ขั้นพื้นฐานเพื่อส่งเสริมอาชีพและการมีงานทำให้กับนักเรียน โดย อยู่ในรายวิชาการงานอาชีพ
(พ้นื ฐาน)

- โรงเรียนขยายโอกาสส่วนใหญ่ในสังกัดสพป.ระนอง นอกจากจะจัดการเรียนการสอน
อยู่ในรายวิชาพื้นฐาน วิชาการงานอาชีพ แล้วยังจัดในรายวิชาเพิ่มเติม เพื่อส่งเสริมอาชีพและการ
มงี านทำใหก้ ับนักเรยี น

- โรงเรียนเพยี งหลวง 15 (บา้ นรังแตน) สามารถพฒั นาหลักสูตรการจัดการเรยี นการสอน
ด้านทกั ษะอาชพี เป็นหลกั สูตรตอ่ เนอ่ื งเชือ่ มโยง กับ วิทยาลัยการอาชพี กระบรุ ี

- โรงเรียนขยายโอกาสทุกโรงเรียนในสังกัดสพป.ระนอง ได้มีการจัดการศึกษา
ขั้นพื้นฐานเพื่อส่งเสริมอาชีพและการมีงานทำให้กับนักเรียน เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ ,โครงงาน ,
กิจกรรมชุมนมุ ,กจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพ่มิ เวลารู้ เพอ่ื สง่ เสรมิ ทักษะอาชีพใหก้ ับนักเรียน เช่น การเลย้ี ง
ปลา เลี้ยงไก่ไข่ เพาะเห็ด ปลูกผัก มะนาวท่อ การเย็บผ้า การทำขนม การประกอบอาหาร กิจกรรม
ดา้ นไอซที ี การประกอบและซ่อมคอมพวิ เตอร์ การส่งเสริมด้านการประมง และการนำวัตถุดิบมาแปร
รูป สรา้ งอาชพี สร้างรายได้

- มกี ารนำนักเรียน ไปศกึ ษาดูงานแหลง่ เรยี นร้ภู ูมิปญั ญาด้านอาชพี ในท้องถน่ิ
- โรงเรยี นท่ีเปน็ โรงเรยี นประชารัฐ รับงบประมาณสนับสนุน จาก เครอื เซน็ ทรัล เพื่อจดั
กิจกรรมการเรยี นร้ดู า้ นการสง่ เสริมอาชพี ให้กับนกั เรียน
- โรงเรยี นไดร้ บั ความร่วมมอื จากชมุ ชนโดยมปี ราชญช์ าวบา้ นเข้ามาให้ความรู้และฝึก
อาชีพแก่นักเรียนทีโ่ รงเรียนเสมอ

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

31

การประเมินผล
- นิเทศติดตามการดำเนินงาน
- ประชมุ สะท้อนผล

ผลการดำเนินงาน
เชิงปริมาณ
โรงเรียนในสงั กดั สพป.ระนอง ไดร้ ับการส่งเสรมิ อาชีพและการมงี านทำให้กบั นักเรียน
เชงิ คณุ ภาพ
โรงเรียนในสังกดั สพป.ระนอง ได้มีการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อส่งเสริมอาชีพและการ

มีงานทำให้กับนักเรียน โดยอยู่ในรายวิชาการงานอาชีพ (พื้นฐาน) จัดในรายวิชาเพิ่มเติม
เพ่อื สง่ เสริมอาชีพและการมีงานทำให้กบั นักเรียน สง่ ผลให้นักเรยี นมีทกั ษะอาชีพ

ปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
- สถานศึกษามบี ุคลากร ดา้ นการแนะแนวไมเ่ พยี งพอ
- สถานศึกษาขาดการสร้างเครือข่ายความรว่ มมือกบั หนว่ ยงานภาครฐั และเอกชน (บางส่วน)
- สถานศึกษาขาดแคลนครูผู้สอนและภมู ปิ ัญญาดา้ นวิชาชีพทเี่ ปดิ สอน (บางส่วน)
- ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช่ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทำให้เกดิ

ความยากลำบากในการจดั การเรียนการสอน
ข้อเสนอแนะเพอ่ื การพัฒนา

- ส่งเสรมิ สนับสนุน ให้สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษา ทำการศึกษาวิจัยเพือ่ ศึกษา
สภาพปัจจุบันและความต้องการจำเป็นในการจัดการศึกษาเพื่อเสริมสร้างทักษะอาชีพ และพัฒนา
เพอ่ื ให้เกดิ นวตั กรรมใหม่ ๆ

- สง่ เสริมการสร้างเครือข่าย การปฏบิ ตั งิ านรว่ มกัน
- พัฒนารูปแบบการจัดการศึกษา ส่งเสริมการสรา้ งและพัฒนาเครือข่ายเพ่ือระดมทรัพยากรใน
การบริหารจัดการการศึกษาเพือ่ เสริมสรา้ งทักษะอาชพี และการมงี านทำ
- สรา้ งเครอื ข่ายการมสี ว่ นร่วมในการบริหารจัดการการศกึ ษาเพื่ออาชพี และการมีงานทำ
- สนับสนุนดา้ นบุคลากรครูช่าง ครสู ายอาชีพ ครูแนะแนว

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

32

15. การดำเนินงานโรงเรียนประชารฐั
วิธกี ารดำเนนิ การ

- ศึกษาแผนและยทุ ธศาสตร์การพฒั นาตามโครงการโรงเรียนประชารัฐ(connext ED)
- ประชมุ ชี้แจงในส่วนท่ีเก่ียวขอ้ งกับนโยบายและแผนการดำเนินงาน
- ส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพสอดคล้องกับ
ความสามารถ ความถนดั และความสนใจ และเปน็ ไปตามแนวทางของโครงการ
- นิเทศตดิ ตามการดำเนนิ งาน โดย คณะ อ.ก.ต.ป.น
- รายงานผลการดำเนนิ งาน
ผลการดำเนนิ งาน
เชิงปริมาณ
โรงเรียนประชารัฐในสังกัดสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง ได้รับการสง่ เสริม
สนับสนนุ เปน็ ไปตามแนวทางของโครงการ
เชิงคุณภาพ
โรงเรียนประชารฐั ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศกึ ษาระนอง ได้รับการสง่ เสริม
สนับสนุน สถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพสอดคล้องกับความสามารถ
ความถนดั และความสนใจ และเป็นไปตามแนวทางของโครงการ
ปัญหา อปุ สรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
- ในช่วงสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทำให้เกดิ
ความยากลำบากในการบริหารจดั การ และ การจดั การเรียนการสอน
ข้อเสนอแนะเพ่อื การพัฒนา
- ประชมุ ช้ีแจงภาพรวมในระดบั ประเทศเพื่อเปน็ การทบทวนแนวทาง

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

33

16. การดำเนนิ งานโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล
วิธีการดำเนินการ

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามีการดำเนินงานโครงการ กิจกรรม หรือกระบวนการส่งเสริม
สนับสนุนโรงเรียนคณุ ภาพประจำตำบล ดังน้ี

การวางแผนการดำเนนิ งาน
- ศกึ ษานโยบายของกระทรวงศึกษา,สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
- ประชุม ชี้แจงคณะกรรมการในส่วนที่เกี่ยวข้องกับนโยบายและวางทิศทางการพัฒนา

การศกึ ษาของสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง
- กำหนดเป้าประสงค์สถานศึกษามีประสิทธิภาพ ขับเคลื่อนการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้มี

คุณภาพสมู่ าตรฐานสากล
- กำหนดนโยบายการพัฒนาศักยภาพและคุณภาพผู้เรียน ส่งเสริม สนับสนุนให้

สถานศึกษาจัดการศึกษาพัฒนาผู้เรียนให้มีพัฒนาการที่สมวัยในทุกด้านทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ
อารมณ์ สังคม และสติปัญญา ให้มีคุณลักษณะเป็นไปตามหลักสูตร, มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษ
ที่ 21, มีทักษะการเรียนรู้ที่เชื่อมโยงสู่อาชีพและการมีงานทำสอดคล้องกับ,มีความรู้ และทักษะด้าน
วิทยาศาสตรน์ ำไปสู่การพัฒนานวตั กรรม, มคี วามรู้ความสามารถด้านดจิ ทิ ลั (Digital และใชด้ จิ ิทัลเปน็
เคร่อื งมอื ในการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ, มีทกั ษะทางด้านภาษาไทย เพือ่ ใช้เป็นเครื่องมือในการ
เรยี นรู้ มนี ิสยั รกั การอา่ น มีทกั ษะส่ือสารภาษาองั กฤษ

การดำเนินงาน
ส่งเสริม สนับสนุน สถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเต็มตามศักยภาพสอดคล้องกับ

ความสามารถ ความถนดั และความสนใจ
การประเมนิ ผล
- นิเทศตดิ ตามการดำเนินงาน โดย คณะ อ.ก.ต.ป.น
การรายงานผล
- รายงานผลการดำเนนิ งาน

ผลการดำเนินงาน
เชิงปรมิ าณ
โรงเรียนคุณภาพประจำตำบล ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง

ทกุ โรงเรียน ได้รับการส่งเสรมิ ให้พัฒนาผเู้ รยี นเต็มตามศกั ยภาพ
เชิงคุณภาพ
สถานศึกษารว่ มกบั องค์กรปกครองระดับพ้ืนท่ี หนว่ ยงานทเี่ กย่ี วข้อง วางแผนการจัดการศึกษา

ให้สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของพื้นที่รับผิดชอบ และ สามารถจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนเต็มตาม
ศักยภาพสอดคลอ้ งกบั ความสามารถ ความถนัดและความสนใจ เป็นไปตามหลกั สตู ร

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

34
ปญั หา อปุ สรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน

- สถานศึกษาไม่มีแนวทางที่ชัดเจนในการประสานเครือข่ายที่เป็นหน่วยงานภายนอก
(ตาม MOU ของโครงการ) ขาดแคลนครูในสาขาวิชาเอก ที่จำเป็น, ขาดงบประมาณสนับสนุนด้าน
โครงสรา้ งพ้ืนฐานสอ่ื อปุ กรณก์ ารเรียนรู้, ความไมช่ ดั เจนและความตอ่ เนอ่ื งของระดับนโยบาย

- ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ทำให้เกดิ
ความยากลำบากในการบรหิ ารจัดการ และการจัดการเรียนการสอน
ขอ้ เสนอแนะเพอ่ื การพฒั นา

กำหนดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน ส่งเสริมความพร้อมด้านกายภาพ และความพร้อม
ดา้ นอตั รากำลัง

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

35

17. การดำเนนิ การเตรยี มความพร้อมนักเรยี นรบั การประเมิน PISA 2022
วธิ กี ารดำเนนิ การ

1. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนองนำผลการดำเนินการขับเคลื่อนการ
ดำเนินงานพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนให้มีความฉลาดรู้ด้านการอ่าน ความฉลาดรู้ด้านคณิตศาสตร์ และ
ความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ตามแนวทางการประเมิน Pisa ของปีการศึกษา 2563 มาทำการ
วิเคราะห์หาจดุ เด่น จดุ ด้วย โดยนำจุดดว้ ยมาวางแผนการพฒั นาในปีการศกึ ษา 2564 ต่อไป

2. มีการนำยุทธศาสตร์ นโยบาย จุดเน้นของชาติ ของกระทรวงศึกษาธิการ ของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน และมาตรฐานการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน มาจัดทำโครงการทข่ี บั เคลื่อน
ลงสู่การปฏิบัติไปยงั สถานศึกษาทุกแห่งเพ่อื กระต้นุ ใหผ้ ้เู รยี นได้พัฒนาสมรรถนะตามแนวทาง PISA

3. แต่งตั้งผู้รับผิดชอบระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง เพื่อดำเนินการ
ขับเคลื่อนการดำเนินงานพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนให้มีความฉลาดรู้ด้านการอ่าน ความฉลาดรู้ด้าน
คณิตศาสตร์ และความฉลาดรดู้ ้านวิทยาศาสตร์ตามแนวทางการประเมิน Pisa

4. ประชุมเชิงปฏบิ ตั กิ าร ครูและบคุ ลาการทางการศึกษาในสังกัด ด้านการสร้างส่อื นวัตกรรม
ในการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนากระบวนการจัดการเรยี นรู้ให้สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21
การวดั และประเมินผลการเรยี นรตู้ ามแนวทาง Pisa ลงสู่ผเู้ รยี นตามบรบิ ทของโรงเรียน

5. สง่ เสรมิ สนับสนนุ ให้ครผู สู้ อนพัฒนาสมรรถนะผเู้ รยี นให้มีความฉลาดรู้ด้านการอ่าน ความ
ฉลาดรดู้ ้านคณติ ศาสตร์ และความฉลาดรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เพ่ือเตรียมความพร้อมรองรบั การประเมิน
Pisa 2022 ในรูปแบบที่หลากหลายโดยเน้นนักเรียนกลุ่มเป้าหมาย (ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ทั้ง
25 โรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง) เช่น การจัดการเรียนการสอนใน
รายวิชาหลัก วิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์และวิชาวิทยาศาสตร์ โดยเน้นทักษะการคิดวิเคราะห์
การแก้ปญั หา การวัดและประเมินผลในรายวิชาตามแนวทาง Pisa เพม่ิ มากขนึ้

6. ประชาสัมพันธ์ ชี้แจง ทำความเข้าใจให้แก่ผู้บริหาร ครูและบุคลากรทางการศึกษาใน
สงั กดั รับทราบถงึ ระบบ Pisa Style เพือ่ ใหส้ ามารถนำไปสง่ เสริมให้นักเรยี นมีความรู้ ความเขา้ ใจ เกิด
ความคุ้นชนิ และเพือ่ เตรยี มความพรอ้ มสำหรับการประเมนิ

7. นิเทศ ติดตาม ประเมินผลสถานศึกษาในสังกัด โดยใช้รูปแบบการนิเทศ แบบบูรณาการ
ด้านการใช้สื่อนวัตกรรมการจัดการเรียนการสอนในวิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์และวิชา
วิทยาศาสตร์ และการเข้าฝึกทำข้อสอบการประเมินสมรรถนะ (Pisa Style) ของผู้เรียน โดยใช้
คณะอนุกรรมการติดตาม ตรวจสอบการจัดการศึกษาร่วมกับศึกษานิเทศก์ประจำเครือข่าย ร่วมกัน
วเิ คราะห์ข้อมูล สังเคราะห์ผล สะท้อนผลและสรุปผลการนเิ ทศ เพอ่ื จะไดน้ ำมาปรับปรงุ /แก้ไข/พัฒนา
ใหด้ ีข้ึนไป

ผลการดำเนินงาน
เชงิ ปรมิ าณ
โรงเรยี นขยายโอกาส 25 โรงเรยี น สงั กดั สำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

36

เชิงคุณภาพ
1. โรงเรียนได้รับการเตรียมความพร้อม (ด้านการอ่าน คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์) โดย
ใช้ขอ้ สอบออนไลน์ PISA style
2. ครูได้รับการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 การวัดและ
ประเมนิ ผลการเรียนรตู้ ามแนวทาง Pisa ลงสู้ผเู้ รยี นตามบริบทของโรงเรียน
ปญั หา อปุ สรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19) ส่งผลให้สถานศึกษาไม่
สามารถเปดิ สอนได้ตามปกติ
ข้อเสนอแนะเพ่อื การพฒั นา
1. ใช้การนิเทศออนไลน์ ผ่านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของ
โรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (Covid-19)
2. บูรณาการประเดน็ การนิเทศแบบบูรณการและใช้เครอื ข่ายเป็นฐานในการนเิ ทศ

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

37

18. การดำเนินงานการพัฒนาคณุ ภาพการจดั การศึกษาเรียนรวม
วธิ ีการดำเนินการ

ประชมุ วางแผนเตรยี มการดำเนนิ กจิ กรรม
- ประชุมวางแผนในการดำเนินงาน
- กำหนดปฏทิ ินในการนเิ ทศ ตดิ ตาม
- ดำเนินกจิ กรรมในการขบั เคลื่อน
๑) นิเทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการดำเนนิ กจิ กรรม
๒) สะท้อนผลการดำเนินกจิ กรรม
- สรปุ และรายงานผลการดำเนินงาน

ผลการดำเนนิ งาน
เชิงปรมิ าณ
- โรงเรียนที่จัดการศึกษาเรียนร่วม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง

จำนวน ๓๔โรงเรียน ได้รับการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในสถานการณ์แพร่ระบาดของโรค
ตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

เชงิ คุณภาพ
- โรงเรยี นทีจ่ ัดการศึกษาเรียนรว่ ม สงั กดั สำนักงานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง
ร้อยละ ๑๐๐ไดร้ ับการพฒั นาการจดั การเรยี นการสอนในสถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคตดิ เชอื้ ไวรัส
โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

ปัญหา อปุ สรรค และข้อจำกัดในการดำเนนิ งาน
- กรอบการจัดสรรงบประมาณชว่ งปลายปงี บประมาณ สง่ ผลให้การดำเนินงานล่าชา้ และ

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

ขอ้ เสนอแนะเพ่อื การพฒั นา
- กำหนดปฏิทินในการดำเนนิ กจิ กรรม และดำเนินการตามกรอบปฏทิ ินที่วางไว้ โดยคำนึงถึง

สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

38

สว่ นที่ 4
สรุปผลการนิเทศ และข้อเสนอแนะ

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาระนอง เป็นหน่วยงานที่ดูแลรับผิดชอบในส่วนของ
สถานศึกษา ประกอบด้วย สถานศึกษาในสังกัด จำนวน 77 โรงเรียน 1 สาขา จัดการศึกษาแตกต่าง
กันตามความเหมาะสมและบริบทของแต่ละพื้นที่ ซึ่งปีงบประมาณ พ.ศ.2564 กลุ่มนิเทศ ติดตาม
และประเมินผลการจัดการศกึ ษา ได้ทำการนิเทศ ติดตามสถานศกึ ษาในสังกัด โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่
นิเทศติดตาม การจัดการศึกษาของสถานศึกษาในสังกัดสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาระนอง ตามขอบข่ายการนิเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษา ประกอบด้วย
๑. การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรียน 2. งานตามภารกิจกลมุ่
นิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา และ 3. งานตามนโยบายและจดุ เนน้ สรุปดังน้ี

สรปุ ผลการนเิ ทศ

ผลการนิเทศ ติดตามในภาพรวมของสถานศึกษาในสังกัด จำนวน 77 โรงเรียน 1 สาขา
ซึ่งกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาได้ตั้งเป้าหมายการนิเทศ ติดตามไว้ จำนวน 2
ครั้ง ต่อ 1 ภาคเรียน สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ทำให้การนิเทศ ติดตามไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ เมื่อพิจารณาประเด็นตามขอบข่ายการนิเทศ
เพอ่ื พัฒนาคณุ ภาพการศกึ ษา มีผลดงั น้ี

1. การพฒั นาการจดั การเรียนการสอนและยกระดับผลสัมฤทธิท์ างการเรยี น
โรงเรยี นที่ได้รับการนิเทศ จำนวน 77 โรงเรียน 1 สาขา ผลจากการนเิ ทศพบว่าทุกโรงเรียน

มีการพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนทีย่ กระดบั คุณภาพผู้เรียน มกี ารจัดทำแผนพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
โดยการวิเคราะห์ผลจากปีที่ผ่านมา วิเคราะห์ Test Blueprint จัดทำโครงการเพื่อส่งเสริมสนับสนุน
ผู้เรียนและจัดสอนเสริมตามมาตรฐานและตัวชี้วัด การจัดทำและพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ท้ังในระดับ
โรงเรียนและระดับเครือข่ายการจัดการศึกษา โดยเน้นการอ่านออกเขียนได้ คิดเลขเป็นและการ
ยกระดบั คณุ ภาพจากการสอบ RT NT และ O-NET

2. งานตามภารกจิ กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการจดั การศึกษา
๒.1. การพัฒนาหลักสูตรและกระบวนการจดั การเรยี นรู้
โรงเรียนที่ได้รับการนิเทศ จำนวน 77 โรงเรียน 1 สาขา ผลจากการนิเทศพบว่า

ทุกโรงเรียนมีการปรับปรุงและจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาทั้งระดับปฐมวัยและระดับการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จัดทำคู่มือการวัดและ
ประเมินผล รวมทั้งออกแบบการจัดการเรียนรู้ ตามบริบทและจุดเน้นของโรงเรียน เช่น โรงเรียน
มาตรฐานสากล โรงเรียนอนบุ าลประจำจงั หวดั และโรงเรียนขนาดเลก็ โดยใช้ DLTV

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

39

2.2 การพฒั นาระบบประกันคุณภาพการศึกษา
โรงเรียนทไี่ ดร้ ับการนเิ ทศ จำนวน 77 โรงเรียน 1 สาขา ผลจากการนเิ ทศพบวา่ โรงเรียน

มีการกำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
โรงเรียนดำเนินการตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา โรงเรียนมีการติดตามผลการ
ดำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดทำรายงานผลการ
ประเมินตนเอง (SAR) ตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของ
โรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนได้จัดทำผลการประเมนิ ตนเอง (SAR) และส่งให้
สมศ.อา่ นโดยไมต่ อ้ งรับการประเมินแบบ On Site

3. งานตามนโยบายและจุดเนน้
3.1 การอ่านออกเขียนได้
โรงเรียนทไ่ี ด้รบั การนเิ ทศ จำนวน 77 โรงเรียน 1 สาขา ผลจากการนเิ ทศพบว่า โรงเรียน

มีการจัดทำข้อมูลนักเรียนรายบุคคล มีการจัดทำแผนพัฒนาด้านการอ่าน จัดทำสื่อส่งเสริมการอ่าน
และส่งเสริมการอ่านออกเขียนได้ในรูปแบบที่หลากหลาย การพัฒนาการอ่าน เขียน อ่านรู้เรื่อง
สอ่ื สารได้ โรงเรียนมกี ารจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย และดำเนนิ การสอนเพ่อื พัฒนาทักษะ
การฟัง พูด อ่าน เขียนและคิด ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ครูมีการใช้สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย
มีการประสานความร่วมมือระหว่างครูภาษาไทยและครูกลุ่มสาระอื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหาการอ่าน
ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนานักเรียนที่มีปัญหาการอ่านเป็น
รายบุคคล มีการสอนซ่อมเสริมนักเรียนที่เรียนอ่อน โดยมีกิจกรรมเพื่อนช่วยเพื่อน และครูสอนใน
ชั่วโมงซ่อมเสริม โดยเฉพาะในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) โรงเรียนได้ขอความร่วมมือกับผู้ปกครองในการช่วยนักเรียนในการอ่าน ผ่านสื่อและ
หนังสอื อ่านเสรมิ นอกเวลาทห่ี ลากหลาย

3.2 การจดั การเรยี นการสอนโดยใชส้ อ่ื ทางไกลผ่านดาวเทยี ม (DLTV)
โรงเรยี นทีไ่ ด้รับการนเิ ทศ จำนวน 32 โรงเรียน 1 สาขา ผลจากการนิเทศพบว่า โรงเรียน

โรงเรียนทุกโรงได้มีการปรับสภาพห้องเรียนเอื้อต่อการจัดการเรียนการสอนโดยใช้ DLTV ติดต้ัง
จอโทรทัศน์อยู่ในระดับสายตา ห้องเรียนมีความสะอาดเรียบร้อย อากาศถ่ายเทได้ดี แสงสว่าง
พอเหมาะในการดูจอโทรทัศน์ ครูผู้สอนที่ใช้ DLTVเตรียมการสอนล่วงหน้า และเตรียมผู้เรียนอย่าง
เหมาะสม ครูผู้สอนที่ใช้ DLTV วัดและประเมินผลและบันทึกผลหลังการสอนและนำผลการประเมิน
ไปปรับปรุงและส่งเสริมผู้เรียนให้บรรลุตัวชี้วัดการเรียนรู้ โดยเฉพาะในสถานการณ์การแพร่ระบาด
ของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนใช้สื่อใบงานและแผนการจัดการเรียนรู้จาก
DLTV ใชใ้ นการจดั การเรียนการสอนแบบ On Hand

3.3 การจดั การเรียนการสอน Active Learning
โรงเรยี นที่ไดร้ บั การนเิ ทศ จำนวน 77 โรงเรยี น 1 สาขา ผลจากการนเิ ทศพบวา่ โรงเรียน

มีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ที่หลากหลายตามบริบทของสถานศึกษา เช่นการ
จัดการเรียนการสอนแบบโครงงาน ( Project Based Learning) การจัดการเรียนการสอนโดยใช้
ปัญหาเป็นฐาน (Problem Based Learning) การจัดการเรียนการสอนแบบกิจกรรมเป็นฐาน

รายงานผลการนเิ ทศ ตดิ ตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

40

(Activity Based Learning) เป็นต้น ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) กิจกรรมการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning เป็นรูปแบบที่ผู้เรียน
สร้างองคค์ วามรู้ดว้ ยตนเอง ผ่านสื่อ ใบงานและกจิ กรรมที่คณุ ครอู อกแบบ

3.4 การขบั เคล่อื นหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสสู่ ถานศึกษา
โรงเรียนที่ไดร้ บั การนิเทศ จำนวน 77 โรงเรยี น 1 สาขา ผลจากการนเิ ทศพบวา่ โรงเรียน

มีการน้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่สถานศึกษาทัง้ ในด้านบรหิ ารจัดการและการจัดการ
เรียนรู้ มีการสอดแทรกในแผนการจดั การเรียนรู้และจัดทำฐานการเรยี นรเู้ พ่ือปลกู ฝังคุณลักษณะนิสัย
อย่อู ย่างพอเพยี งใหก้ บั นักเรยี น ฐานการเรยี นร้ทู ่ีโรงเรียนจัดจะสอดคลอ้ งกับกลุม่ สาระการเรยี นรู้ และ
บริบทตามทอ้ งถนิ่ ทโี่ รงเรียนต้ังอยู่ โดยได้รับความร่วมมอื จากผูป้ กครอง ชมุ ชน และปราชญ์ทอ้ งถ่ิน

3.5 การพัฒนาทักษะผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21
โรงเรียนท่ไี ด้รับการนเิ ทศ จำนวน 77 โรงเรยี น 1 สาขา ผลจากการนเิ ทศพบวา่ โรงเรียน

นำนโยบายขับเคลื่อนในสถานศึกษา ผ่านกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนในห้องเรียน และ
บูรณาการกิจกรรมโครงการต่าง ๆ เช่น การจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา ที่สอดคล้องกับหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา และสมรรถนะของผู้เรียน
ในศตวรรษที่ 21 การจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน ที่สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
จัดกิจกรรมและโครงการสนับสนุนด้านการจัดการเรียนรู้ 3Rs และ 8Cs เน้นการอ่านออกเขียนได้
และคดิ เลขเป็นของนักเรยี นทุกคน

3.6 การจัดการเรียนการสอนท่ีส่งเสรมิ งานอาชพี
โรงเรียนที่ได้รับการนิเทศ จำนวน 25 โรงเรียน (โรงเรียนขยายโอกาสและโรงเรียนพื้นที่

เกาะ) ผลจากการนิเทศ พบว่า โรงเรียนมีการบูรณาการด้านอาชีพผ่านหลักสูตรและกระบวนการ
เรียนรู้ โดยน้อมนำพระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลที่ 10 สู่การปฏิบัติ จัดทำ
โครงการและกิจกรรมฝึกอาชีพต่างๆ ตามความสนใจของผู้เรียนและบริบทท้องที่ เช่นกิจกรรมฝึก
อาชีพโรงเรียนพื้นที่เกาะ กิจกรรมบริษัทสร้างการดี กิจกรรมชุมนุม กิจกรรมลดเวลาเรียนเพิ่มเวลารู้
เปน็ ตน้

ขอ้ เสนอแนะ

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา ได้เสนอข้อเสนอแนะจากผลการนิเทศ
ติดตามในปีงบประมาณ พ.ศ.2564 ที่ผ่านมา เพื่อให้การบริหารวางแผนในการนิเทศ ติดตาม
ปีงบประมาณตอ่ ไปประสบความสำเรจ็ และเป็นไปตามเปา้ หมายท่ีวางไว้ ควรดำเนินการดังน้ี

1. บรู ณาการประเด็นการนิเทศ ติดตาม เพ่ือลดภาระการติดตามและลดภาระงานของโรงเรียน
โดยเฉพาะในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)

2. ควรสะท้อนผลการนเิ ทศตดิ ตามใหส้ ถานศึกษาตามประเดน็ การนิเทศ พร้อมทง้ั ขอ้ เสนอแนะ
เพอื่ นำไปพัฒนการจดั การศกึ ษา

3. นิเทศติดตามแบบผสมผสานระหว่างการลงพื้นที่จริง (On Site) และการนิเทศติดตาม
ผา่ นระบบอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (นิเทศทางไกล)

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศกึ ษา ประจำปีงบประมาณ 2564

41
4. สร้างเครือข่ายการนิเทศติดตามทั้งในระดับสถานศึกษา เครือข่ายการจัดการศึกษาและ
ระดับเขตพื้นท่กี ารศึกษา โดยเน้นการมีสว่ นร่วมในทุกขัน้ ตอนการดำเนนิ งาน

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

๔๒

คณะผู้จัดทำ

ท่ีปรึกษา ผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาระนอง
นายสชุ ีพ ช่วยแก้ว รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง
นางสุทธิรา หงษ์เจรญิ รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาระนอง
นายกติ ตภิ พ สระสงครามภู รองผู้อำนวยการสำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศึกษาระนอง
นางสาววชั ราภรณ์ ปฏั นา

คณะทำงาน

1. นายปรีชาพล ทองพลอย ผอู้ ำนวยการกล่มุ นเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการจดั การศึกษา

2. นางเพญ็ ณี แกว้ เกื้อกลู ศกึ ษานเิ ทศก์

3. นางศุภศิริ ชยั วัชรินทร์ ศกึ ษานเิ ทศก์

4. นางสาวชอ่ เพชร พฤกษว์ รุณ ศึกษานิเทศก์

5. นางสาวสวุ รรณี คงทองจีน ศกึ ษานเิ ทศก์

6. นางสาวอัจฉราวดี อร่ามวทิ ยานกุ ูล ศึกษานเิ ทศก์

7. นายษณกร เสนาะเสยี ง ศกึ ษานเิ ทศก์

8. นางนันทน์ ภสั สักขาพรม ศึกษานิเทศก์

9. นางสภุ าวดี วสุวัต เจ้าพนักงานธุรการ

10. นางสาวจารนิ ี อุน่ จติ ร พนักงานราชการ

รายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการจดั การศึกษา ประจำปีงบประมาณ 2564

กลมุ่ นเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาระนอง

http://www.nites-rn.org